การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช


ผู้ช่วยศาสตราจารย์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
Username
phongyuth
สมาชิกเลขที่
31089
เป็นสมาชิกเมื่อ
เข้าระบบเมื่อ
-
(ไม่มีตั้งแต่ พ.ศ. 2564)
ประวัติย่อ

งานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่

1. สมบัติ  ศรีชูวงศ์ และ พงศ์ยุทธ  นวลบุญเรือง. 2530. การศึกษาโรคเมล็ดพันธุ์ข้าวสาลี  II  : การศึกษาเชื้อรา Drechslera sorokiniana (Sacc.) สาเหตุโรคใบแถบสีน้ำตาลที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์ข้าวสาลี. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการข้าวและธัญพืชเมืองหนาว.  ครั้ง
ที่ 2 วันที่  26-27 กุมภาพันธ์ 2530. สำนักงานเกษตรภาคเหนือ. เชียงใหม่.

2. พงศ์ยุทธ  นวลบุญเรือง  วันชัย  ดีเอกนามกุลและ สัณห์  พณิชยกุล. 2533. การชักนำให้เกิดต้นจากแคลลัสของถั่วเหลือง (Glycine max). การประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ครั้งที่  16 วันที่ 25-27 ตุลาคม 2533.   สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. กรุงเทพฯ. หน้า 432-433.

3. Nualbunruang   P.,   P.   Sritongkam,   S. Damronglerd,  and  S. Panichajakul.1990.  Plant  Regeneration from  Callus  of  Stevia rebaudiana . NRCT,  NUS,DOST-JSPS Joint Seminar on Biotechnology and the 2 nd Annual Meeting of the Thai
Society  of  Biotechnology.  21-23 December 1990. Prince of SongkhlaUniversity. Songkhla 129 p.

4. Nualbunruang P., S. Damronglerd, and S. Panichajakul. 1990. Plant Regenerationfrom Callus of Stevia rebaudiana. Microbial  Utilization  of Renewable Resources   Vol. 7: 527- 529.
 
5. พงศ์ยุทธ  นวลบุญเรือง  วันชัย  ดีเอกนามกุล และ สัณห์  พณิชยกุล. 2534. โปรโตพลาสต์จากเซลล์เพาะเลี้ยงของถั่วเหลือง  (Glycine  max ).  การประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย  ครั้งที่  17  วันที่ 24-26 ตุลาคม 2534. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ขอนแก่น. หน้า 464-465.


6. พงศ์ยุทธ  นวลบุญเรือง  วันชัย  ดีเอกนามกุล และ สัณห์  พณิชยกุล. 2537. การชักนำให้เกิดต้นจากแคลลัสของถั่วเหลือง ( Glycine max ). วิทยาสารเกษตรศาสตร์28 (4) : 512-517.

7. พงศ์ยุทธ   นวลบุญเรือง.  2537. การเพาะเลี้ยงอับละอองเรณูของข้าวบาร์เลย์. รายงานการค้นคว้าวิจัยปี  2536/2537. สถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรลำปาง.สถาบันเทคโนโลยี
ราชมงคล. หน้า 289-292.

8. พงศ์ยุทธ  นวลบุญเรือง.  2537. การขยายพันธุ์สับปะรดโดยวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ. รายงานการค้นคว้าวิจัยปี 2536/2537 สถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรลำปาง.สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. หน้า 293-295.

9. พงศ์ยุทธ   นวลบุญเรือง  วันชัย  ดีเอกนามกุล และ สัณห์  พณิชยกุล. 2538. การแยกโปรโตพลาสต์จากเซลล์เพาะเลี้ยงของถั่วเหลือง (Glycine max) วิทยาสารเกษตรศาสตร์  29 : 8-15.

10. พงศ์ยุทธ  นวลบุญเรือง. 2538. การป้องกันการเกิดสารประกอบฟินอลิคในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อปอสาพันธุ์ญี่ปุ่น. รายงานการประชุมสัมมนาทางวิชาการสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลครั้งที่  12.  25-27 มกราคม 2538. สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลวิทยาเขตภาคตะวัน
ออกเฉียงเหนือ. นครราชสีมา. หน้า 182-185.

11. พงศ์ยุทธ นวลบุญเรือง. 2542. การจำแนกสายพันธุ์ถั่วเหลืองโดยใช้รูปแบบของไอโซไซม์. เอกสารการประชุมสัมนาวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล (เล่มที่ 2 สายเกษตรศาสตร์) ครั้งที่ 16 ระหว่างวันที่ 22-24 มกราคม 2542. ณ โรงแรมโซฟิเทล ราชาออคิด ขอนแก่น. หน้า 9-15.

12. พิทักษ์ พุทธวรชัย อภิชาต ชิดบุรี พงศ์ยุทธ นวลบุญเรือง. 2544. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อหงษ์เหิร. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่ 11-13 กรกฎาคม 2544 ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ กรุงเทพมหานคร.

13. พิทักษ์ พุทธวรชัย อภิชาต ชิดบุรี และพงศ์ยุทธ นวลบุญเรือง. 2544. ผลของ BA และ NAA ที่มีผล ต่อการขยายพันธุ์บะไห่ในสภาพปลอดเชื้อ. การประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย  ครั้งที่  27  วันที่ 16-18 ตุลาคม 2544. โรงแรมลี การ์เด้น พลาซ่า หาดใหญ่ สงขลา

14. อภิชาติ ชิดบุรี พงศ์ยุทธ นวลบุญเรือง และพิทักษ์ พุทธวรชัย. 2544. ผลของ 2,4-D และชิ้นส่วนของดาหลาที่มีผลต่อการชักนำให้เกิดแคลลัส. การประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย  ครั้งที่  27  วันที่ 16-18 ตุลาคม 2544. โรงแรมลี การ์เด้น พลาซ่า หาดใหญ่ สงขลา

15.อภิชาติ ชิดบุรี พงศ์ยุทธ นวลบุญเรือง และพิทักษ์ พุทธวรชัย. 2544. ผลของ BA ที่ทีผลต่อการเพิ่มจำนวนต้นกระชายดำในสภาพปลอดเชื้อ. วารสารเกษตร 17(2): 100-105

16. พงศ์ยุทธ นวลบุญเรือง. 2544. การขยายพันธุ์ปอสาญี่ปุ่น ( Brousonetia kazinoki) โดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ. รายงานการประชุมสัมนาวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล (เล่มที่ 2 สายเกษตรศาสตร์) ครั้งที่ 18 ระหว่างวันที่ 15-17 กุมภาพันธ์ 2544. ณ ประชุมใหญ่ ศูนย์กลางราชมงคล ปทุมธานี. หน้า 22-28.

17. พงศ์ยุทธ นวลบุญเรือง พิทักษ์ พุทธวรชัย และ อภิชาต ชิดบุรี. 2545. ผลของพันธุ์ ชิ้นส่วน และอาหารเพาะเลี้ยงต่อการกลับคืนเป็นต้นของพริก. ว.วิทยาศาสต์เกษตร ปีที่ 33 ฉบับที่ 4-5 หน้า 147-150.

18. อภิชาติ ชิดบุรี บุญธรรม เร็วการ และ พงศ์ยุทธ นวลบุญเรือง. 2546. ศึกษาผลผลิตของเหง้ากระชายดำที่ปลูกต้นจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อในสภาพโรงเรือนแบบ Knock-down. ว.วิทยาศาสต์เกษตร ปีที่ 34 ฉบับที่ 1-3 หน้า 378-380.

19. อภิชาติ ชิดบุรี พงศ์ยุทธ นวลบุญเรือง และพิทักษ์ พุทธวรชัย. 2546. ผลของความเข้มข้นน้ำตาลซูโครสที่มีต่อการพัฒนาเหง้าว่านขอทองแก้ในสภาพปลอดเชื้อ. ว.วิทยาศาสต์เกษตร ปีที่ 34 ฉบับที่ 1-3 หน้า 397-400.

20. อภิชาติ ชิดบุรี พงศ์ยุทธ นวลบุญเรือง และพิทักษ์ พุทธวรชัย. 2546. ผลของออกซินและไซโตไคนินที่มีผลต่อการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อของระย่อม. ว.วิทยาศาสต์เกษตร ปีที่ 34 ฉบับที่ 4-6 หน้า 103-108.

21. พงศ์ยุทธ นวลบุญเรือง อภิชาติ ชิดบุรี และพิทักษ์ พุทธวรชัย. 2548. ศึกษาเทคนิคการฟอกฆ่าเชื้อชิ้นส่วนพืชสมุนไพรเพื่อการขยายพันธุ์ในสภาพปลอดเชื้อ. ว.วิทยาศาสต์เกษตร ปีที่ 36 ฉบับที่ 5-6 หน้า 939-941

22.พงศ์ยุทธ นวลบุญเรือง และอภิชาติ ชิดบุรี. 2549. การขยายพันธุ์ระย่อม (Rauvolfia serpentinum) โดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ). ว.วิทยาศาสต์เกษตร ปีที่ 37(6)(พิเศษ) หน้า 505-508.

23. Sittigul, C., S. Pota, J. Visitpanich, P. Nualbunruang and K. Sookchaoy. 2005. The Brown Spot Disease of longan in Thailand. Proceeding of International Symposium on Lychee, Longan, Rambutan and other Sapindaceae Plants. :389-394.

 

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท