บันทึก : รับมือ แผ่นดินไหว อย่างไรให้ถูกหลักการ?


สวัสดีครับ คุณ Conductor

         ผมบันทึกเรื่อง รับมือ 'แผ่นดินไหว' อย่างไรให้ถูกหลักการ เอาไว้ (เป็นข้อมูลพื้นฐานสำหร้บคนทั่วไป) และคิดว่าอาจจะเชื่อมโยงกับบล็อก OPENCARE ระบบข้อมูลสำหรับการจัดการภัยพิบัติ ได้

         จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาด้วยครับ ขอบคุณมากครับ

บ้ญชา



ความเห็น (2)

ไม่มีความเห็น


คำตอบ (1)

Conductor
เขียนเมื่อ

ยอดเลยครับอาจารย์ ขอบคุณสำหรับข้อมูลครับ มีคุณ  minisiam ที่มีบล๊อกเรื่องนี้โดยตรง ครับ

ส่วนของ OpenCARE เป็นระบบข้อมูล open-source software เกี่ยวกับการเตือนภัย การรายงานสภาพ และการประสานงานเกี่ยวกับการจัดการภัยพิบัติ โดยเชื่อมโยงส่วนราชการ NGO และอาสาสมัครครับ



ความเห็น (2)

สวัสดีครับ คุณ Conductor

       ผมนำบันทึกเรื่อง รับมือ 'แผ่นดินไหว' อย่างไรให้ถูกหลักการ? ไปเชื่อมโยงกับบันทึกเรื่อง เหตุแผ่นดินไหวที่เชียงใหม่ กับการเตรียมความพร้อมรับมือภัยแผ่นดินไหว ของคุณ minisiam แล้วครับ

       ขอบคุณมากครับสำหรับแนะนำที่ฉับไวและตรงเป้าหมาย :-)

บัญชา

ปล. ผมยังมีข้อมูลทำนองนี้เกี่ยวกับ หลุมยุบ (sinkhole) ดินถล่ม-โคลนถล่ม (landslide) และสึนามิ (tsunami) คิดว่าจะทยอยนำส่วนที่เกี่ยวกับวิธีการรับมือ ("How to") ลงใน G2K ไปก่อน

      ส่วนประเด็นทางด้านวิทยาศาสตร์ เช่น ธรณีพิบัติภัยแต่ละอย่างเกิดขึ้นได้อย่างไร จะนำลงต่อจากนั้นครับ (หากมีคนสนใจ)

ขอบคุณคุณ conductor ที่ช่วยแนะนำค่ะ และขอบคุณ ดร.บัญชา ที่กรุณาทำ link แนะนำต่อด้วยค่ะ ไว้จะตามอ่านบทความต่างๆ ใน Gotoknow เพิ่มเติมนะคะ
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท