อุทัยวรรณ
ทันตแพทย์ อุทัยวรรณ กาญจนกามล

อุทัยวรรณ


ผู้อำนวยการ
สถาบันเสริมสร้างพลังชุมชน
Username
kuthaiwan
สมาชิกเลขที่
80421
เป็นสมาชิกเมื่อ
เข้าระบบเมื่อ
-
(ไม่มีตั้งแต่ พ.ศ. 2564)
ประวัติย่อ

อุทัยวรรณ กาญจนกามล                                                                             

๑.  เกิดวันที่   ๙  เดือน  พฤษภาคม  พ.ศ.  ๒๔๙๑    อายุ  ๖๔  ปี

  1. สถานที่ที่สามารถติดต่อได้สะดวก

1 ที่ทำงาน      สถาบันเสริมสร้างพลังชุมชน

        เลขที่  ๑๘๐  หมู่ที่ ๒   ถนนอยู่เย็น    ตำบล/แขวง ช้างเผือก 

        อำเภอ  เมือง  จังหวัด เชียงใหม่       รหัสไปรษณีย์  ๕๐๓๐๐

      โทรศัพท์  ๐๕๓-๒๑๗๖๒๔   โทรสาร  ๐๕๓-๒๑๗๖๒๔

        โทรศัพท์ (มือถือ)    ๐๘๑ ๙๕๒๖๑๐๓

        E-mail  [email protected]     website :   www.apprecative-community.com

 

๓. วุฒิการศึกษา  (เรียงจากวุฒิการศึกษาสูงสุดลงไปตามลำดับ)

๑)  ทันตแพทยศาสตรบัณฑิต    จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๑๖

๒)  ประกาศนีบัตรชั้นสูง            สาขา ทันตสาธารณสุข มหาวิทยาลัยลอนดอน สหราชอาณาจักร

                                           พ.ศ. ๒๕๒๐

๓)   สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยอลาบามา เบอร์มิงแฮม สหรัฐพ.ศ. ๒๕๓๐

 

  1. ประวัติการทำงาน

๑)  หน้าที่การงานและความรับผิดชอบในปัจจุบัน

๑.๑)  นายกสมาคมพลเมืองเหนือเพื่อเสริมสร้างพลังชุมชน

สถานที่ปฏิบัติงาน

·  สมาคมพลเมืองเหนือเพื่อเสริมสร้างพลังชุมชน

  งานในความรับผิดชอบ

·  บริหารงานของสมาคมพลเมืองเหนือเพื่อเสริมสร้างพลังชุมชน

 

 

๑.๒)  ผู้อำนวยการสถาบันเสริมสร้างพลังชุมชน  (พ.ศ.๒๕๔๖ – ปัจจุบัน) 

 สถานที่ปฏิบัติงาน

·  สถาบันเสริมสร้างพลังชุมชน เชียงใหม่ และทั่วราชอาณาจักร

งานในความรับผิดชอบ

    ·  ศึกษาวิจัยด้านการพัฒนาสังคมและชุมชน และเป็นที่ปรึกษาชุมชน

·  บริหารจัดการโครงการวิจัย การยกระดับบริการสาธารณะโดยการมีส่วนร่วมของประชาชน ในพื้นที่จังหวัดเชียงราย ของสถาบันพระปกเกล้า

·  พัฒนาหลักสูตร“นวัตกรชุมชน”

·  ประสานงาน แสวงหาความร่วมมือกับเครือข่ายภาคีการพัฒนาชุมชนและหน่วยงานภาครัฐใน พื้นที่ จังหวัดเชียงใหม่ และลำพูน

·  พัฒนาศักยภาพคณะทำงานพัฒนาชุมชน “นวัตกรสังคม”

  • ในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่

โครงการศึกษาแนวทางการเสริมสร้างพลังชุมชนในการจัดการทรัพยากรชุมชนอย่างมีส่วนร่วมเพื่อการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืนใน พื้นที่บ้านดอยปุย ตำบลสุเทพ บ้านขุนช่างเคี่ยน ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง และบ้านแม่สา ตำบลโป่งแยง จังหวัดเชียงใหม่ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๔ สนับสนุนของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว)

  • โครงการวิจัยปฏิบ้ติการเสริมสร้างพลังชุมชนอย่างมีส่วนร่วมในการสร้างเสริมสุขภาพชุมชนและอนามัยสิ่งแวดล้อมชาวไทยภูเขาเผ่าลาหู่ ตำบลปางมะผ้า อำเภอปางมะผ้า(หมู่บ้านพมพ)ปีงบประมาณ ๒๕๕๔-๕๖ สนับสนุนโดยสภาวิจัยแห่งชาติ

 

  •  ในพื้นที่จังหวัดลำพูน อำเภอแม่ทา อำเภอป่าซาง กิ่งอำเภอเวียงหนองลอง และอำเภอบ้านธิ
    • โครงการฟื้นฟูวิถีชีวิตชุมชนคนลำพูน ภายใต้การสนับสนุนของสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พ.อ.ช.)
  • ในพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน อำเภอเวียงแหง ตำบลเปียงหลวง
    • โครงการวิจัยปฏิบัติ การเสริมสร้างพลังชุมชนอย่างมีส่วนร่วมในการสร้างเสริมสุขภาพชุมชนและอนามัยสิ่งแวดล้อมชาวไทยภูเขาเผ่าลิซู พื้นที่หมู่บ้านพัฒนาเพื่อความมั่นคงพื้นที่ชายแดน (พมพ.)  โครงการพัฒนาราษฎรชาวไทยภูเขาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ปีงบประมาณ ๒๕๕๔-๕๖ สนับสนุนโดยสภาวิจัยแห่งชาติ
  • ในพื้นที่จังหวัดเชียงราย อำเภอพาน
    • โครงการวิจัยปฏิบัติการเสริมสร้างพลังชุมชนอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบการพัฒนาการมีส่วนร่วมในชุมชนโดยใช้แนวคิด Appreciative Inquiry  ปีงบประมาณพ.ศ.๒๕๕๔สนับสนุนโดยกระทรวงสาธารณสุข

 

๑.๓)    ปัจจุบันปฏิบัติหน้าที่

·  อาจารย์ประจำหลักสูตรสัมฤทธิบัตรการยกระดับการให้บริการสาธารณะโดยการมีส่วนร่วมของประชาชน (People’s Audit) ของสถาบันพระปกเกล้า มาจนถึงปัจจุบัน 17 รุ่น

รุ่นละ 50-80 คน

สถานที่ปฏิบัติงาน

·  สถาบันพระปกเกล้า และ ชลพฤกษ์รีสอร์ท นครนายก

งานในความรับผิดชอบ

·  ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วม

·  สังเคราะห์องค์ความรู้เพื่อเขียนเอกสาร ตำรา และชุดการสอน

·  เป็นวิทยากรจัดกระบวนการเรียนรู้

  • วิชาพหุนิยมประชาธิปไตย
  • วิชาแนวทางการสร้างการมีส่วนส่วนร่วมของประชาชน
  • การพัฒนาชุมชนโดยอาศัยจุดแข็งและสินทรัพย์ชุมชนเป็นฐาน
  • กระบวนการเสริมสร้างพลังชุมชนแบบสุนทรียปรัศนี
  • วิชาการเข้าถึงชุมชนเชิงบวก
  • วิชาการจัดทำแผนที่เดินดิน
  • วิชาการประเมินผลอย่างมีส่วนร่วมเพื่อเสริมสร้างพลังชุมชน

 

  ๑.๔)  ปัจจุบันปฏิบัติหน้าที่วิทยากรกระบวนการสุนทรียปรัศนี เรื่อง

    • การยกระดับบริการสาธารณสู่ความเป็นเลิศโดยการมีส่วนร่วมของประชาชน
    • การประสานความคิดเนรมิตสุขภาพชุมชน
    • การเสริมสร้างพลังชุมชน
    • การพัฒนาองค์กรชุมชน
    • การวางแผนปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม
    • การประเมินผลอย่างมีส่วนร่วม
    • การถอดบทเรียน ประเมินผลและจัดการความรู้

                                    ในโครงการทำงานแบบพหุภาคีได้ แก่

  • ผู้นำองค์กรชุมชน
  • อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้าน
  • สมาชิกองค์การบริหารท้องถิ่น
  • เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ฯลฯ
                        สถานที่ปฏิบัติงาน
  • ทั่วราชอาณาจักร

    งานในความรับผิดชอบ

  • วิทยากรกระบวนการ (Facilitator)
  • พี่เลี้ยงชุมชน (Community Coach)
  • ที่ปรึกษาชุมชน(Community Mentor)
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท