อนุทินล่าสุด


wanisa pramuansin
เขียนเมื่อ

10 วิธีในการสอนเด็ก ๆ ให้เรียนรู้สถานการณ์โลกจากข่าว

อีริก รอสสัน นักวิชาการทางจิตวิทยาและผู้อำนวยการสมาคมวิชาชีพจิตวิทยาโรงเรียน ได้ กล่าวว่า การที่เด็กได้บริโภคข้อมูลข่าวสารเยอะๆไม่ใช่เรื่องแย่สักทีเดียว แต่ผู้ปกครองควรดูแลและควบคุมในการรับสารของเด็กๆ ก่อนที่คุณพ่อคุณแม่จะเปิดข่าวตอนเย็นให้เด็กดู ขอแนะนำ 10 วิธีปฏิบัติ ในการพูดคุยกับเด็กเกี่ยวกับข่าวสารสถานการณ์ปัจุบัน

วิธีที่ 1 การจำกัดการรับชมภาพและเสียงจากสื่อ

วิธีที่ 2 การอธิบายถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น

วิธีที่ 3 การเล่าถึงเหตุการณ์อย่างพอดี

วิธีที่ 4 แคร์ความรู้สึกเด็กเมื่อตื่นกลั

วิธีที่ 5 การเรียนรู้ร่วมกัน

วิธีที่ 6 ตั้งสติในการให้ข้อมูล

วิธีที่ 7 รักษาเวลา

วิธีที่ 8 เล่นกับลูก

วิธีที่ 9 เน้นเรื่องเชิงบวก

วิธีที่ 10 ร่วมเป็นส่วนหนึ่งของการแก้ไขปัญห

ไม่ว่าเหตุการณ์ในข่าวจะเป็นอะไร หลีกเลี่ยงการอธิบายเพื่อให้จบๆไป แต่ใช้โอกาสในการกระตุ้นและส่งเสริมให้ลูกหลานได้เรียนรู้เชื่อมโยงกับโลก กับข่าวนั้นๆ

อ้างอิง suthasinee. 12/27/2011. 10 วิธีในการสอนเด็ก ๆ ให้เรียนรู้สถานการณ์โลกจากข่าว. (ออนไลน์)

แหล่งที่มา http://www.qlf.or.th/Home/Contents/129 (23/03/2558)



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
wanisa pramuansin
เขียนเมื่อ

ชนิดของคำในภาษาไทย มี ๗ ชนิด

๑. คำนาม คือ คำที่ใช้เรียกชื่อคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ อาคาร สภาพ และลักษณะทั้งสิ่งมีชีวิต และไม่มีชีวิต ทั้งที่เป็นรูปธรรม

๒. คำสรรพนาม คือ คำที่ใช้แทนนามในประโยคสื่อสาร เราใช้คำสรรพนามเพื่อไม่ต้องกล่าวคำนามซ้ำๆ

๓. คำกริยา คือ คำที่แสดงอาการ สภาพ หรือการกระทำของคำนาม และคำสรรพนามในประโยค คำกริยาบางคำอาจมีความหมายสมบูรณ์ในตัวเอง บางคำต้องมีคำอื่นมาประกอบ และบางคำต้องไปประกอบคำอื่นเพื่อขยายความ

๔. คำวิเศษณ์ คือ คำที่ใช้ขยายคำอื่น ได้แก่ คำนาม คำสรรพนาม คำกริยา หรือคำวิเศษณ์ ให้มีความหมายชัดเจนขึ้น

๕. คำบุพบท คือ คำที่เชื่อมคำหรือกลุ่มคำให้สัมพันธ์กันและเมื่อเชื่อมแล้วทำให้ทราบว่า คำ หรือกลุ่มคำที่เชื่อมกันนั้นมีความสัมพันธ์กันอย่างไร ได้แก่ ใน แก่ จน ของ ด้วย โดย ฯลฯ

๖. คำสันธาน คือ คำที่ทำหน้าที่เชื่อมคำกับคำ เชื่อมประโยคกับประโยค เชื่อมข้อความกับข้อความ หรือข้อความให้สละสลวย

๗. คำอุทาน คือ คำที่เปล่งออกมาเพื่อแสดงอารมณ์หรือความรู้สึกของผู้พูด มักจะเป็นคำที่ไม่มีความหมาย แต่เน้นความรู้สึก และอารมณ์ของผู้พูด



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
wanisa pramuansin
เขียนเมื่อ

คำขวัญประจำจังหวัดตรัง

เมืองพระยารัษฎา ชาวประชาใจกว้าง

หมูย่างรสเลิศ ถิ่นกำเนิดยางพารา

เด่นสง่าดอกศรีตรัง ปะการังใต้ทะเล

เสน่ห์หาดทรายงาม น้ำตกสวยตระการตา

The city of Phayarassda;

broad-hearted citizen;

dilicious roast pork;

origin place of para rubber;

lovely sritrang flower;

beautiful coral reef;

charming sandy beach;

and wonderful waterfall.



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท