การหักเก็บภาษี รายได้ จากลูกจ้างที่อยู่ต่างประเทศ ส่งให้รัฐก่อนจ่ายค่าจ้าง?


A number of work contracts have engaged foreigners in foreign countries. Thailand is possibly missing on income tax for these work contracts. Shouldn't income tax be deducted and transferred to the Tax Office before any payment is made?

This policy means all out-sourcing contracts to foreigners must be registered and taxed in the same way as contracts to Thais.



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น


คำตอบ (3)

เขาก็ต้องจ่ายภาษีในประเทศเขาอยู่แล้วนี่ครับ ผมคิดว่าเหมือนกับคนไทยที่รับงานจากต่างประเทศก็ต้องจ่ายภาษีเงินได้ในประเทศไทยครับ ผมคิดว่ามีกฎหมายทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศที่ควบคุมเรื่องนี้อยู่อย่างรัดกุมแล้วเพราะในปัจจุบันนั้นมีการทำงานข้ามชาติกันมากโดยเฉพาะในอุตสาหกรรมไอทีครับ

ผมแนะนำให้คุณ Sr ดูเว็บไซต์ Elance ซึ่งเป็นที่ที่ผมใช้หา freelancers ทำงานกับผมครับ ในนั้นมีคนทั่วโลกทั้งจ้างงานและรับงาน รวมทั้งคนไทยด้วยครับ ทั้งในรูปบริษัทและบุคคลธรรมดาครับ



ความเห็น (2)

คุณ Sr ลองสังเกต skills ของคนไทยใน profiles เมื่อเทียบกับ skills ของคนอื่นๆ ในภาพรวมนะครับ

sr
เขียนเมื่อ

งานและอาชีพ เป็น ทรัพยากรของประเทศ ควรให้ประโยชน์ต่อประชาชนของประเทศ เหมือนลำน้ำ ที่ดิน ป่า พันธุไม้ แร่ธาติ จะปล่อยให้ต่างชาติเอาไปใช้ โดยไม่ชดเชยได้อยางไร?

1) Income tax is basically payment for use of national resources to earn a living. In many countries there are also 'employment taxes' on employers for use of labour which is a national resource.

2) Why should foreign countries benefit (by collecting 'income tax') from 'work in Thailand (not in their own countries)'? When the work is a Thailand's resource and should benefit Thais. It is the same as -- when minerals are mined in any country, miners pay for the resources to that country (and may pay income tax to their own country too).



ความเห็น (6)

ผมว่าเรากำลังคุยกันอยู่บนพื้นฐานความไม่รู้ครับ เราควรมีกฎหมายภาษีระหว่างประเทศที่ชัดเจนเป็นตัวตั้งก่อนแล้วถึงวิเคราะห์ว่ากฎหมายที่เรามีนั้นดีหรือไม่ดีครับ

เท่าที่ผมทราบคร่าวๆ คือ ถ้าบุคคลอยู่ในประเทศไหนๆ เกินหกเดือนบุคคลนั้นต้องจ่ายภาษีเงินได้ให้แก่ประเทศนั้น (ไม่ว่ารายได้จะมาจากไหน) ครับ แต่เชื่อว่าแต่ละประเทศก็คงแตกต่างกันไปในรายละเอียดอีกครับ

Laws are created by men (in parliaments around the world --even in Thailand today--). Laws are not necessary 'natural', commonsense or logical. Laws are made to serve a purpose or two. Interpretation of laws is again serving some purposes.

I ask that we start our discussions (so we can learn more --than our ignorance-- that 'jobs' or employment is a national resource and from here we can draw comparisons from the ways we treat other national resources. Taxes on national  resources are common.

The question remains "why should Thailand develop jobs (national resources) so that foreigners can benefit (by earning incomes) and foreign governments can benefit (by taxing on the income generated from the jobs that Thailand created)?

What other countries tax their citizens is not in our argument --we have no control over there. But what Thailand is doing on Thailand's jobs may need to be changed.

The answer is very simple. ;-)

So, Thais can benefit (by earning incomes) from foreign jobs and Thai government can benefit (by taxing on the income generated from the jobs that foreign countries created).

ผมคิดว่าประเด็นอยู่ที่เราต้องสร้างคนให้ทำงานในประเภทงานที่สร้างรายได้ดี ไม่ใช่สร้างกฎหมายภาษีที่ไม่เหมือนกับประเทศอื่นๆ ครับ ที่จริงแล้วกฎหมายภาษีนี่มันก็ดูเหมือนจะมีสนธิสัญญาคุมกันระหว่างประเทศครับ อยู่ๆ จะสร้างอะไรที่ผิดกับประชาคมที่เราทำการค้าอยู่ด้วยไม่ได้ครับ ตัวอย่างเช่น AEC ที่จะเกิดขึ้นนี่ตอนนี้ทำให้ไทยเรา (และทุกประเทศที่เข้าร่วม) ก็ต้องแก้กฎหมายกันอยู่เยอะเหมือนกันครับ

Let me add this:

ครูร้องภาษีมหาโหดรีดใช้หนี้ประชานิยม (http://thaipost.net/x-cite/290313/71523)
...เจ้าหน้าที่สรรพากรก็ชี้แจงแต่ข้อกฎหมายให้ไปชำระตามกำหนด ไม่ชี้ทางออก บอกแต่ว่าทำตามกฎหมายและหน้าที่ จึงตั้งข้อสังเกตว่าเป็นเพราะนโยบายประชานิยมของรัฐบาลหรือเปล่า จึงต้องเก็บภาษีแพงมหาโหดเช่นนี้ เพื่อนำเงินไปใช้หนี้ประชานิยมของรัฐบาล
  ขณะที่ ผอ.โรงเรียนรายหนึ่งกล่าวว่า เป็นเพราะโครงการต่างๆ ของรัฐบาลล้มเหลว แต่ถึงเวลาต้องใช้หนี้เงินกู้ ก็เลยต้องมาขูดรีดภาษีจากครู ทำให้ครูบางคนเงินเดือนไม่พอใช้ มาเจอชำระภาษีแพงเป็น 2 เท่า กลุ้มใจมาก นอนไม่หลับ คิดมาก ครูทุกคนพูดเป็นเสียงเดียวกันว่าภาษีมหาโหด สรรพากรขูดรีดแบบเลือดเย็นที่สุดเพื่อสนองรัฐบาล....

And ask how many foreigners stream in over Thailand's border towns every morning to work and return home in evenning. How many Thais go over to work in beighbouring countries? How much taxes are lost? How much are gained?

(I have heard that a jewish lawyer working for a thief of Dubai came in to work in Thailand and returned without paying income taxes. His work is being used to even hurt Thais.)

In Australia, sports players, entertainers,... come to work and pay income taxes to Australia for the income they make in Australia.

เอ.... ปีนี้ภาษีเขาก็คิดปกติเหมือนกับปีที่แล้วนี่ครับ ผมยังได้คืนภาษีที่ ม.สงขลานครินทร์ หักจากเงินเดือนล่วงหน้าเลยครับ และผมเชื่อว่าเงินเดือนผมสูงกว่า ผอ. โรงเรียนขนาดเล็กถึงขนาดกลางแน่ๆ ครับ

ผมขอเรียนตรงๆ ว่า เนื่องจากคุณ Sr อยู่ต่างประเทศเลยอาจจะมีความเห็นที่ไม่ค่อยสอดคล้องกับสภาวะที่เป็นไปในประเทศไทยในขณะนี้เท่าไหร่นัก ข้อมูลเกี่ยวกับประเทศไทยนั้นผมคาดว่าคุณ Sr ได้จากสื่อมวลชนไทยเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งสื่อมวลชนไทยนั้นไม่ได้มีข้อผูกมัดทางกฎหมายที่จะต้องรายงานข่าวอย่างระมัดระวังให้ตรงกับความจริงเท่าไหร่นัก ผมเชื่อว่าถ้าคุณ Sr ทำงานอยู่ในประเทศไทยความเห็นอาจจะเปลี่ยนไปนะครับ

...สื่อมวลชนไทยนั้นไม่ได้มีข้อผูกมัดทางกฎหมายที่จะต้องรายงานข่าวอย่างระมัดระวังให้ตรงกับความจริงเท่าไหร่...

It is sad that we have to live and work with lies anf cheats ... and no one cares!

Because of low information reliability, we need to collect and correlate data from several sources. We need more answers to the issue and we shouldn't have any 'conviction' before we hear more (why it is posted in 'question' ;). But we have nothing in academic literature, no public discussions, no public statistics, ... no one cares!

In 2-3 years time, Thailand may be an AEC hot spot for itinerant workers from neighbouring countries (but because of poor language learning records and renumeration differences, not many Thais will venture or obtain works from aboard).  With extra national debts burden, Thailanf will look at nooks and corners to tax. Thais will suffer extra burden and many foreign workers enjoy the 'tax-loopholes'. (I have been to border towns and asked the local 'how many itinerant workers cross the border a day? The answers point to 'many hundreds'-to-'thousands' at each checkpoint. How many botder towns? How many crossing tracks without checkpoint? You pay tax to Thailand, you should work it out ;-)

sr
เขียนเมื่อ

In regards to 'skills of Thais', the issue is much like (the "Seven Samurais")

"should we build up our own skills or should we hire outside top guns?"

Building own skill pools is what countries like Germany, Japan, Korea, China,... are doing and their governments and people support their own people first (and foremost). The strategy pays well. They have advanced skills and they have better spring board for innovations.

It is a chicken and egg problem! We want better skilled people but we don't give them work and train them. No one hire inexperienced hands, so where do they get more experiences? We have to break this deadlock and kick-start an initialization (process). Computers work and improve much like this.

If we all become "consumers" (buying conveniences), we cannot become "producers" (changing our world with our own skills).



ความเห็น (3)

ในฐานะคนที่อยู่ในวิชาชีพการศึกษา ผมได้ทดลองสร้างคนมาแล้วครับ เรื่องมันยาวและซับซ้อน สรุปก็คือผมได้ทำและทำแบบที่ไม่มีใครกล้าทำมาแล้ว ก่อนจะยอมรับว่าตัวเองไม่มีความสามารถในการทำเช่นนั้น (สร้างคนพร้อมสร้างงาน) ครับ

Ummmh, Gotoknow in calling and rewarding "learners" at the moment.

I do think learning to teach or to develop people is quite interesting (but maybe not rewarding enough).

We can be satisfied with mastering English so we can communicate with foreign workers. We can perhaps be more satisfied mastering teaching Thais to do better jobs in Thai. 

ความเห็นผมไม่ได้เกี่ยวกับ GotoKnow ครับ ผมหมายถึงในอดีตผมเคยสร้างหลักสูตรและพยายามปรับปรุงหลักสูตรที่มีอยู่แล้วให้บัณฑิตและมหาบัณฑิตที่จบมาสามารถแข่งขันในระดับนานาชาติได้ครับ แถมยังเคยพยายามสร้าง research lab ด้าน information systems แบบที่ไม่มีในประเทศไทยด้วยครับ แต่สรุปว่าทำได้ยากมากครับ สุดท้ายวิเคราะห์แล้วความสามารถผมเองไม่ถึงที่จะทำเช่นนั้นได้ครับ เลยเลือกเฉพาะทำสิ่งที่ทำได้ครับ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท