กจ.2/1 สรุปบทที่ 8 เรื่อง จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ


กจ.2/1 สรุปบทที่ 8 เรื่อง จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ


ความเห็น (62)

ไม่มีความเห็น


คำตอบ (1)

ladda pinta
เขียนเมื่อ
not yet answered


ความเห็น (62)
นางสาวประกาย ใจประสิทธิ์ เลขที่ 11 ห้อง กจ.2/1

สรุปบทที่ 8

เรื่อง จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

..................

จริยธรรมในทางธุรกิจ คือ การผสมผสานระหว่างเศรษฐกิจและจริยธรรม โดยมีเป้าหมายและการปฏิบัติของภาคธุรกิจในการสร้างความสำเร็จในการประกอบการอย่างมีความรับผิดชอบ มีความยั่งยืน มีผลระยะยาว ในขณะเดียวกันก็ช่วยสร้างความสมดุลระหว่างผู้มีส่วนได้เสียในกิจการนั้น ๆ

ซึ่งการดำเนินธุรกิจในยุคใหม่จึงจำเป็นต้องมีการกำหนดบทบัญญัติของการปฏิบัติที่จะมีจริยธรรมที่ดีสำหรับผู้บริหาร หรือความมีจรรยาบรรณในการดำเนินธุรกิจ สำหรับแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับจรรยาบรรณมีแนวทางดังนี้ เช่น ...

1.Teleology แนวคิดนี้มุ่งพิจารณาถึงความต้องการของประชาชนในสังคมเป็นสำคัญ

2.Deontology เป็นแนวคิดที่มุ่งเน้นสรุปสิ่งที่พึงกระทำจากความสำนึกในความผิดชอบชั่วดีของมนุษย์มากกว่าจะสรุปจากผลที่เกิดขึ้นเมื่อได้ทำไปแล้ว

3.Cultural Relativism เป็นแนวคิดที่พิจารณาข้อสรุปทางจรยาบรรณของสังคมต่าง ๆ โดยพิจารณาร่วมกับความแตกต่างทางวัฒนธรรมเนื่องจากทัศนคติของคนที่มาจากวัฒนธรรมที่แตกต่างกันไป

4.Untiversalism เป็นแนวคิดที่พิจารณาแนวทางปฏิบัติว่าถือว่าเป็นการไร้จริยธรรมจากการมองสังคมโดยเสมอภาค

กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม

สำหรับผู้ทำหน้าที่ในการขัดเกลาสังคม ซึ่งถือว่าเป็นผู้ที่มีบทบาทและมีความสำคัญในกระบวนการเสริมสร้างจริยธรรมที่พึงจะกล่าวถึง คือ

1.สถาบันครอบครัว คือ การขัดเกลาเบื้อต้น เป็นแบบแผนทางจริยธรรม

2.สถาบันการศึกษา คือ เป็นการขัดเกลาที่เป็นทางการและมีอิทธิผลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพและความเชื่อในด้านคุณธรรมและจริยธรรม

3.กลุ่มเพื่อน คือ ความเป็นตัวของตัวเอง การรู้จักเอาตัวรอด การอยู่ร่วมกันในสังคม

4.สื่อสารมวลชน คือ นำคุณธรรมมาสอดแทรก สร้างค่านิยม ความเชื่อ ทัศนคติและการเรียนรู้พฤติกรรมต่าง ๆ

5.สถาบันทางสังคมและศาสนา คือ มีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิต ปลูกฝังให้คนเป็นคนดี

ความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ

1.เพื่อความสามารถในการแข่งขัน คือ อยู่ที่การตรงไปตรงมา การต่อรองที่ยุติธรรม ปราศจากการคิดทรยศ ตลอดจนการพิพาทเล็ก ๆน้อย ๆ และจบลงด้วยการฟ้องศาล

2.การเพิ่มผลผลิต คือ ช่วยสร้างความสารมารถในการผลผลิตให้สูงขึ้น

3.ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย คือ กิจการมีความเข้มแข็งและส่งผลกระทบในด้านที่เป็นประโยชน์แก่ผู้มีส่วนได้เสีย

4.กฎหมายและข้อบังคับจำภาครัฐ คือ ช่วยลดความจำเป็นที่ต้องออกกฎระเบียบข้อบังคับมากเกินความจำเป็น

5.ธุรกิจทีมีจริยธรรม จะสามารถช่วยป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่ชุมชนและสิ่งแวดล้อม

6.ธุรกิจที่มีจริยธรรม ย่อมก่อให้เกิดความสบายใจ ความสุขในการทำงาน จะช่วยดึงดูดให้คนเข้ามาทำงานในบริษัท

ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ

1.ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว

2.คำนึงถึงจุดมุ่งหมายของธุรกิจเป็นหลัก

3.การแข่งขันธุรกิจที่มุ่งรายได้และกำไรมากเกินไป

4.ปัญหาความขัดแย้งทางวัฒนธรรม

แนวทางการแก้ไขปัญหาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1.ตั้งคณะกรรมการหรือเจ้าหน้าที่ทางจริยธรรม

2.ใช้วิธีการฝึกอบรมทางจริยธรรม

3.การให้รางวัลแก่ผู้ปฏิบัติตามจริยธรรม

4.การจัดให้มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดีหรือบรรษัทภิบาล

วิกฤติทางด้านจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1.กลุ่มบุคคลผลักดันให้เกิดความเปลี่ยนแปลง

2.พยายามสร้างความมั่งคั่งทางธุรกิจ

3.โลกาภิวัฒน์ที่แพร่กระจาย การปรับตัวการเปลี่ยนแปลง

4.เน้นค่านิยมของคน เน้นวัตถุนิยมมากขึ้น

5.ค่านิยมคนเอเชียเน้นทำงานมากขึ้น

ระดับความรับผิดชอบ

1.Economic responsibility สร้างภาพระยะสั้นทำเพื่อฉวยโอกาส

2.Legal responsibility ตามกฎหมาย ถูกบังคับว่าต้องทำ

3.Ethical responsibility จากตัวบุคคลในธุรกิจนั้นๆ พนักงานเริ่มรับผิดชอบต่อสังคม

4.Discretionary responsibility โดยที่องค์การอยากทำจริงๆ อยากทำโดยมีจิตสำนึก

5.ระดับความรับผิดชอบต่อสังคมทั้งหมด

4E

1.Education การศึกษา ให้ทุน ให้นักศึกษามาฝึกงาน

2.Environment สิ่งแวดล้อม เช่นการลดโลกร้อน

3.Energy Conservation การอนุรักษ์พลังงาน ประหยัด น้ำ ไฟ

4.Employee Engagement มีส่วนร่วมในสังคม เช่นการให้เงินโบนัสพนักงานนำไปตอบแทนสังคม

..........................

นางสาวสุภัทรา ถาตะถา เลขที่ 25 กจ.2/1

สรุปบทที่ 8 เรื่อง จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

1. ได้ทราบถึงความหมายของจริยธรรมหมายถึง ความถูกต้อง ความดีงาม ความประพฤติและการกระทำของบุคคลหรือมาตรฐานกฎเกณฑ์

จริยธรรมทางธุรกิจของ อานนท์ ปันยารชุน หมายถึงจริยธรรมในทางธุรกิจ คือ การผสมผสานระหว่างเศรษฐกิจและจริยธรรม โดยมีเป้าหมายและการปฏิบัติของภาคธุรกิจในการสร้างความสำเร็จในการประกอบการอย่างมีความรับผิดชอบ

2. ได้ทราบแนวคิดเกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจมีอยู่ด้วยกัน 4 แนวทางคือ

1)Teleology แนวคิดนี้มุ่งพิจารณาถึงความต้องการของประชาชนในสังคมเป็นสำคัญ

2)Deontology เป็นแนวคิดคำนึงถึงสิทธิส่วนบุคคลและพฤติกรรมการแสดงออกมากกว่าจะคำนึงถึงผลที่เกิดขึ้นสำหรับในองค์การธุรกิจแล้ว

3)Cultural Relativism เป็นแนวคิดที่พิจารณาข้อสรุปทางจรยาบรรณของสังคมต่าง ๆ โดยพิจารณาร่วมกับความแตกต่างทางวัฒนธรรม

4) Untiversalism เป็นแนวคิดที่พิจารณาแนวทางปฏิบัติว่าถือว่าเป็นการไร้จริยธรรมจากการมองสังคมโดยเสมอภาค

3. ได้ทราบถึงกระบวนการเสริมสร้างจริยธรรมและผู้มีหน้าที่ขัดเกลาทางสังคม

ประกอบด้วย

1. ครอบครัว ถือเป็นหน่วยขัดเกลาที่สำคัญที่สุด

2. โรงเรียน เป็นหน่วยขัดเกลาที่เป็นทางการและมีอิทธิพลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพ

3. กลุ่มเพื่อน เป็นหน่วยที่มีอิทธิพลต่อเด็กมาก

4. สื่อมวลชน เป็นหน่วยที่สำคัญในการปลูกฝังวัฒนธรรมใหม่ ๆ

5. สถาบันทางศาสนาและสังคม เป็นหน่วยที่มีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตและความใกล้ชิดกับชุมชน

4. ได้ทราบถึงความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ

ประกอบด้วย 5ประการคือ

1.เพื่อความสามารถในการแข่งขัน

2.การเพิ่มผลผลิต

3.ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

4.กฎหมาย ข้อบังคับจากภาครัฐ

5.ธุรกิจที่มีจริยธรรมจะสามารถช่วยป้องกันไม่ให้เกิดอัตรายแก่ชุมชนและสิ่งแวดล้อม

6.ธุรกิจที่มีจริยธรรมย่อมก่อให้เกิดความสบายและความสุขในการทำงาน

5. ได้ทราบถึงการพัฒนาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1.อำนาจอันชอบธรรม 2.ความเชื่อมั่น

3.ความพร้อมที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง 4.การวางแผนพัฒนาที่ดี

5.ผลประโยชน์ร่วมกัน 6.การปฏิบัติที่สม่ำเสมอ

7.การควบคุมอย่างต่อเนื่อง

6. ได้ทราบถึงปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ

1.ผลประโยชน์และความเห็นแห่ตัว 2.จุดมุ่งหมายของธุรกิจกับค่านิยมส่วนบุคคล

3.แรงกดดันซึ่งทำให้ได้มาซึ่งกำไร 4.การขัดแย้งทางวัฒนธรรม

7. ได้ทราบถึงวิกฤตจริยธรรมในการดำเนินธุรกิจ

1. กลุ่มบุคคลต่าง ๆ ในสังคมที่เป็นตัวผลักดันทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง

2. พยายามสร้างความมั่งคั่งทางธุรกิจ

3. โลกาภิวัตน์ที่แพร่กระจายทั่วภูมิภาคแก่ประชากร ความเปลี่ยนแปลง

4. ค่านิยมของคนเน้นวัตถุมากขึ้น

5. ค่านิยมเอเชียที่เน้นการทำงานมากขึ้น

8. ได้ทราบถึงแนวทางการแก้ไขปัญหาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1.ตั้งคณะกรรมการจริยธรรม 2.ใช้วิธีการฝึกอบรมทางจริยธรรม

3.การให้รางวัลแก่ผู้ที่ปฏิบัติตามจริยธรรม 4.จัดการให้มีระบบการกำกับดูแลที่ดี

9.ได้ทราบถึงการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม

1. ความรับผิดชอบต่อสุขภาพและสวัสดิการของบุคคล

2.ความรับผิดชอบด้านคุณภาพและบริการ

3.ความรับผิดชอบต่อข้อมูลข่าวสาร และการศึกษา

4.ความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม

5.ความรับผิดชอบด้านศาสนา

6.ความรับผิดชอบด้านสิทธิและมนุษยชน

10.ได้ทราบถึงความรับผิดชอบต่อสังคมผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

1. Education การศึกษา

2. Environment สิ่งแวดล้อม

3. Energy Conservation การอนุรักษ์พลังงาน

4. Employee Engagement การส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วมในสังคม

********************************************************

นางสาวสุภัทรา ถาตะถา เลขที่ 25 กจ.2/1

สรุปบทที่ 8 เรื่อง จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

1. ได้ทราบถึงความหมายของจริยธรรมหมายถึง ความถูกต้อง ความดีงาม ความประพฤติและการกระทำของบุคคลหรือมาตรฐานกฎเกณฑ์

จริยธรรมทางธุรกิจของ อานนท์ ปันยารชุน หมายถึงจริยธรรมในทางธุรกิจ คือ การผสมผสานระหว่างเศรษฐกิจและจริยธรรม โดยมีเป้าหมายและการปฏิบัติของภาคธุรกิจในการสร้างความสำเร็จในการประกอบการอย่างมีความรับผิดชอบ

2. ได้ทราบแนวคิดเกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจมีอยู่ด้วยกัน 4 แนวทางคือ

1)Teleology แนวคิดนี้มุ่งพิจารณาถึงความต้องการของประชาชนในสังคมเป็นสำคัญ

2)Deontology เป็นแนวคิดคำนึงถึงสิทธิส่วนบุคคลและพฤติกรรมการแสดงออกมากกว่าจะคำนึงถึงผลที่เกิดขึ้นสำหรับในองค์การธุรกิจแล้ว

3)Cultural Relativism เป็นแนวคิดที่พิจารณาข้อสรุปทางจรยาบรรณของสังคมต่าง ๆ โดยพิจารณาร่วมกับความแตกต่างทางวัฒนธรรม

4) Untiversalism เป็นแนวคิดที่พิจารณาแนวทางปฏิบัติว่าถือว่าเป็นการไร้จริยธรรมจากการมองสังคมโดยเสมอภาค

3. ได้ทราบถึงกระบวนการเสริมสร้างจริยธรรมและผู้มีหน้าที่ขัดเกลาทางสังคม

ประกอบด้วย

1. ครอบครัว ถือเป็นหน่วยขัดเกลาที่สำคัญที่สุด

2. โรงเรียน เป็นหน่วยขัดเกลาที่เป็นทางการและมีอิทธิพลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพ

3. กลุ่มเพื่อน เป็นหน่วยที่มีอิทธิพลต่อเด็กมาก

4. สื่อมวลชน เป็นหน่วยที่สำคัญในการปลูกฝังวัฒนธรรมใหม่ ๆ

5. สถาบันทางศาสนาและสังคม เป็นหน่วยที่มีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตและความใกล้ชิดกับชุมชน

4. ได้ทราบถึงความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ

ประกอบด้วย 5ประการคือ

1.เพื่อความสามารถในการแข่งขัน

2.การเพิ่มผลผลิต

3.ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

4.กฎหมาย ข้อบังคับจากภาครัฐ

5.ธุรกิจที่มีจริยธรรมจะสามารถช่วยป้องกันไม่ให้เกิดอัตรายแก่ชุมชนและสิ่งแวดล้อม

6.ธุรกิจที่มีจริยธรรมย่อมก่อให้เกิดความสบายและความสุขในการทำงาน

5. ได้ทราบถึงการพัฒนาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1.อำนาจอันชอบธรรม 2.ความเชื่อมั่น

3.ความพร้อมที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง 4.การวางแผนพัฒนาที่ดี

5.ผลประโยชน์ร่วมกัน 6.การปฏิบัติที่สม่ำเสมอ

7.การควบคุมอย่างต่อเนื่อง

6. ได้ทราบถึงปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ

1.ผลประโยชน์และความเห็นแห่ตัว 2.จุดมุ่งหมายของธุรกิจกับค่านิยมส่วนบุคคล

3.แรงกดดันซึ่งทำให้ได้มาซึ่งกำไร 4.การขัดแย้งทางวัฒนธรรม

7. ได้ทราบถึงวิกฤตจริยธรรมในการดำเนินธุรกิจ

1. กลุ่มบุคคลต่าง ๆ ในสังคมที่เป็นตัวผลักดันทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง

2. พยายามสร้างความมั่งคั่งทางธุรกิจ

3. โลกาภิวัตน์ที่แพร่กระจายทั่วภูมิภาคแก่ประชากร ความเปลี่ยนแปลง

4. ค่านิยมของคนเน้นวัตถุมากขึ้น

5. ค่านิยมเอเชียที่เน้นการทำงานมากขึ้น

8. ได้ทราบถึงแนวทางการแก้ไขปัญหาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1.ตั้งคณะกรรมการจริยธรรม 2.ใช้วิธีการฝึกอบรมทางจริยธรรม

3.การให้รางวัลแก่ผู้ที่ปฏิบัติตามจริยธรรม 4.จัดการให้มีระบบการกำกับดูแลที่ดี

9.ได้ทราบถึงการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม

1. ความรับผิดชอบต่อสุขภาพและสวัสดิการของบุคคล

2.ความรับผิดชอบด้านคุณภาพและบริการ

3.ความรับผิดชอบต่อข้อมูลข่าวสาร และการศึกษา

4.ความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม

5.ความรับผิดชอบด้านศาสนา

6.ความรับผิดชอบด้านสิทธิและมนุษยชน

10.ได้ทราบถึงความรับผิดชอบต่อสังคมผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

1. Education การศึกษา

2. Environment สิ่งแวดล้อม

3. Energy Conservation การอนุรักษ์พลังงาน

4. Employee Engagement การส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วมในสังคม

********************************************************

นางสาวจุฑามณี ขัดตา เลขที่ 4 กจ 2/1

สรุป

บทที่8 จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

จริยธรรมในทางธุรกิจ หมายถึง ความสามารถที่จะสะท้อนถึงค่านิยมในกระบวนการติดสินใจของธุรกิจและส่งเสริมนโยบายการปฏิบัติของภาคธุรกิจในการสร้างความสำเร็จในการประกอบการอย่างมีความรับผิดชอบ มีความยั่งยื่น มีผลในระยะยาว

สำหรับแนวคิดที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจมีหลายแนวคิด เช่น

• Teleolgy ให้ความสำคัญของปัจเจกบุคคล(Egoism) และ ความสำคัญต่อกลุ่มบุคคล(Utilitarianism)

• Deontology สิทธิส่วนบุคคลและพฤติกรรมการแสดงออก

• Cultural Relativism ความแตกต่างทางวัฒนธรรม

• Universlism แนวทางปฏิบัตี่ถือว่าเป็นการไร้จริยธรรมจากการมองสังคมโดยเสมอภาค

กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรมและผู้มีหน้าที่ขัดเกลาทางสังคม

• ครอบครัว

• สถานศึกษา

• กลุ่มเพื่อน

• สื่อสารมวลชน

• สถาบันสังคม และศาสนา

ความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ

• เพื่อความสามารถในการแข่งขัน

• การเพิ่มผลผลิต

• ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย

• กฎหมาย ข้อบังคับจากภาครัฐ

• ธุรกิจที่มีจริยธรรม จะสามารถช่วยป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่ชุมชนและสิ่งแวดล้อม

• ธุรกิจที่มีจริยธรรม ย่อมก่อให้เกิดความสบายใจ ความสุขในการทำงานและจะช่วยดึงดูดให้คนเข้ามาทำงานกับบริษัท

การพัฒนาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

• อำนาจอันชอบธรรม

• ความเชื่อมั่น

• ความพร้อมที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง

• การวางแผนพัฒนาที่ดี

• ผลประโยชน์ร่วม

• การปฏิบัติที่สม่ำเสมอ

• การควบคุมอย่างต่อเนื่อง

ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ

• ผลประโยและความเห็นแก่ตัว

• คำนึงจุดมุงหมายของธุรกิจกับค่านิยมส่วนบุคคลเป็นหลัก

• แรงกดดันเพื่อให้ได้มาซึ่งผลกำไร

• การแข่งขันทางธุรกิจที่มุ่งรายได้และกำไรมากเกินไป

• ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม

แนวทางการแก้ปัญหาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

• ตั้งคณะกรรมจริยธรรม

• ใช้วิธีการฝึกอบรมทางจริยธรรม

• การให้รางวัลแก่ผู้ที่ปฏิบัติตามจริยธรรม

• การจัดให้มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดีหรือบรรษัทภิบาล

ธุรกิจกับความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR - Corporate Social Responsibility)

ธุรกิจกับความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR - Corporate Social Responsibility) เป็นเครื่องมือที่โลกตะวันตกคิดขึ้นสำหรับใช้ควบคุมหรือถ่วงดุลลัทธิทุนนิยมสุดขั้ว มุ่งกำไรสูงสุด จนหย่อนด้านคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบต่อสังคม เป็นกลไกควบคุมธุรกิจขนาดใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งธุรกิจข้ามชาติ ให้ต้องประพฤติปฏิบัติในลักษณะที่แสดงความรับผิดชอบต่อสังคมในหลากหลายมิติ

หลักการของธุรกิจกับความรับผิดชอบต่อสังคม จึงอยู่บนฐานความเชื่อว่า ธุรกิจ กับสังคม จะต้องอยู่ร่วมกัน อย่างช่วยเหลือเกื้อกูลเอื้อประโยชน์ซึ่งกันและกัน ช่วยกันลดจุดอ่อนต่อกัน

ความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจมีหลากหลายด้าน ดังต่อไปนี้

1. ด้านสิ่งแวดล้อม - ธุรกิจอาจก่อมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมหลากหลายรูปแบบ อาจก่อมลภาวะต่ออากาศ มลภาวะทางเสียง ต่อแม่น้ำลำคลอง ต่อน้ำฝน ต่อน้ำผิวดิน เป็นต้น เช่นธุรกิจสารเคมีอาจก่อพิษภัยทั้งในลักษณะพิษที่เกิดทันทีอย่างเฉียบพลัน หรือค่อยๆ สะสมพิษร้ายทีละน้อยๆ เกิดผลกระทบแบบเรื้อรัง หรือตายผ่อนส่ง ธุรกิจที่ก่อผลร้ายเช่นนี้ต้องมีวิธีป้องกัน ไม่ให้เกิดผลร้ายอย่างได้ผล จึงจะถือว่ารับผิดชอบต่อสังคม

2. ด้านการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ธุรกิจอาจแย่งใช้น้ำจากแหล่งน้ำเดียวกันกับชุมชน อาจใช้ทรัพยากรธรรมชาติชนิดที่ใช้แล้วหมด ธุรกิจจะต้องแสดงความรับผิดชอบต่อชุมชนโดยรอบ และต่อสังคมในภาพรวม ที่จะไม่ก่อปัญหาแบบไร้ความรับผิดชอบ

3. ด้านความเป็นธรรมต่อเพื่อนมนุษย์ - การจ่ายค่าแรง ค่าจ้าง ค่าชดเชย ค่าดูแลสุขภาพ อย่างเป็นธรรม การจัดสถานที่ทำงานให้เป็น healthy workplace และ happy workplace การจัดให้เป็น learning organization

4. ด้านจิตวิญญาณของผู้คน - ธุรกิจที่มุงผลกำไรสูง มองความสำเร็จที่ผลกำไร มองความสามารถคู่กับผลได้ทางวัตถุ และเงินเดือน มีแนวโน้มที่จะสร้างวัฒนธรรมวัตถุนิยมสุดขั้ว เพิ่มพูนความโลภ หย่อนด้านจิตวิญญาณ หย่อนด้านความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์

5. ด้านความรับผิดชอบในการประกอบธุรกิจ - ทั้งในด้านความซื่อสัตย์สุจริต และรักษาผลประโยชน์ตามหลัก BSC - Balanced Score Card คือต่อผู้ถือหุ้น ต่อลูกค้าหรือคู่ค้า ต่อพนักงาน และต่อสังคมวงกว้าง

6. สำคัญที่จิตสำนึก ที่แสดงออกทางการปฏิบัติ และมีคำอธิบาย

กลยุทธ์ 4 “E

• คือ การศึกษา หรือ Education

• สิ่งแวดล้อม หรือ Environment

• การอนุรักษ์พลังงาน หรือ Energy Conservation

• การส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมเพื่อสังคม หรือ Employee Engagement

นายพลวัฒน์ พงษ์ตุ้ย

บทที่ 8

จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

ความหมายและลักษณะของจริยธรรม

จรรยาบรรณ ตามรากศัพท์ หมายถึง หลักของความประพฤติ ส่วนจริยธรรม หมายถึง ธรรมของการปฏิบัติ จรรยาบรรณจึงเป็นข้อกำหนดทางจริยธรรมของวิชาชีพ เป็นข้อกำหนดทางศีลธรรมหรือจริยธรรมที่สมาชิกในกลุ่มวิชานั้นๆจัดทำขั้น เช่น จรรยาบรรณของแพทย์จรรยาบรรณของสมาคมจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย จรรยาบรรณของนักกีฬาเป็นต้น

แนวคิดที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ

สำหรับแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับจรรยาบรรณมีหลายแนวทาง เช่น

Teleology แนวคิดนี้โดยสรุปว่า การกระทำหรือพฤติกรรมที่ถูกต้องหรือยอมรับได้ ได้แก่การกระทำที่ก่อให้เกิดผลที่พึงปรารถนาและแบ่งการพิจารณาออกเป็นสองทาง ได้แก่ ความสำคัญของปัจเจกบุคคล ความสำคัญต่อกลุ่มบุคคล

Deontology แนวคิดนี้คิดมุ้งเน้นสรุปที่พึงกระทำจากความสำนึกในความผิดชอบชั่วดีของมนุษย์มากกว่าจะสรุปจากผลที่เกิดขึ้นเมื่อได้ทำไปแล้ว

Cultural Relativism เป็นแนวคิดที่พิจารณาข้อสรุปทางจรรยาบรรณของสังคมต่างๆโดยพิจารณาร่วมกับความแตกต่างทางวัฒนธรรม แต่การที่บุคคลจะตัดสินใจในเรื่องของความถูกต้อง ความผิด ความยุติธรรมหรือความไม่ยุติธรรม

Universalism เป็นแนวคิดที่พิจารณาแนวทางปฏิบัติที่จะถือว่าเป็นการไร้จริยธรรมจากการมองสังคมโดยเสมอภาค เช่น บริษัทญี่ปุ่นจะจัดโรงงานอุตสาหกรรมในประเทศไทย อันเนื่องจากประเทศนั้นมีกฎหมายคุ้มครองสิ่งแวดล้อมน้อยกว่าประเทศญี่ปุ่น ทำให้ลดต้นทุนการดำเนินงานได้มากกว่า การกระทำเช่นนี้ย่อมเป็นการไร้จริยธรรม

กระบวนการเสริมจริยธรรม

สำหรับผู้ทำหน้าที่ในการขัดเกลาทางสังคม ซึ่งถือว่าเป็นผู้มีบทบาทและมีความสำคัญในกระบวนการเสริมสร้างจริยธรรมทึ่งกล่าว คือ

1. สถาบันครอบครัว เป็นหน่วยขัดเกลาสำคัญที่สุดเพราะ เพราะบุคคลจะได้รับการอบรมจากครอบครัวอยู่ตลอดเวลา

2. สถาบันการศึกษา เป็นหน่วยขัดเกลาที่เป็นทางการและมีอิทธิพลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพและความเชื่อถือในด้านคุณธรรมและจริยธรรม

3. กลุ่มเพื่อน เป็นอิทธิพลต่อเด็กมาก เพราะ จะช่วยให้เด็กได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ที่ไม่ได้รับจากครอบครัวหรือสถาบันการศึกษา เช่น ความเป็นผู้นำ ความเป็นตัวของตัวเอง

4. สื่อสารมวลชน อันได้ แก่ ทีวี วิทยุ หนังสือพิมพ์ ภาพยนตร์ และเทคโนโลยีที่ทันสมัยสิ่งเหล่านี้สร้างค่านิยม ทัศนคติและการเรียนรู้พฤติกรรมต่างๆ

5. สถาบันทางสังคมและศาสนา เป็นหน่วยที่มีบทบาทต่อการดำรงชีวิตและความใกล้ชิดกับชุมชน ให้การอบรมสั่งสอนทั้งเด็กและผู้ใหญ่ในด้านคุณธรรมและศีลธรรม

ความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ

1. เพื่อความสามารถในการแข่งขัน อดีต CEO. ของบริษัทไอบีเอ็ม ได้เคยกล่าวไว้ว่าถ้าผู้บริหารกิจการไม่มีจริยธรรม กิจการนั้นๆ จะไม่สามารถแข่งขันกับผู้อื่นได้ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ

2. การเพิ่มผลผลิต การใช้จริยธรรมในธุรกิจจะช่วยสร้างผลผลิตให้สูงขึ้น พนักงานมีขวัญและกำลังใจมีความเต็มใจที่จะทำงาน

3. ความสำพันธ์กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จะทำให้กิจการมีความเข็มแข็งและส่งผลกระทบในด้านที่เป็นประโยชน์แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เช่น ทำให้ลูกค้ามีความเชื่อถือศรัทธา เกิดการยอมรับในกานดำเนินงานของกิจการ

4. กฎหมาย ข้อบังคับจากภาครัฐ จะช่วยลดความจำเป็นของภาครัฐในการออกกฎระเบียบ ข้อบังคับที่มากเกินความจำเป็น

5. ธุรกิจที่มีจริยธรรม จะสามารถช่วยป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่ชุมชนและสิ่งแวดล้อม เช่น การไม่ทิ้งของเสียที่เป็นพิษต่อชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม

6. ธุรกิจที่มีจริยธรรม ย่อมก่อให้เกิดความสบายใจ ความสุขในการทำงาน และจะช่วยดึงดูดคนให้เข้ามาทำงานกับบริษัทเพราะโดยปกติคนเรามักชอบที่จะทำงานร่วมกับบริษัทที่มีความถูกต้องชอบธรรมและเป็นที่ยอมรับในสังคม

ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ

1. ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว อันเกิดจากความโลภ กิเลส ความหลงมัวเมาล้วนแต่เป็นสิ่งที่ก่อให้เกิดปัญหาทางจริยธรรมทั้งสิ้น ความโลภ ไม่ซื่อสัตย์ มองเห็นแต่ผลประโยชน์ของตนเอง

2. จุดมุ่งหมายของธุรกิจกับค่านิยมส่วนบุคคล การขัดแย้งทางจริยธรรมมักเกิดขึ้นได้เมื่อธุรกิจมุ่งเน้นจุดมุ่งหมายของกิจการเป็นหลัก มีการดำเนินงานในวิธีทางที่พนักงานบางกลุ่มไม่สามารถรับได้ จึงทำให้พนักงานเหล่านั้นร้องเรียนหรือพยายามต่อต้านนโยบายและวิธีการทำงานของกิจการ

3. แรงกดดันเพื่อได้มาซึ่งผลกำไร จากแรงกดดันในการแข่งขันที่มีความรุ่นแรงและไร้ขอบเขตซึ่งอาจเป็นสาเหตุที่ทำให้ธุรกิจดำการไปในทิศทางที่ขาดจริยธรรมและผิดกฎหมาย เช่น การใช้แรงงานเด็กหรือแรงงานต่างด้าว เพื่อมุ่งลดต้นทุนการผลิตหรือเพื่อให้ได้เปรียบคู่แข็งขัน

4. ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม การส่งสินค้าที่ด้อยคุณภาพไม่ได้มาตรฐาน หรือกากของเสียในทางอุตสาหกรรมไปยังประเทศอื่นที่ยังไม่มีข้อห้ามหรือยังอ่อนด้อยในทางพัฒนา

แนวทางการแก้ไขปัญหาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1. ตั้งคณะกรรมการจริยธรรมหรือเจ้าหน้าที่ทางจริยธรรมเพื่อให้คำปรึกษา แนะนำ แก้ไขปัญหาทางจริยธรรม

2. ใช้วิธีการฝึกอบรมทางจริยธรรม ซึ่งจะเป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยส่งเสริมให้เกิดจริยธรรมในองค์การ โดยอาจเน้นการฝึกอบรมไปที่การสร้างจิตสำนึกในหมู่พนักงานและผู้บริหารให้มีต่อจริยธรรมทางธุรกิจ เพื่อให้ทุกคนมีความสนใจต่อประเด็นปัญหาทางจริยธรรมว่าการกระทำใดที่ผิดจริยธรรมหรือคุณธรรม

3. การให้รางวัลแก่ผู้ปฏิบัติตามจริยธรรม เป็นการให้รางวัลเป็นแรงจูงใจสำคัญที่อาจจะก่อให้เกิดการปฏิบัติ ดังเช่น นิตยสารFobes ได้จัดให้มีการประกาศให้รางวัลแก่องค์การที่มีผลงานดีเด่นทางจริยธรรมประจำปีที่เรียกว่า American Business Awards(ABEA)

4. การจัดให้มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดีหรือบริษัทภิบาล ทั้งนี้ก็เพื่อเป็นการปฏิรูปการบริหารระบบทั้งหมดรวมถึงการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมในการทำงานในองค์การให้มีประสิทธิภาพและมีจริยธรรมในการดำเนินงานที่มากขึ้น

การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม

1. ความรับผิดชอบต่อสุขภาพและสวัสดิภาพของบุคคล

2. ความรับผิดชอบด้านคุณภาพและบริการ

3. ความรับผิดชอบต่อข้อมูลข่าวสาร และการศึกษา

4. ความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม

5. ความรับผิดชอบด้านศาสนาและวัฒนธรรม

6. ความรับผิดชอบด้านสิทธิมนุษย์ชน

นายพลวัฒน์ พงษ์ตุ้ย เลขที่ 20 กจ2/1

บทที่ 8

จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

ความหมายและลักษณะของจริยธรรม

จรรยาบรรณ ตามรากศัพท์ หมายถึง หลักของความประพฤติ ส่วนจริยธรรม หมายถึง ธรรมของการปฏิบัติ จรรยาบรรณจึงเป็นข้อกำหนดทางจริยธรรมของวิชาชีพ เป็นข้อกำหนดทางศีลธรรมหรือจริยธรรมที่สมาชิกในกลุ่มวิชานั้นๆจัดทำขั้น เช่น จรรยาบรรณของแพทย์จรรยาบรรณของสมาคมจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย จรรยาบรรณของนักกีฬาเป็นต้น

แนวคิดที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ

สำหรับแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับจรรยาบรรณมีหลายแนวทาง เช่น

Teleology แนวคิดนี้โดยสรุปว่า การกระทำหรือพฤติกรรมที่ถูกต้องหรือยอมรับได้ ได้แก่การกระทำที่ก่อให้เกิดผลที่พึงปรารถนาและแบ่งการพิจารณาออกเป็นสองทาง ได้แก่ ความสำคัญของปัจเจกบุคคล ความสำคัญต่อกลุ่มบุคคล

Deontology แนวคิดนี้คิดมุ้งเน้นสรุปที่พึงกระทำจากความสำนึกในความผิดชอบชั่วดีของมนุษย์มากกว่าจะสรุปจากผลที่เกิดขึ้นเมื่อได้ทำไปแล้ว

Cultural Relativism เป็นแนวคิดที่พิจารณาข้อสรุปทางจรรยาบรรณของสังคมต่างๆโดยพิจารณาร่วมกับความแตกต่างทางวัฒนธรรม แต่การที่บุคคลจะตัดสินใจในเรื่องของความถูกต้อง ความผิด ความยุติธรรมหรือความไม่ยุติธรรม

Universalism เป็นแนวคิดที่พิจารณาแนวทางปฏิบัติที่จะถือว่าเป็นการไร้จริยธรรมจากการมองสังคมโดยเสมอภาค เช่น บริษัทญี่ปุ่นจะจัดโรงงานอุตสาหกรรมในประเทศไทย อันเนื่องจากประเทศนั้นมีกฎหมายคุ้มครองสิ่งแวดล้อมน้อยกว่าประเทศญี่ปุ่น ทำให้ลดต้นทุนการดำเนินงานได้มากกว่า การกระทำเช่นนี้ย่อมเป็นการไร้จริยธรรม

กระบวนการเสริมจริยธรรม

สำหรับผู้ทำหน้าที่ในการขัดเกลาทางสังคม ซึ่งถือว่าเป็นผู้มีบทบาทและมีความสำคัญในกระบวนการเสริมสร้างจริยธรรมทึ่งกล่าว คือ

1. สถาบันครอบครัว เป็นหน่วยขัดเกลาสำคัญที่สุดเพราะ เพราะบุคคลจะได้รับการอบรมจากครอบครัวอยู่ตลอดเวลา

2. สถาบันการศึกษา เป็นหน่วยขัดเกลาที่เป็นทางการและมีอิทธิพลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพและความเชื่อถือในด้านคุณธรรมและจริยธรรม

3. กลุ่มเพื่อน เป็นอิทธิพลต่อเด็กมาก เพราะ จะช่วยให้เด็กได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ที่ไม่ได้รับจากครอบครัวหรือสถาบันการศึกษา เช่น ความเป็นผู้นำ ความเป็นตัวของตัวเอง

4. สื่อสารมวลชน อันได้ แก่ ทีวี วิทยุ หนังสือพิมพ์ ภาพยนตร์ และเทคโนโลยีที่ทันสมัยสิ่งเหล่านี้สร้างค่านิยม ทัศนคติและการเรียนรู้พฤติกรรมต่างๆ

5. สถาบันทางสังคมและศาสนา เป็นหน่วยที่มีบทบาทต่อการดำรงชีวิตและความใกล้ชิดกับชุมชน ให้การอบรมสั่งสอนทั้งเด็กและผู้ใหญ่ในด้านคุณธรรมและศีลธรรม

ความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ

1. เพื่อความสามารถในการแข่งขัน อดีต CEO. ของบริษัทไอบีเอ็ม ได้เคยกล่าวไว้ว่าถ้าผู้บริหารกิจการไม่มีจริยธรรม กิจการนั้นๆ จะไม่สามารถแข่งขันกับผู้อื่นได้ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ

2. การเพิ่มผลผลิต การใช้จริยธรรมในธุรกิจจะช่วยสร้างผลผลิตให้สูงขึ้น พนักงานมีขวัญและกำลังใจมีความเต็มใจที่จะทำงาน

3. ความสำพันธ์กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จะทำให้กิจการมีความเข็มแข็งและส่งผลกระทบในด้านที่เป็นประโยชน์แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เช่น ทำให้ลูกค้ามีความเชื่อถือศรัทธา เกิดการยอมรับในกานดำเนินงานของกิจการ

4. กฎหมาย ข้อบังคับจากภาครัฐ จะช่วยลดความจำเป็นของภาครัฐในการออกกฎระเบียบ ข้อบังคับที่มากเกินความจำเป็น

5. ธุรกิจที่มีจริยธรรม จะสามารถช่วยป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่ชุมชนและสิ่งแวดล้อม เช่น การไม่ทิ้งของเสียที่เป็นพิษต่อชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม

6. ธุรกิจที่มีจริยธรรม ย่อมก่อให้เกิดความสบายใจ ความสุขในการทำงาน และจะช่วยดึงดูดคนให้เข้ามาทำงานกับบริษัทเพราะโดยปกติคนเรามักชอบที่จะทำงานร่วมกับบริษัทที่มีความถูกต้องชอบธรรมและเป็นที่ยอมรับในสังคม

ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ

1. ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว อันเกิดจากความโลภ กิเลส ความหลงมัวเมาล้วนแต่เป็นสิ่งที่ก่อให้เกิดปัญหาทางจริยธรรมทั้งสิ้น ความโลภ ไม่ซื่อสัตย์ มองเห็นแต่ผลประโยชน์ของตนเอง

2. จุดมุ่งหมายของธุรกิจกับค่านิยมส่วนบุคคล การขัดแย้งทางจริยธรรมมักเกิดขึ้นได้เมื่อธุรกิจมุ่งเน้นจุดมุ่งหมายของกิจการเป็นหลัก มีการดำเนินงานในวิธีทางที่พนักงานบางกลุ่มไม่สามารถรับได้ จึงทำให้พนักงานเหล่านั้นร้องเรียนหรือพยายามต่อต้านนโยบายและวิธีการทำงานของกิจการ

3. แรงกดดันเพื่อได้มาซึ่งผลกำไร จากแรงกดดันในการแข่งขันที่มีความรุ่นแรงและไร้ขอบเขตซึ่งอาจเป็นสาเหตุที่ทำให้ธุรกิจดำการไปในทิศทางที่ขาดจริยธรรมและผิดกฎหมาย เช่น การใช้แรงงานเด็กหรือแรงงานต่างด้าว เพื่อมุ่งลดต้นทุนการผลิตหรือเพื่อให้ได้เปรียบคู่แข็งขัน

4. ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม การส่งสินค้าที่ด้อยคุณภาพไม่ได้มาตรฐาน หรือกากของเสียในทางอุตสาหกรรมไปยังประเทศอื่นที่ยังไม่มีข้อห้ามหรือยังอ่อนด้อยในทางพัฒนา

แนวทางการแก้ไขปัญหาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1. ตั้งคณะกรรมการจริยธรรมหรือเจ้าหน้าที่ทางจริยธรรมเพื่อให้คำปรึกษา แนะนำ แก้ไขปัญหาทางจริยธรรม

2. ใช้วิธีการฝึกอบรมทางจริยธรรม ซึ่งจะเป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยส่งเสริมให้เกิดจริยธรรมในองค์การ โดยอาจเน้นการฝึกอบรมไปที่การสร้างจิตสำนึกในหมู่พนักงานและผู้บริหารให้มีต่อจริยธรรมทางธุรกิจ เพื่อให้ทุกคนมีความสนใจต่อประเด็นปัญหาทางจริยธรรมว่าการกระทำใดที่ผิดจริยธรรมหรือคุณธรรม

3. การให้รางวัลแก่ผู้ปฏิบัติตามจริยธรรม เป็นการให้รางวัลเป็นแรงจูงใจสำคัญที่อาจจะก่อให้เกิดการปฏิบัติ ดังเช่น นิตยสารFobes ได้จัดให้มีการประกาศให้รางวัลแก่องค์การที่มีผลงานดีเด่นทางจริยธรรมประจำปีที่เรียกว่า American Business Awards(ABEA)

4. การจัดให้มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดีหรือบริษัทภิบาล ทั้งนี้ก็เพื่อเป็นการปฏิรูปการบริหารระบบทั้งหมดรวมถึงการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมในการทำงานในองค์การให้มีประสิทธิภาพและมีจริยธรรมในการดำเนินงานที่มากขึ้น

การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม

1. ความรับผิดชอบต่อสุขภาพและสวัสดิภาพของบุคคล

2. ความรับผิดชอบด้านคุณภาพและบริการ

3. ความรับผิดชอบต่อข้อมูลข่าวสาร และการศึกษา

4. ความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม

5. ความรับผิดชอบด้านศาสนาและวัฒนธรรม

6. ความรับผิดชอบด้านสิทธิมนุษย์ชน

นางสาวลลิตา คิดอ่าน เลขที่ 17 การจัดการ 2/1

สรุปบทที่ 8 เรื่อง จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

จริยธรรมทางธุรกิจ คือ การผสมผสานระหว่าเศรษฐกิจและจริยธรรม โดยมีเป้าหมายที่จะส่งเสริมนโยบายและการปฏิบัติของภาคธุรกิจในการสร้างความสำเร็จในการประกอบการอย่างมีความรับผิดชอบ มีความยั่งยืน มีผลในระยะยาว ในขณะเดียวกันก็ช่วยสร้างความสมดุลระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในกิจการนั้น ๆ อันได้แก่ ผู้ลงทุน ลูกจ้าง ลูกค้า ชุมชน ตลอดจนสภาพสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุล

แนวคิดที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ

1. Teleology มุ่งพิจารณาถึงความต้องการของประชาชนในสังคมเป็นสำคัญ เช่น ความสำคัญของปัจเจกบุคคล ( Egoism ) ซึ่งประเมินค่าความถูกต้องหรือพฤติกรรมที่ยอมรับได้จากผลที่จะก่อให้เกิดกับความสำคัญต่อกลุ่มบุคคล

( Utilitarianism )

2. Deontology สิทธิของบุคคลและพฤติกรรมที่แสดงออกของบุคคล โดยมุ่งเน้นสิ่งที่พึงกระทำจากความสำนึกในความผิดชอบชั่วดีของมนุษย์มากกว่าจะสรุปจากผลที่เกิดขึ้นเมื่อได้ทำไปแล้ว

3. Cultural Relativism วัฒนธรรมสังคมที่มีแนวทางการปฏิบัติ โดยพิจารณาจากข้อสรุปทางจรรยาบรรณของสังคมต่าง ๆ โดยพิจารณาร่วมกับความแตกต่างทางวัฒนธรรม

4. Universalism โดยพิจารณาจากแนวทางปฏิบัติที่ถือว่าเป็นการไร้จริยธรรมจากการมองสังคมโดยเสมอภาค ทำให้ลดต้นทุนการดำเนินงานได้มากกว่า การกระทำในลักษณะเช่นนั้นย่อมเป็นการไร้จริยธรรม (Unethical )

กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรมและผู้มีหน้าที่ขัดเกลาทางสังคม

1. สถาบันครอบครัว ถือเป็นหน่วยขัดเกลาสำคัญที่สุด เพราะบุคคลจะได้รับการอบรมจากครอบครัวอยู่ตลอดเวลา และเป็นที่ยอมรับกันว่าการอบรมในวัยเด็กมีความสำคัญมากมีผลต่อการสร้างบุคลิกภาพ อารมณ์ และจิตใจของเด็ก

2. สถาบันการศึกษา ถือเป็นหน่วยขัดเกลาที่เป็นทางการและมีอิทธิพลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพและความเชื่อถือในด้านคุณธรรมและจริยธรรม

3. กลุ่มเพื่อน ถือว่าเป็นหน่วยที่มีอิทธิพลต่อเด็กมาก เพราะจะช่วยให้เด็กได้เรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ ที่ไม่ได้รับจากครอบครัวหรือจากสถาบันการศึกษา

4. สื่อสารมวลชน ได้แก่ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ สิ่งตีพิมพ์ต่าง ๆ สิ่งเหล่านี้สามารถสร้างค่านิยม ความเชื่อ ทัศนคติและการเรียนรู้พฤติกรรมต่าง ๆ

5. สถาบันทางสังคมและศาสนา เป็นหน่วยที่มี่บทบาทมีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตและความใกล้ชิดกับชุมชน ให้การอบรมสั่งสอนทั้งเด็กและผู้ใหญ่ในด้านคุณธรรมและศีลธรรม

ความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ

1. เพื่อความสามารถในการแข่งขัน

2. การเพิ่มผลผลิต

3. ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

4. กฎหมาย ข้อบังคับจากภาครัฐ

5. สามารถช่วยป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่ชุมชนและสิ่งแวดล้อม

6. ก่อให้เกิดความสบายใจ

ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ

1. ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว

2. จุดมุ่งหมายของกิจการเป็นหลัก คือ กำไร

3. การแข่งขันทางธุรกิจที่มุ่งรายได้และกำไรมากเกินไปทำให้มองข้ามคุณธรรมและจริยธรรม

4. ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม

วิกฤติทางด้านจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1. กลุ่มต่าง ๆ เป็นผู้มีส่วนผลักดันทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม

2. ความพยายามสร้างความมั่นคงทางธุรกิจ

3. โลกาภิวัฒน์แพร่กระจายทั่วภูมิภาคแต่ประชากรปรับตัวไม่ทันกับความเปลี่ยนแปลง

4. ค่านิยมของคนเน้นวัตถุมากยิ่งขึ้น

5. ค่านิยมเอเชียเน้นการทำงานมากขึ้น

แนวทางการแก้ไขปัญหาจริยธรรมองค์การธุรกิจ

1. ตั้งคณะกรรมการจริยธรรม หรือเจ้าหน้าที่ทางจริยธรรม เพื่อให้คำปรึกษา แนะนำ แก้ไขปัญหาทางจริยธรรม

2. ใช้วิธีการฝึกอบรมจริยธรรมทางจริยธรรม

3. การให้รางวัลแก้ผู้ปฏิบัติตามจริยธรรมและหน่วยงานต่าง ๆ

4. การจัดให้มีระบบกำกับดูแลกิจการที่ดีหรือบรรษัทภิบาล

การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม ในด้านต่าง ๆ ได้แก่

1. ความรับผิดชอบต่อสุขภาพและสวัสดิภาพของบุคคล

2. ความรับผิดชอบต่อคุณภาพและบริการ

3. ความรับผิดชอบต่อข้อมูลข่าวสาร และการศึกษา

4. ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม

5. ความรับผิดชอบต่อศาสนาและวัฒนธรรม

6. ความรับผิดชอบต่อสิทธิมนุษยชน

ระดับความรักผิดชอบ

1. Economic responsibility = การใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดและเกิดประโยชน์สูงสุด

2. Legal responsibility = การทำตามกฎหมาย

3. Ethical responsibility = จริยธรรมของธุรกิจซึ่งเริ่มจากตัวบุคคล

4. Discretionary responsibility = การรับผิดชอบต่อสังคมโดยผู้บริหารสูงสุดทำด้วย จิตสำนึกจริง ๆ

5. ระดับความรับผิดชอบต่อสังคมทั้งหมด = ภาพรวมในระดับทั่วโลก

4 E

Education = การศึกษา

Environment = สิ่งแวดล้อม

Energy Conservation = การอนุรักษ์พลังงาน

Employ Engagement = การส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วมในสังคม

น.ส.รัชดาภรณ์ ตื้อยศ กจ. 2/1 เลขที่ 16

สรุปบทที่ 8 เรื่อง จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

ความหมายและลักษณะของจริยธรรม

ธรรมของการปฏิบัติ ความประพฤติความดีงาม จรรยาบรรณจึงเป็นข้อกำหนดทางจริยธรรมของวิชาชีพ เป็นข้อกำหนดทางศีลธรรมหรือจริยธรรมที่สมาชิกในกลุ่มวิชาชีพนั้นๆ จัดทำขึ้น เช่น จรรยาบรรณของแพทย์ จรรยาบรรณของแพทย์ จรรยาบรรณของสมาคมจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย จรรยาบรรณของนักกีฬา

ลักษณะของจริยธรรมทำให้มองเห็นถึงความสำคัญและความจำเป็นต่อการบริหารจัดการของผู้บริหารยุคใหม่ ที่จะต้องบริหารงานอย่าง รอบคอบและเป็นไปในทางสร้างสรรค์ เพื่อมิให้เกิดการแสวงหาประโยชน์มากเกินไป ซึ่งจำนำไปสู่ผลกระทบที่เสียหาย รุนแรงต่อกลุ่มต่างๆ อย่างกว้างขวางได้โดยง่าย ดังนั้น การดำเนินธุรกิจในยุคใหม่จึงจำเป็นต้องมีการกำหนดบทบัญญัติของการปฏิบัติที่มีจริยธรรมที่ดีสำหรับผู้บริหาร

แนวคิดที่เกี่ยวกับกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ

จรรยาบรรณเป็นสิ่งที่สังคมแต่ละแหล่งกำหนดขึ้นทั้งที่ปรากฏชัดเจนหรือเป็นธรรมเนียมปฏิบัติต่อเนื่องกันมานานโดยไม่มีการเขียนเป็นลายลักษณ์อักษร ปรัชญาทางจรรยาบรรณ (Moral Philosophy) สำหรับแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับจรรยาบรรณมีหลายแนวทาง เช่น

1. Teleology แนวคิดนี้มุ่งพิจารณาถึงความต้องการของประชาชนในสังคมเป็นสำคัญโดยสรุปว่าการกระทำหรือพฤติกรรมที่ถูกต้องหรือยอมรับได้ ได้แก่ การกระทำที่ก่อให้ผลที่พึงปรารถนาและแบ่งการพิจารณาออกเป็นสองทาง ได้แก่ ความสำคัญของปัจเจกบุคคล (Egoism)

2. Deontology เป็นแนวคิดที่มุ่งเน้นสรุปสิ่งที่พึงกระทำจากความสำนึกในความผิดชอบชั่วดีของมนุษย์มากกว่าจะสรุปผลจากผลที่เกิดขึ้นเมื่อได้ทำไปแล้ว ดังนั้น Deontology จึงเป็นแนวคิดที่คำนึงถึงสิทธิส่วนบุคคลและพฤติกรรมการแสดงออกมากกว่าจะคำนึงถึงผลที่เกิดขึ้น

3. Cultural Relativism เป็นแนวคิดที่พิจารณาข้อสรุปทางจรรยาบรรณของสังคมต่างๆ โดยพิจารณาร่วมกับความแตกต่างทางวัฒนธรรม แต่การที่บุคคลจะตัดสินใจในเรื่องของความถูกต้อง ความผิด ความยุติธรรมหรือความไม่ยุติธรรม อาจมีความหมายที่แตกต่างกันได้เนื่องจากทัศนคติของคนที่มาจากวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน สิ่งที่จะเห็นได้ชัด ได้แก่ ประชาชนที่มีศาสนาหรือลัทธิความเชื่อที่แตกต่างกันจะมีข้อสรุปในเรื่องที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณแตกต่างกันในหลายเรื่อง

4. Universalism เป็นแนวคิดที่พิจารณาแนวทางปฏิบัติที่จะถือว่าเป็นการไร้จริยธรรมจากการมองสังคมโดยเสมอภาค เช่น หากบริษัทญี่ปุ่นที่จะจัดตั้งโรงงามอุตสาหกรรมในประเทศอื่นเนื่องจากประเทศนั้นมีกฎหมายคุ้มครองสิ่งแวดล้อมน้อยกว่าในประเทศญี่ปุ่น ทำให้ลดต้นทุนการดำเนินงานได้มากกว่า การกระทำในลักษณะเช่นนั้นย่อมเป็นการไร้จริยธรรม (Unethical)

กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม

การขัดเกลาทางสังคม เป็นกระบวนการที่คนทุกคนต้องกระสบมาตั้งแต่เด็กจนถึงผู้ใหญ่เพื่อการเรียนรู้และดูดซับค่านิยม กฎเกณฑ์ ระเบียบแบบแผนของสังคม จุดมุ่งหมายก็เพื่อให้สมาชิกในสังคมได้เกิดการเรียนรู้และสามารถปฏิบัติตามบรรทัดฐานของสังคม สามารถที่จะเลือกว่าอะไรควรปฏิบัติไม่ควรปฏิบัติ อะไรเป็นข้อห้ามของสังคม สำหรับผู้ทำหน้าที่ในการขัดเกลาทางสังคมซึ่งถือว่าเป็นผู้มีบทบาทและมีความสำคัญในกระบวนการเสริมสร้างจริยธรรมที่พึงจะกล่าวถึง คือ

1. สถาบันครอบครัว เป็นหน่วยขัดเกลาสำคัญที่สุด เป็นผู้ขัดเกลาเบื้องต้น ครอบครัวเป็นหน่วยที่ใกล้ชิด อบรมสั่งสอน ถ่ายทอดวัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อ แบบแผนทางศีลธรรมและจริยธรรม

2. สถาบันการศึกษา เป็นหน่วยขัดเกลาที่เป็นทางการและมีอิทธิพลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพและความเชื่อถือในด้านคุณธรรมและจริยธรรม

3. กลุ่มเพื่อน เช่น ความเป็นตัวของตัวเอง ความเป็นผู้นำ การรู้จักเอาตัวรอด การอยู่ร่วมกันในสังคม และบางทีอาจได้รับค่านิยมหรือความเชื่อทางศีลธรรมหรือจริยธรรมที่แตกต่างกันไป

4. สื่อสารมวลชน ได้แก่ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ สิ่งตีพิมพ์ต่างๆ Internet เป็นหน่วยที่มีความสำคัญในการปลูกฝังวัฒนธรรมใหม่ๆ ให้แก่เด็กและเยาวชนได้

5. สถาบันทางสังคมและศาสนา ให้การอบรมสั่งสอนทั้งเด็กและผู้ใหญ่ในด้านคุณธรรมและศีลธรรมการขัดเกลาทางสังคมนี่ได้แก่ การเรียนรู้บรรทัดฐานใหม่ของคนในสังคม ดังนั้น ทำให้บุคคลมีพฤติกรรม บุคลิกภาพ ที่แตกต่างกันไปจากที่เคยเรียนรู้

ความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ

จริยธรรมในการบริหารธุรกิจ (Business Ethics) เป็นการนำเอาหลักจริยธรรมและคุณธรรมมาใช้ในการบริหารจัดการธุรกิจ อะไรที่สังคมถือว่าไม่ถูกต้อง เช่น การทุจริต อะไรที่ผิดในด้านจริยธรรม เมื่อนำมาใช้ในธุรกิจ ผู้ที่อยู่ในวงธุรกิจจะต้องผูกพันอยู่กับหลักจริยธรรมอันเดียวกับที่สังคมยอมรับด้วย

1. เพื่อความสามารถในการแข่งขัน จะอยู่ที่การตรงไปตรงมาและการต่อรองที่ยุติธรรมโดยปราศจากการคิดคดทรยศ หักหลัง ฉ้อโกง การไม่ไว้ใจซึ่งกันและกัน ตลอดจนการพิพาทเล็กๆน้อยๆ และจบลงด้วยการฟ้องร้องกันในชั้นศาล

2. การเพิ่มผลผลิต พนักจะมีขวัญกำลังใจมีความเต็มใจ กระตือรือร้นในการทำงาน มีความจงรักภักดีทุ่มเทแรงกายแรงใจต่อกิจการ อันมีผลโดยตรงต่อการเพิ่มผลผลิตของกิจการ คุณภาพ การส่งมอบ

3. ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย ทำให้ลูกค้ามีความเชื่อถือศรัทธา เกิดการยอมรับในการดำเนินงานของกิจการ ซึ่งจะก่อให้เกิดความมั่นคงและมีความสามารถที่จะดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพในระยะยาวได้

4. กฎหมาย ข้อบังคับจากภาครัฐ จะช่วยลดความจำเป็นของภาครัฐในการออกกฎระเบียบ ข้อบังคับที่มากเกินความจำเป็น ซึ่งอาจจะมีผลกระทบต่อความคล่องตัวในการบริหารงานได้

5. ธุรกิจที่มีจริยธรรม จะสามารถช่วยป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่ชุมชนและสิ่งแวดล้อม เช่น การไม่ทิ้งของเสียที่เป็นพิษต่อชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม

6. ธุรกิจที่มีจริยธรรม ย่อมก่อให้เกิดความสบายใจ ความสุขในการทำงาน และจะช่วยดึงดูดให้คนเข้ามาทำงานกับบริษัท

การพัฒนาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

การพัฒนาจริยธรรมในการทำงานภายในองค์การต่างๆ นั้น ผู้บริหารไม่ควรที่จะทำการพัฒนาด้านบุคคลเพียงอย่างเดียว ซึ่งการพัฒนาจริยธรรมในระบบขององค์การให้ได้รับความสำเร็จนั้นขึ้นอยู่กับองค์ประกอบที่สำคัญต่างๆ ดังนี้

1. อำนาจอันชอบธรรม

2. ความเชื่อมั่น

3. ความพร้อมที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง

4. การวางแผนพัฒนาที่ดี

5. ผลประโยชน์ร่วม

6. การปฏิบัติที่สม่ำเสมอ

7. การควบคุมอย่างต่อเนื่อง

ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ

1. ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว

2. จุดมุ่งหมายของธุรกิจกับค่านิยมส่วนบุคคล

3. แรงกดดันเพื่อให้ได้มาซึ่งผลกำไร

4. ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม

วิกฤติทางด้านจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

ผู้ที่มีความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจย่อมเอารัดเอาเปรียบผู้ที่อ่อนแอกว่า สำหรับวิกฤติเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นทั่วภูมิภาคเอเชียรวมถึงประเทศไทยด้วยนั้น ก็เป็นผลมาจากกระแสโลกาภิวัตน์ที่แพร่เข้ามาอย่างรวดเร็ว โดยมิได้ระวังหรือมีความพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว เช่น การปล่อยเสรีทางด้านอัตราการแลกเปลี่ยนเงินตราสกุลต่างๆ รวมถึงการทะลักของเงินทุนขนาดใหญ่จากต่างประเทศ และที่สำคัญก็คือการเปิดตลาดเสรีทางด้านการค้าระหว่างประเทศ จึงเปิดโอกาสให้นักลงทุนที่ขาดคุณธรรมและไร้จริยธรรมแสวงหาผลประโยชน์บนความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ จากบรรดาประเทศที่อ่อนด้อยกว่า

แนวทางการแก้ไขปัญหาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1. ตั้งคณะกรรมการจริยธรรม

2. ใช้วิธีการฝึกอบรมทางจริยธรรม

3. การให้รางวัลแก่ผู้ที่ปฏิบัติตามจริยธรรม

4. การจัดให้มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดีหรือบรรษัทภิบาล

การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม

1. ความรับผิดชอบต่อสุขภาพและสวัสดิภาพของบุคคล

2. ความรับผิดชอบด้านคุณภาพและบริการ

3. ความรับผิดชอบต่อข้อมูลข่าวสาร และการศึกษา

4. ความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม

5. ความรับผิดชอบด้านศาสนาและวัฒนธรรม

6. ความรับผิดชอบด้านสิทธิมนุษยชน

ความรับผิดชอบต่อสังคมสำหรับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

1. ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลัก (Primary Stakeholders) ได้แก่ ผู้ที่มีปฏิสัมพันธ์ในการดำเนินงานโดยตรงกับองค์กร มีส่วนเกี่ยวข้องกับความเสี่ยงและผลประโยชน์ขององค์กร และส่วนใหญ่พึ่งพาองค์กร

2. ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียรอง (Secondary Stakeholders) ได้แก่ ผู้รับผลกระทบจากนโยบายหรือการดำเนินงานขององค์กร รวมทั้งผู้สร้างและผู้รับผลกระทบต่อนโยบายหรือการดำเนินงานขององค์กร

แนวปฏิบัติในการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม

1. เคารพกฎหมาย

2. พูดแต่ความจริง

3. ทำในสิ่งที่ถูกต้องเท่านั้น

4. เคารพผู้อื่น

5. ไม่ทำร้ายหรือทำให้ผู้อื่นได้รับอันตราย

6. สร้างการมีส่วนร่วม

7. ดำเนินการตามความรับผิดชอบที่มีอยู่อย่างเต็มที่

จรรยาบรรณ

1. จรรยาบรรณของสมาชิกสมาคมบริษัทหลักทรัพย์

1.1. สมาชิกต้องประกอบธุรกิจด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต

1.2. สมาชิกต้องปฏิบัติต่อลูกค้าอย่างเป็นธรรม

1.3. สมาชิกต้องเปิดเผยให้ลูกค้าทราบ

1.4. ห้ามมิให้สมาชิกเปิดเผยข้อมูลของลูกค้าที่ตนได้ล่วงรู้มา

1.5. ห้ามมิให้สมาชิกช่วยเหลือหรือสนับสนุนการกระทำอันเป็นความผิดตามกฎหมาย

ระดับความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจ

1. Economic responsibility

2. Legal responsibility

3. Ethical responsibility

4. Discretionary responsibility

5. ระดับความรับผิดชอบต่อสังคมทั้งหมด

4 E

1. Education - การศึกษา

2. Environment - สิ่งแวดล้อม

3. Energy Conservation - การอนุรักษ์พลังงาน

4. Employee Engagement - การส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วมในสังคม

นางสาวเกศิณี นิลกำแหง กจ.2/1 เลขที่ 2

สรุปบทที่  8

จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

ความหมายของจริยธรรมทางธุรกิจ

ธุรกิจ       หมายถึง        บุคคล นิติบุคคล หรือองค์กรอื่นที่ดำเนินกิจการผลิตสินค้าหรือบริการเพื่อให้มีผลตอบแทนจากการลงทุนที่มีกำไรมากที่สุด

จริยธรรมทางธุรกิจ  หมายถึง  มาตรฐานสินค้าหรือบริการที่ผู้ผลิต ผู้จำหน่าย หรือผู้เกี่ยวข้องกับผลิตสินค้า หรือบริการ ประพฤติและปฏิบัติต่อลูกค้า ผู้บริโภค ผู้ร่วมหุ้นลงทุน คู่ค้า หรือบุคคลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างตรงไปตรงมา มีความยุติธรรมและไม่เบียดเบียนกัน ถือเป็นความดีความงามที่สังคมยอมรับได้

แนวคิดที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ

สำหรับแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับจรรยาบรรณมีหลายแนวทาง  เช่น

(1)  Teleology แนวคิดนี้มุ่งพิจารณาถึงความต้องการของประชาชนในสังคมเป็นสำคัญ

(2)  Deontology  เป็นแนวคิดที่คำนึงถึงสิทธิส่วนบุคคลและพฤติกรรมการแสดงออกมากมว่าจะคำนึงถึงผลที่เกิดขึ้นสำหรับในองค์การธุรกิจแล้ว

(3)  Cultural Relativism  เป็นแนวคิดที่พิจารณาข้อสรุปทางจรรยาบรรณของสังคมต่างๆ

(4)  Universalism  เป็นแนวคิดที่พิจารณาแนวทางปฏิบัติที่จะถือว่าเป็นการไร้จริยธรรมจากการมองสังคมโดยเสมอภาค

กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม

สำหรับผู้ทำหน้าที่ในการขัดเกลาทางสังคม ซึ่งถือว่าเป็นผู้ที่มีบทบาทและมีความสำคัญในกระบวนการเสริมสร้างจริยธรรมที่พึงจะกล่าวถึง คือ

(1)   สถาบันครอบครัว  เป็นหน่วยขัดเกลาสำคัญที่สุด เป็นผู้ขัดเกลาเบื้องต้น ครอบครัวเป็นหน่วยที่ใกล้ชิด อบรมสั่งสอนถ่ายทอดวัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อ แบบแผนทางศีลธรรมและจริยธรรม
(2)   สถาบันการศึกษา  มีอิทธิพลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพและความเชื่อถือในด้านคุณธรรมและจริยธรรม
(3)  กลุ่มเพื่อน   การอยู่ร่วมกันในสังคม และบางทีอาจได้รับค่านิยมหรือความเชื่อทางศีลธรรมหรือจริยธรรมที่แตกต่างกันไป
(4)  สื่อสารมวลชน ได้แก่ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ สิ่งตีพิมพ์ต่างๆ Internet เป็นหน่วยที่มีความสำคัญในการปลูกฝังวัฒนธรรมใหม่ๆ ให้แก่เด็กและเยาวชนได้
(5 )  สถาบันทางสังคมและศาสนา ให้การอบรมสั่งสอนทั้งเด็กและผู้ใหญ่ในด้านคุณธรรมและศีลธรรม
                                                ความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ
                จริยธรรมในการบริหารธุรกิจ (Business Ethics) เป็นการนำเอาหลักจริยธรรมและคุณธรรมมาใช้ในการบริหารจัดการธุรกิจ
(1)   เพื่อความสามารถในการแข่งขัน จะอยู่ที่การตรงไปตรงมาและการต่อรองที่ยุติธรรม

(2) การเพิ่มผลผลิต
(3)  ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย

(4)   กฎหมาย ข้อบังคับจากภาครัฐ จะช่วยลดความจำเป็นของภาครัฐในการออกกฎระเบียบ
(5)  ธุรกิจที่มีจริยธรรม จะสามารถช่วยป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่ชุมชนและสิ่งแวดล้อม เช่น การไม่ทิ้งของเสียที่เป็นพิษต่อชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม
(6)  ธุรกิจที่มีจริยธรรม ย่อมก่อให้เกิดความสบายใจ ความสุขในการทำงาน และจะช่วยดึงดูดให้คนเข้ามาทำงานกับบริษัท
                                                                การพัฒนาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ
                ซึ่งการพัฒนาจริยธรรมในระบบขององค์การให้ได้รับความสำเร็จนั้นขึ้นอยู่กับองค์ประกอบที่สำคัญต่างๆ ดังนี้
(1)  อำนาจอันชอบธรรม
(2)  ความเชื่อมั่น
(3)  ความพร้อมที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง
(4)  การวางแผนพัฒนาที่ดี
(5)  ผลประโยชน์ร่วม
(6)  การปฏิบัติที่สม่ำเสมอ
(7)  การควบคุมอย่างต่อเนื่อง
                                                                                ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ
(1)  ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว
(2)  จุดมุ่งหมายของธุรกิจกับค่านิยมส่วนบุคคล
(3)  แรงกดดันเพื่อให้ได้มาซึ่งผลกำไร
(4)  ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม
                                                                วิกฤติทางด้านจริยธรรมในองค์การธุรกิจ
(1)  มนุษย์ ซึ่งล้วนเป็นผู้มีส่วนผลักดับให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นในสังคม
(2)  ความมั่งคั่งก็ยิ่งได้รับความสนใจมากยิ่งขึ้นในเชิงเศรษฐกิจระบบทุนนิยม
(3)  ธุรกิจระหว่างประเทศมีบทบาทสำคัญมากต่อระบบการค้าและระบบเศรษฐกิจของโลก
(4)  ด้านวัตถุนิยมและการบริโภคนิยมได้ขยายตัวอย่างกว้างขวาง
                                                    แนวทางการแก้ไขปัญหาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ
(1)  ตั้งคณะกรรมการจริยธรรม (Ethics  Committee)
(2)  ใช้วิธีการฝึกอบรมทางจริยธรรม
(3)  การให้รางวัลแก่ผู้ที่ปฏิบัติตามจริยธรรม
(4)   การจัดให้มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดีหรือบรรษัทภิบาล (Good  Corporate)
                                                                การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม
(1)  ความรับผิดชอบต่อสุขภาพและสวัสดิภาพของบุคคล
(2)  ความรับผิดชอบด้านคุณภาพและบริการ
(3)  ความรับผิดชอบต่อข้อมูลข่าวสาร และการศึกษา
(4)  ความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม
(5)  ความรับผิดชอบด้านศาสนาและวัฒนธรรม
(6)  ความรับผิดชอบด้านสิทธิมนุษยชน
                                                ความรับผิดชอบต่อสังคมสำหรับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
                ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลัก (Primary Stakeholders) ได้แก่ ผู้ที่มีปฏิสัมพันธ์ในการดำเนินงานโดยตรงกับองค์กร มีส่วนเกี่ยวข้องกับความเสี่ยงและผลประโยชน์ขององค์กร และส่วนใหญ่พึ่งพาองค์กร
                ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียรอง (Secondary Stakeholders) ได้แก่ ผู้รับผลกระทบจากนโยบายหรือการดำเนินงานขององค์กร รวมทั้งผู้สร้างและผู้รับผลกระทบต่อนโยบายหรือการดำเนินงานขององค์
                                                แนวปฏิบัติในการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม
(1)  เคารพกฎหมาย  คือ ความรับผิดชอบต่อกฎหมาย
(2)  พูดแต่ความจริง รวมถึงการไม่มีเจตนาบิดเบือน หลอกลวง
(3)  ทำในสิ่งที่ถูกต้องเท่านั้น
(4)  เคารพผู้อื่น โดยแสดงความเคารพต่อการกระทำ ความคิดและความเห็นของผู้อื่น
(5)  ไม่ทำร้ายหรือทำให้ผู้อื่นได้รับอันตราย
(6)  สร้างการมีส่วนร่วม เปิดโอกาสให้ผู้อื่นได้แสดงความคิดเห็น
(7)  ดำเนินการตามความรับผิดชอบที่มีอยู่อย่างเต็มที่
                                                                                จรรยาบรรณ
                จรรยาบรรณถือเป็นการแสดงความรับผิดชอบระดับจริยธรรมซึ่งสูงกว่าระดับกฎหมาย จรรยาบรรณจึงแตกต่างจากกฎหมายตรงที่กฎหมายเป็นการร่างขึ้นเพื่อใช้บังคับทุกคนในสังคม              
                                          จรรยาบรรณของสมาชิกสมาคมบริษัทหลักทรัพย์

(1)  สมาชิกต้องประกอบธุรกิจด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต
(2)  สมาชิกต้องปฏิบัติต่อลูกค้าอย่างเป็นธรรม
(3)  สมาชิกต้องเปิดเผยให้ลูกค้าทราบ
(4)  ห้ามมิให้สมาชิกเปิดเผยข้อมูลของลูกค้าที่ตนได้ล่วงรู้มา
(5)  ห้ามมิให้สมาชิกช่วยเหลือหรือสนับสนุนการกระทำอันเป็นความผิดตามกฎหมาย
                                                ระดับความรับผิดชอบต่อสังคม ภาพรวมทั้งหมด

4 E
(1)  Education - การศึกษา
(2)  Environment - สิ่งแวดล้อม
(3)  Energy Conservation - การอนุรักษ์พลังงาน
(
4)  Employee Engagement - การส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วมในสังคม

 

 

 

 

สรุปบทที่  8

จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

ความหมายของจริยธรรมทางธุรกิจ

ธุรกิจ       หมายถึง        บุคคล นิติบุคคล หรือองค์กรอื่นที่ดำเนินกิจการผลิตสินค้าหรือบริการเพื่อให้มีผลตอบแทนจากการลงทุนที่มีกำไรมากที่สุด

จริยธรรมทางธุรกิจ  หมายถึง  มาตรฐานสินค้าหรือบริการที่ผู้ผลิต ผู้จำหน่าย หรือผู้เกี่ยวข้องกับผลิตสินค้า หรือบริการ ประพฤติและปฏิบัติต่อลูกค้า ผู้บริโภค ผู้ร่วมหุ้นลงทุน คู่ค้า หรือบุคคลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างตรงไปตรงมา มีความยุติธรรมและไม่เบียดเบียนกัน ถือเป็นความดีความงามที่สังคมยอมรับได้

แนวคิดที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ

สำหรับแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับจรรยาบรรณมีหลายแนวทาง  เช่น

(1)  Teleology แนวคิดนี้มุ่งพิจารณาถึงความต้องการของประชาชนในสังคมเป็นสำคัญ

(2)  Deontology  เป็นแนวคิดที่คำนึงถึงสิทธิส่วนบุคคลและพฤติกรรมการแสดงออกมากมว่าจะคำนึงถึงผลที่เกิดขึ้นสำหรับในองค์การธุรกิจแล้ว

(3)  Cultural Relativism  เป็นแนวคิดที่พิจารณาข้อสรุปทางจรรยาบรรณของสังคมต่างๆ

(4)  Universalism  เป็นแนวคิดที่พิจารณาแนวทางปฏิบัติที่จะถือว่าเป็นการไร้จริยธรรมจากการมองสังคมโดยเสมอภาค

กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม

สำหรับผู้ทำหน้าที่ในการขัดเกลาทางสังคม ซึ่งถือว่าเป็นผู้ที่มีบทบาทและมีความสำคัญในกระบวนการเสริมสร้างจริยธรรมที่พึงจะกล่าวถึง คือ

(1)   สถาบันครอบครัว  เป็นหน่วยขัดเกลาสำคัญที่สุด เป็นผู้ขัดเกลาเบื้องต้น ครอบครัวเป็นหน่วยที่ใกล้ชิด อบรมสั่งสอนถ่ายทอดวัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อ แบบแผนทางศีลธรรมและจริยธรรม
(2)   สถาบันการศึกษา  มีอิทธิพลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพและความเชื่อถือในด้านคุณธรรมและจริยธรรม
(3)  กลุ่มเพื่อน   การอยู่ร่วมกันในสังคม และบางทีอาจได้รับค่านิยมหรือความเชื่อทางศีลธรรมหรือจริยธรรมที่แตกต่างกันไป
(4)  สื่อสารมวลชน ได้แก่ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ สิ่งตีพิมพ์ต่างๆ Internet เป็นหน่วยที่มีความสำคัญในการปลูกฝังวัฒนธรรมใหม่ๆ ให้แก่เด็กและเยาวชนได้
(5 )  สถาบันทางสังคมและศาสนา ให้การอบรมสั่งสอนทั้งเด็กและผู้ใหญ่ในด้านคุณธรรมและศีลธรรม
                                                ความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ
                จริยธรรมในการบริหารธุรกิจ (
Business Ethics) เป็นการนำเอาหลักจริยธรรมและคุณธรรมมาใช้ในการบริหารจัดการธุรกิจ
(1)   เพื่อความสามารถในการแข่งขัน จะอยู่ที่การตรงไปตรงมาและการต่อรองที่ยุติธรรม

(2) การเพิ่มผลผลิต
(3)  ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย

(4)   กฎหมาย ข้อบังคับจากภาครัฐ จะช่วยลดความจำเป็นของภาครัฐในการออกกฎระเบียบ
(5)  ธุรกิจที่มีจริยธรรม จะสามารถช่วยป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่ชุมชนและสิ่งแวดล้อม เช่น การไม่ทิ้งของเสียที่เป็นพิษต่อชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม
(6)  ธุรกิจที่มีจริยธรรม ย่อมก่อให้เกิดความสบายใจ ความสุขในการทำงาน และจะช่วยดึงดูดให้คนเข้ามาทำงานกับบริษัท
                                                                การพัฒนาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ
                ซึ่งการพัฒนาจริยธรรมในระบบขององค์การให้ได้รับความสำเร็จนั้นขึ้นอยู่กับองค์ประกอบที่สำคัญต่างๆ ดังนี้

(1)  อำนาจอันชอบธรรม
(2)  ความเชื่อมั่น
(3)  ความพร้อมที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง
(4)  การวางแผนพัฒนาที่ดี
(5)  ผลประโยชน์ร่วม
(6)  การปฏิบัติที่สม่ำเสมอ
(7)  การควบคุมอย่างต่อเนื่อง
                                                                                ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ

(1)  ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว
(2)  จุดมุ่งหมายของธุรกิจกับค่านิยมส่วนบุคคล
(3)  แรงกดดันเพื่อให้ได้มาซึ่งผลกำไร
(4)  ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม
                                                                วิกฤติทางด้านจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

(1)  มนุษย์ ซึ่งล้วนเป็นผู้มีส่วนผลักดับให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นในสังคม
(2)  ความมั่งคั่งก็ยิ่งได้รับความสนใจมากยิ่งขึ้นในเชิงเศรษฐกิจระบบทุนนิยม
(3)  ธุรกิจระหว่างประเทศมีบทบาทสำคัญมากต่อระบบการค้าและระบบเศรษฐกิจของโลก
(4)  ด้านวัตถุนิยมและการบริโภคนิยมได้ขยายตัวอย่างกว้างขวาง
                                                    แนวทางการแก้ไขปัญหาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ
(1)  ตั้งคณะกรรมการจริยธรรม (Ethics  Committee)
(2)  ใช้วิธีการฝึกอบรมทางจริยธรรม
(3)  การให้รางวัลแก่ผู้ที่ปฏิบัติตามจริยธรรม
(4)   การจัดให้มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดีหรือบรรษัทภิบาล (Good  Corporate)
                                                                การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม

(1)  ความรับผิดชอบต่อสุขภาพและสวัสดิภาพของบุคคล
(2)  ความรับผิดชอบด้านคุณภาพและบริการ
(3)  ความรับผิดชอบต่อข้อมูลข่าวสาร และการศึกษา
(4)  ความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม
(5)  ความรับผิดชอบด้านศาสนาและวัฒนธรรม
(6)  ความรับผิดชอบด้านสิทธิมนุษยชน
                                                ความรับผิดชอบต่อสังคมสำหรับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

                ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลัก (Primary Stakeholders) ได้แก่ ผู้ที่มีปฏิสัมพันธ์ในการดำเนินงานโดยตรงกับองค์กร มีส่วนเกี่ยวข้องกับความเสี่ยงและผลประโยชน์ขององค์กร และส่วนใหญ่พึ่งพาองค์กร
                ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียรอง (Secondary Stakeholders) ได้แก่ ผู้รับผลกระทบจากนโยบายหรือการดำเนินงานขององค์กร รวมทั้งผู้สร้างและผู้รับผลกระทบต่อนโยบายหรือการดำเนินงานขององค์
                                                แนวปฏิบัติในการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม

(1)  เคารพกฎหมาย  คือ ความรับผิดชอบต่อกฎหมาย
(2)  พูดแต่ความจริง รวมถึงการไม่มีเจตนาบิดเบือน หลอกลวง
(3)  ทำในสิ่งที่ถูกต้องเท่านั้น
(4)  เคารพผู้อื่น โดยแสดงความเคารพต่อการกระทำ ความคิดและความเห็นของผู้อื่น
(5)  ไม่ทำร้ายหรือทำให้ผู้อื่นได้รับอันตราย
(6)  สร้างการมีส่วนร่วม เปิดโอกาสให้ผู้อื่นได้แสดงความคิดเห็น
(7)  ดำเนินการตามความรับผิดชอบที่มีอยู่อย่างเต็มที่
                                                                                จรรยาบรรณ
                จรรยาบรรณถือเป็นการแสดงความรับผิดชอบระดับจริยธรรมซึ่งสูงกว่าระดับกฎหมาย จรรยาบรรณจึงแตกต่างจากกฎหมายตรงที่กฎหมายเป็นการร่างขึ้นเพื่อใช้บังคับทุกคนในสังคม              
                                          จรรยาบรรณของสมาชิกสมาคมบริษัทหลักทรัพย์

(1)  สมาชิกต้องประกอบธุรกิจด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต
(2)  สมาชิกต้องปฏิบัติต่อลูกค้าอย่างเป็นธรรม
(3)  สมาชิกต้องเปิดเผยให้ลูกค้าทราบ
(4)  ห้ามมิให้สมาชิกเปิดเผยข้อมูลของลูกค้าที่ตนได้ล่วงรู้มา
(5)  ห้ามมิให้สมาชิกช่วยเหลือหรือสนับสนุนการกระทำอันเป็นความผิดตามกฎหมาย
                                                ระดับความรับผิดชอบต่อสังคม ภาพรวมทั้งหมด

4 E
(1)  Education – การศึกษา
(2)  Environment – สิ่งแวดล้อม
(3)  Energy Conservation – การอนุรักษ์พลังงาน
(
4)  Employee Engagement - การส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วมในสังคม

 

 

 

สรุปบทที่  8

จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

ความหมายของจริยธรรมทางธุรกิจ

ธุรกิจ       หมายถึง        บุคคล นิติบุคคล หรือองค์กรอื่นที่ดำเนินกิจการผลิตสินค้าหรือบริการเพื่อให้มีผลตอบแทนจากการลงทุนที่มีกำไรมากที่สุด

จริยธรรมทางธุรกิจ  หมายถึง  มาตรฐานสินค้าหรือบริการที่ผู้ผลิต ผู้จำหน่าย หรือผู้เกี่ยวข้องกับผลิตสินค้า หรือบริการ ประพฤติและปฏิบัติต่อลูกค้า ผู้บริโภค ผู้ร่วมหุ้นลงทุน คู่ค้า หรือบุคคลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างตรงไปตรงมา มีความยุติธรรมและไม่เบียดเบียนกัน ถือเป็นความดีความงามที่สังคมยอมรับได้

แนวคิดที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ

สำหรับแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับจรรยาบรรณมีหลายแนวทาง  เช่น

(1)  Teleology แนวคิดนี้มุ่งพิจารณาถึงความต้องการของประชาชนในสังคมเป็นสำคัญ

(2)  Deontology  เป็นแนวคิดที่คำนึงถึงสิทธิส่วนบุคคลและพฤติกรรมการแสดงออกมากมว่าจะคำนึงถึงผลที่เกิดขึ้นสำหรับในองค์การธุรกิจแล้ว

(3)  Cultural Relativism  เป็นแนวคิดที่พิจารณาข้อสรุปทางจรรยาบรรณของสังคมต่างๆ

(4)  Universalism  เป็นแนวคิดที่พิจารณาแนวทางปฏิบัติที่จะถือว่าเป็นการไร้จริยธรรมจากการมองสังคมโดยเสมอภาค

กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม

สำหรับผู้ทำหน้าที่ในการขัดเกลาทางสังคม ซึ่งถือว่าเป็นผู้ที่มีบทบาทและมีความสำคัญในกระบวนการเสริมสร้างจริยธรรมที่พึงจะกล่าวถึง คือ

(1)   สถาบันครอบครัว  เป็นหน่วยขัดเกลาสำคัญที่สุด เป็นผู้ขัดเกลาเบื้องต้น ครอบครัวเป็นหน่วยที่ใกล้ชิด อบรมสั่งสอนถ่ายทอดวัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อ แบบแผนทางศีลธรรมและจริยธรรม
(2)   สถาบันการศึกษา  มีอิทธิพลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพและความเชื่อถือในด้านคุณธรรมและจริยธรรม
(3)  กลุ่มเพื่อน   การอยู่ร่วมกันในสังคม และบางทีอาจได้รับค่านิยมหรือความเชื่อทางศีลธรรมหรือจริยธรรมที่แตกต่างกันไป
(4)  สื่อสารมวลชน ได้แก่ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ สิ่งตีพิมพ์ต่างๆ Internet เป็นหน่วยที่มีความสำคัญในการปลูกฝังวัฒนธรรมใหม่ๆ ให้แก่เด็กและเยาวชนได้
(5 )  สถาบันทางสังคมและศาสนา ให้การอบรมสั่งสอนทั้งเด็กและผู้ใหญ่ในด้านคุณธรรมและศีลธรรม
                                                ความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ
                จริยธรรมในการบริหารธุรกิจ (Business Ethics) เป็นการนำเอาหลักจริยธรรมและคุณธรรมมาใช้ในการบริหารจัดการธุรกิจ
(1)   เพื่อความสามารถในการแข่งขัน จะอยู่ที่การตรงไปตรงมาและการต่อรองที่ยุติธรรม

(2) การเพิ่มผลผลิต
(3)  ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย

(4)   กฎหมาย ข้อบังคับจากภาครัฐ จะช่วยลดความจำเป็นของภาครัฐในการออกกฎระเบียบ
(5)  ธุรกิจที่มีจริยธรรม จะสามารถช่วยป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่ชุมชนและสิ่งแวดล้อม เช่น การไม่ทิ้งของเสียที่เป็นพิษต่อชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม
(6)  ธุรกิจที่มีจริยธรรม ย่อมก่อให้เกิดความสบายใจ ความสุขในการทำงาน และจะช่วยดึงดูดให้คนเข้ามาทำงานกับบริษัท
                                                                การพัฒนาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ
                ซึ่งการพัฒนาจริยธรรมในระบบขององค์การให้ได้รับความสำเร็จนั้นขึ้นอยู่กับองค์ประกอบที่สำคัญต่างๆ ดังนี้
(1)  อำนาจอันชอบธรรม
(2)  ความเชื่อมั่น
(3)  ความพร้อมที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง
(4)  การวางแผนพัฒนาที่ดี
(5)  ผลประโยชน์ร่วม
(6)  การปฏิบัติที่สม่ำเสมอ
(7)  การควบคุมอย่างต่อเนื่อง
                                                                                ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ
(1)  ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว
(2)  จุดมุ่งหมายของธุรกิจกับค่านิยมส่วนบุคคล
(3)  แรงกดดันเพื่อให้ได้มาซึ่งผลกำไร
(4)  ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม
                                                                วิกฤติทางด้านจริยธรรมในองค์การธุรกิจ
(1)  มนุษย์ ซึ่งล้วนเป็นผู้มีส่วนผลักดับให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นในสังคม
(2)  ความมั่งคั่งก็ยิ่งได้รับความสนใจมากยิ่งขึ้นในเชิงเศรษฐกิจระบบทุนนิยม
(3)  ธุรกิจระหว่างประเทศมีบทบาทสำคัญมากต่อระบบการค้าและระบบเศรษฐกิจของโลก
(4)  ด้านวัตถุนิยมและการบริโภคนิยมได้ขยายตัวอย่างกว้างขวาง
                                                    แนวทางการแก้ไขปัญหาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ
(1)  ตั้งคณะกรรมการจริยธรรม (Ethics  Committee)
(2)  ใช้วิธีการฝึกอบรมทางจริยธรรม
(3)  การให้รางวัลแก่ผู้ที่ปฏิบัติตามจริยธรรม
(4)   การจัดให้มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดีหรือบรรษัทภิบาล (Good  Corporate)
                                                                การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม
(1)  ความรับผิดชอบต่อสุขภาพและสวัสดิภาพของบุคคล
(2)  ความรับผิดชอบด้านคุณภาพและบริการ
(3)  ความรับผิดชอบต่อข้อมูลข่าวสาร และการศึกษา
(4)  ความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม
(5)  ความรับผิดชอบด้านศาสนาและวัฒนธรรม
(6)  ความรับผิดชอบด้านสิทธิมนุษยชน
                                                ความรับผิดชอบต่อสังคมสำหรับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
                ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลัก (Primary Stakeholders) ได้แก่ ผู้ที่มีปฏิสัมพันธ์ในการดำเนินงานโดยตรงกับองค์กร มีส่วนเกี่ยวข้องกับความเสี่ยงและผลประโยชน์ขององค์กร และส่วนใหญ่พึ่งพาองค์กร
                ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียรอง (Secondary Stakeholders) ได้แก่ ผู้รับผลกระทบจากนโยบายหรือการดำเนินงานขององค์กร รวมทั้งผู้สร้างและผู้รับผลกระทบต่อนโยบายหรือการดำเนินงานขององค์
                                                แนวปฏิบัติในการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม
(1)  เคารพกฎหมาย  คือ ความรับผิดชอบต่อกฎหมาย
(2)  พูดแต่ความจริง รวมถึงการไม่มีเจตนาบิดเบือน หลอกลวง
(3)  ทำในสิ่งที่ถูกต้องเท่านั้น
(4)  เคารพผู้อื่น โดยแสดงความเคารพต่อการกระทำ ความคิดและความเห็นของผู้อื่น
(5)  ไม่ทำร้ายหรือทำให้ผู้อื่นได้รับอันตราย
(6)  สร้างการมีส่วนร่วม เปิดโอกาสให้ผู้อื่นได้แสดงความคิดเห็น
(7)  ดำเนินการตามความรับผิดชอบที่มีอยู่อย่างเต็มที่
                                                                                จรรยาบรรณ
                จรรยาบรรณถือเป็นการแสดงความรับผิดชอบระดับจริยธรรมซึ่งสูงกว่าระดับกฎหมาย จรรยาบรรณจึงแตกต่างจากกฎหมายตรงที่กฎหมายเป็นการร่างขึ้นเพื่อใช้บังคับท

พิรุฬห์ลักษณ์ ไชยประดิษฐ เลขที่ 14 กจ. 2/1

สรุปบทที่ 8

1.ความหมายและลักษณะของจริยธรรม

จรรยาบรรณ ตามรากศัพท์ หมายถึง หลักของความประพฤติ ส่วนจริยธรรม หมายถึง ธรรมของการปฏิบัติ จรรยาบรรณจึงเป็นข้อกำหนดทางจริยธรรมของวิชาชีพ เป็นข้อกำหนดทางศีลธรรมหรือจริยธรรมที่สมาชิกในกลุ่มวิฃาชีพนั้น ๆ จัดทำขึ้น เช่น จรรยาบรรณของแพทย์ เป็นต้น

2.แนวคิดที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ

1) Teleology แนวคิดนี้มุ่งพิจารณาถึงความต้องการของประชาชนในสังคมเป็นสำคัญ

2) Deonotology เป็นแนวคิดที่มุ่งเน้นสรุปสิ่งที่พึงกระทำจากความสำนึกในความผิดชอบชั่วดีของมนุษย์มากกว่าจะสรุปจากผลที่เกิดขึ้นเมื่อได้ทำไปแล้ว

3) Cultural Relativism เป็นแนวคิดที่พิจารณาข้อสรุปทางจรรยาบรรณของสังคมต่าง ๆ โดยพิจารณาร่วมกับความแตกต่างทางวัฒนธรรม

4) Universalism เป็นแนวคิดที่พิจารณาแนวทางปฏิบัติที่จะถือว่าเป็นการไร้จริยธรรมจากการมองสังคมโดยเสมอภาค

3.กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม

1) สถาบันครอบครัว ซึ่งถือว่าเป็นหน่วยขัดเกลาสำคัญที่สุด เพราะครอบครัวจะเป็นหน่วยที่ใกล้ชิด อบรม สั่งสอน ตลอดจนวิถีการดำเนินชีวิตเบื้องต้นแก่เด็ก

2) สถาบันการศึกษา ถือว่าเป็นหน่วยขัดเกลาที่เป็นทางการและมีอิทธิพลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพและความเชื่อถือในด้านคุณธรรมและจริยธรรม

3) กลุ่มเพื่อน จะถือว่าเป็นหน่วยที่มีอิทธิพลต่อเด็กมาก เช่น ความซื่อสัตย์ ถ้ากลุ่มเพื่อนเป็นกลุ่มไม่ดี สอนความไม่ซื่อสัตย์ เด็กก็จะกลายเป็นคนไม่ซื่อสัตย์ได้

4) สื่อสารมวลชน ได้แก่ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ ฯลฯ สิ่งเหล่าสามารถสร้างค่านิยม และปลูกฝังวัฒนธรรมใหม่ ๆ ให้แก่เยาวชนได้

5) สถาบันทางสังคมและศาสนา เป็นหน่วยที่มีบทบาทมีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตและความใกล้ชิดกับชุมชน

4.ความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ

1) เ พื่อความสามารถในการแข่งขัน

2) การเพิ่มผลผลิต

3) ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย

4) กฏหมาย ข้อบังคับจากภาครัฐ

5) ธุรกิจที่มีจริยธรรม จะสามารถช่วยป้องกันไม่ให้ชุมชนและสิ่งแวดล้อมเกิดอันตราย

6) ธุรกิจที่มีจริยธรรม ย่อมก่อให้เกิดความสบายใจ ความสุขในการทำงาน

5.การพัฒนาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1) อำนาจอันชอบธรรม ซึ่งถือว่าเป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อนมากในทุก ๆ องค์การ

2) ความเชื่อมั่น จริยธรรมเป็นเรื่องที่มีความสัมพันธ์กับความเชื่อถือและยึดมั่นอย่างแน่นแฟ้น

3) ความพร้อมที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง

4) การวางแผนพัฒนาที่ดี

5) ผลประโยชน์ร่วม การพัฒนาจริยธรรมในองค์การเป็นหน้าที่ของทุกคนจะต้องร่วมมือกัน

6) การปฏิบัติที่สม่ำเสมอ

7) การควบคุมอย่างต่อเนื่อง การควบคุมเป็นมาตรการที่จะทำให้การปฏิบัติเป็นไปอย่างถูกต้อง

6.ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ

1) ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว เกิดจากความโลภ กิเลส ความหลงมัวเมา

2) จุดม่งหมายของธุรกิจกับค่านิยมส่วนบุคคล

3) แรงกดดันเพื่อให้ได้มาซึ่งผลกำไร

4) ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม

7.วิกฤติทางด้านจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

ปัจจุบันโลกได้เจริญไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งถือเป็นความสำเร็จของมวลมนุษยชาติ ไม่ว่าจะเป็นนักการเมือง นักวิชาการ และอื่น ๆ อีกมากมาย ซึ่งล้วนเป็นผู้มีส่วนผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นในสังคม แต่ในขณะที่โลกเปลี่ยนแปลง จิตใจของผู้คนก็เปลี่ยนแปลงไปด้วยเช่นกัน มีทั้งความโลภ และความเห็นแก่ตัว บนแนวความคิดของระบบเศรษฐกิจที่มุ่งหวังความมั่งคั่ง ด้านค่านิยมของคนที่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมก็ด้วยเหตุผลของความเจริญเติบโตของภาคธุรกิจเป็นเหตุ ที่ชัดเจนก็คือด้านวัตถุนิยม

8.แนวทางการแก้ไขปัญหาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1) ตั้งคณะกรรมการจริยธรรม หรือเจ้าหน้าที่ทางจริยธรรม

2) ใช้วิธีการฝึกอบรมทางจริยธรรม

3) การให้รางวัลแก่ผู้ที่ปฏิบัติตามจริยธรรม

4) การจัดให้มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดีหรือบรรษัทภิบาล

9.การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม

1) ความรับผิดขอบต่อสุขภาพและสวัสดีภาพของบุคคล

2) ความรับผิดชอบด้านคุณภาพและบริการ

3) ความรับผิดชอบต่อข้อมูลข่าวสาร และการศึกษา

4) ความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม

5) ความรับผิดชอบด้านศาสนาและวัฒนธรรม

6) ความรับผิดขอบด้านสิทธิมนุษยชน

10.ความรับผิดชอบต่อสังคมสำหรับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

10.1) ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลัก ได้แก่ ผู้ที่มีปฏิสัมพันธ์ในการดำเนินงานโดยตรงกับองค์กร

10.2) ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียรอง ได้แก่ ผู้รับผลกระทบจากนโยบายหรือการดำเนินงานขององค์กร

11.แนวปฏิบัติในการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม

1) เคารพกฎหมาย

2) พูดแต่ความจริง

3) ทำในสิ่งที่ถูกต้องเท่านั้น

4) เคารพผู้อื่น

5) ไม่ทำร้ายหรือทำให้ผู้อื่นได้รับอันตราย

6) สร้างการมีส่วนร่วม

7) ดำเนินการตามความรับผิดชอบที่มีอยู่อย่างเต็มที่

ระดับความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์การธุรกิจ

1) Economic responsibility

2) Legal responsibility

3) Ethical responsibility

4) Discretionary responsibility

5) ระดับความรับผิดชอบต่อสังคมทั้งหมด

4E ::

1) Education - การศึกษา

2) Environment - สิ่งแวดล้อม

3) Energy Conservation - การอนุรักษ์พลังงาน

4) Employe Engagement - การส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วมในสังคม

นางสาวพจวรรณ แสนคติ กจ.2/1 เลขที่30

จริยธรรม หมายถึง ความสามารถที่จะสะท้อนถึงค่านิยม ในกระบวนการตัดสินใจของธุรกิจ เพื่อกำหนดว่าค่านิยมและการตัดสินใจทีผลกระทบอย่างไรต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

จริยธรรมทางธุรกิจ หมายถึง การผสมผสานระหว่างเศรษฐกิจและจริยธรรม โดยมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมนโยบายและการปฏิบัติของภาคธุรกิจในการสร้างความสำเร็จในการประกอบการอย่างมีความรับผิดชอบ

แนวคิดที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ

จรรยาบรรณเป็นสิ่งที่สังคมแต่ละแหล่งกำหนดขึ้นทั้งที่ปรากฏชัดเจนหรือเป็นธรรมเนียมปฏิบัติต่อเนื่องกันมานานโดยไม่มีการเขียนเป็นลายลักษณ์อักษร สำหรับแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับขรรยาบรรณมีหลายแนงทาง เช่น

1.Teleology แนวคิดนี้มุ่งพิจารณาถึงความต้องการของประชาชนในสังคมเป็นสำคัญโดยสรุปว่าการกระทำที่ถูกต้องหรือยอมรับได้ ได้แก่การกระทำที่ก่อให้เกิดผลที่พึงปราถนาและแบ่งการพิจารณาออกเป็นสองทาง ได้แก่

- ความสำคัญของปัจเจกบุคคล (Egoism)

-ความสำคัญต่อกลุ่มบุคคล (Uti;itarianism)

2.Deontology เป็นแนวคิดที่มุ่งเน้นสรุปสิ่งที่พึงประสงค์กระทำจากความสำนึกในความผิดชอบชั่วดีของมนุษย์มากกว่าจะสรุปจากผลที่เกิดขึ้นเมื่อได้ทำไปแล้ว ดังนั้นeontology จึงเป็นแนวคิดที่คำนึงถึงสิทธิส่วนบุคคลและพฤติกรรมการแสดงออกมากกว่าจะคำนึงถึงผลที่เกิดขึ้นสำหรับในองค์การธุรกิจแล้ว ผู้ปฏิบัติหน้าที่ในองค์การพึงมีสิทธิหลายประการ

3.Cultural Relativism เป็นแนวคิดที่พิจารณาข้อสรุปทางจรรยาบรรณของสังคมต่างๆโดยพิจารณาร่วมกับความแตกต่างทางวัฒนธรรม แต่การที่บุคคลจะตัดสินในเรื่องของความถูกต้อง ความผิด ความยุติธรรมหรือความไม่ยุติธรรม

4.Universalism เป็นแนวคิดที่พิจารณาแนงทางปฏฺบัติที่จะถือว่าเป็นการไร้จริยธรรมจากการมองสังคมโดยเสมอภาค

กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม

การอบรมหรือการขัดเกลาทางสังคม (Socialization)

ถือเป็นกระบวนการปลูกฝังบรรทัดฐานของกลุ่มให้เกิดขึ้นในตัวบุคคล เพื่อให้บุคคลนั้นสามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้ สามารถทำงานร่วมกับคนอื่นได้ และถือว่าเป็นกระบวนการหล่อหลอมทางวัฒนธรรม ซึ่งแต่ละคนคงได้เรียนรู้และเชื่อถือในคานิยมตามแบบแผนพฤติกรรมของสังคม

การขัดเกลาทางสังคม เป็นกระบวนการท่คนทุกคนต้องประสบมาตั้งแต่เด็กจนถึงผู้ใหญ่เพื่อการเรียนรู้และดูดซับค่านิยม กฏเกณฑ์ ระเบียบแบบแผนของสังคม จุดมุ่งหมายก็เพื่อให้สมาชิกในสังคมได้เกิดการเรียนรู้และสามารถปฏิบัติตามบรรทัดฐานของสังคม

การขัดเกลาทางสังคม ซึ่งถือว่าเป็นผู้ที่มีบทบาทและมีความสำคัญในกระบวนการเสริมสร้างจริยธรรมที่พึงจะกล่าวถึง คือ

1.สถาบันครอบครัว เป็นสถาบันที่สำคัญที่สุด ครอบครัวเป็นหน่วยที่ใกล้ชิด อบรมสั่งสอน ถ่ายทอดวัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อ

2.สถาบันการศึกษา เป็นหน่วยขัดเกลาที่เป็นทางการและมีอิทธิพลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพและคาวมเชื่อถือในด้านคุณธรรมและจริยธรรม

3.กลุ่มเพื่อน เป็นหน่วยที่มีอิทธิพลต่อเด็กมาก เพราะจะช่วยให้เด็กได้เรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ ที่ไม่ได้รับจากครอบครังหรือจากสถาบันการศึกษา

4.สือสารมวลชน อันได้แก่ โทรศัพย์ ภาพยนต์ สื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ และเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ ซึ่งสิ่งเหล่านี้สามารถสร้าง ค่านิยม ความเชื่อ ทัศนคติ ให้แก่เด็ก

5.สถาบันทางสังคมและศาสนา เป็นหน่วยที่มีบทบาทมีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตและความใกล้ชิดกับชุมชน ให้การอบรมสั่งสอนเด็กและผู้ใหญ่ในด้านคุณธรรมและศีลธรรมการขัดเกลาทางสังคมนี้ได้แก่ การเรียนรู้ฐานใหม่ของคนในสังคม

ความจำเป็นที่จะต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ

1.เพื่อความสามารถในการแข่งขัน

2.การเพิ่มผลผลิต

3.ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

4.กฏหมายข้อบังคับจากภาครัฐ

5.ธุรกิจที่มีจริยธรรมจะสามาถช่วยป้องกันไมให้เกิดอันตรายแก่ชุมชนและสิ่งแวดล้อม

6.ธุรกิจที่มีจริยธรรม ย่อมก่อให้เกิดความสบายใจ ความสุขในการทำงาน

การพัฒนาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

ผู้บริหารไม่ควรที่จะพัฒนาด้านบุคคลแต่เพียงอย่างเดียว ทั้งนี้เพราะถ้าหากบุคคลที่ดีไปอยู่หรือร่วมงานกับองค์การที่มีระบบไม่ดีก็ย่อมที่จะทำให้สูญเสียทรัพยากรบุคคลที่ดีไปได้โดยง่าย ในทำนองเดียวกัน ถ้าหากองค์การมีระบบการดำเนินงานที่ดี แต่มีบุคคลที่ไม่ดีก็ย่อมส่งผลไปถึงการดำเนินงานที่ไม่ประสบผลสำเร็จได้ การพัฒนาจริยธรรมในระบบขององค์การให้ได้รับความสำเร็จนั้นขึ้นอยู่กับองค์ประกอบที่สำคัญดังนี้

1.อำนาจอันชอบทำ

2.ความเชื่อมัน

3.ความพร้อมที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง

4.การวางแผนพัฒนาที่ดี

5.ผลประโยชน์ร่วม

6.การปฏิบัติที่สม่ำเสมอ

7.การควบคุมอย่างต่อเนื่อง

ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ

1.ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว

2.จุดมุ่งหมายของธุรกิจกับค่านิยมส่วนบุคคล

3.แรงกดดันเพื่อให้ได้มาซึ่งผลกำไร จากแรงกดดันในการแข่งขันที่มีความรุนแรงและไร้ขอบเขต

4.ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม

วิกฤติทางด้านจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

การแข่งขันทางธุรกิจเป็นไปอย่างรุนแรงและไร้ขอบเขต โดยละเลยหรือไม่ตะหนักถึงความถูกต้องชอบธรรมและจรรยาบรรณ วิกฤติดังกล่าว ได้ทำลายความมั่นใจและความภูมิใจในภูมิภาคนี้ไปอย่างสิ้นเชิงโดยเฉพาะอย่างยิ่งค่านิยมเอเซีย ซึ่งค่านิยมดังกล่าวเป็นค่านิยมที่เน้นการทำงานหนัก ขยัน อดออม มีความซื่อสัตย์ มีระเบียบวินัย ให้ความสำคัญกับสายสัมพันธ์ภายในครอบครัว และให้ความสำคัญในการกำหนดพฤติกรรมการบริหารจัดการและการดำรงชีวิตที่เน้นถึงความมีคุณธรรมและความรับผิดชอบต่อสังคมโดยรวม

แนวทางการแก้ไขปัญหาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1.ตั้งคณะกรรมการจริยธรรม

2.ใช้วิธีการฝึกอบรมทางจริยธรรม

3.การให้รางวัลแก่ผู้ที่ปฏิบัติตามจริยธรรม

4.การจัดให้มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดีหรือบรรษัทภิบาล

การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม ผู้บริหารควรพิจารณาทบทวนและขอบเขตในการดำเนินงานของตนเองอยู่เสมอว่าได้แสดงความรับผิดชอบต่อสังคมในด้านต่าง ๆเหล่านี้ครบถ้วนหรือไม่เพื่อไม่ให้มีส่วนใดขาดตกบกพร่องหรือมีความประสงค์จะเสี่ยงต่อการขาดความรับผิดชอบต่อสังคม

การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมในด้านต่าง ๆ มี ดังนี้

1.ความรับผิดชอบต่อสุขภาพของบุคคล

2.ความรับผิดชอบทางด้านคุณภาพและบริการ

3.ความรับผิดชอบต่อข้อมูลข่าวสาร และการศึกษา

4.ความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม

5.ความรับผิดชอบด้านศาสนาและวัฒนธรรม

6.ความรับผิดชอบด้านสิทธิมนุษยชน

ความรับผิดชอบต่อสังคมสำหรับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

- ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลัก ได้แก่ผู้ที่มีปฏิสัมพันธ์ในการดำเนินงานโดยตรงกับองค์กร มีส่วนเกีย่วข้องกับความเสี่ยงและผลประโยชน์ขององค์การ และส่วนใหญ่มีการพึ่งพากับองค์กร โดยแต่ละกลุ่มมีผลประโยชน์ที่เกียวข้องกับงค์กรแตกต่างกันไป

- ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียรอง ได้แก่ผู้รับผลกระทบจากนโยบายหรือการดำเนินงานขององค์กร รวมทั้งผู้สร้างและผู้รับผลกระทบต่อนโยบายหีอการดำเนินงานขององค์กร ซึ่งแต่ละกลุ่มมีผลประโยชน์/ความสนใจ ตลอดจนพฤติกรรมและปฏิกริยาตอบโต้ต่ออการกระทำขององค์กรในกรณีต่าง ๆ แตกต่างกันไป

แนวทางปฏิบัติในการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม

1.เคารพกฏหมาย

2.พูดแต่ความจริง

3.ทำในสิ่งที่ถูกต้องเท่านั้น

4.เคารพผู้อื่น

5.ไม่ทำร้ายหรือทำให้ผู้อื่นได้รับอันตราย

6.สร้างการมีส่วนร่วม

7.ดำเนินการตามความรับผิดชอบที่มีอยู่อย่างเต็มที่

นางสาวเกศิณี นิลกำแหง กจ.2/1 เลขที่ 2

สรุปบทที่ 8

จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

ความหมายของจริยธรรมทางธุรกิจ

ธุรกิจ หมายถึง บุคคล นิติบุคคล หรือองค์กรอื่นที่ดำเนินกิจการผลิตสินค้าหรือบริการเพื่อให้มีผลตอบแทนจากการลงทุนที่มีกำไรมากที่สุด

จริยธรรมทางธุรกิจ หมายถึง มาตรฐานสินค้าหรือบริการที่ผู้ผลิต ผู้จำหน่าย หรือผู้เกี่ยวข้องกับผลิตสินค้า หรือบริการ ประพฤติและปฏิบัติต่อลูกค้า ผู้บริโภค ผู้ร่วมหุ้นลงทุน คู่ค้า หรือบุคคลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างตรงไปตรงมา มีความยุติธรรมและไม่เบียดเบียนกัน ถือเป็นความดีความงามที่สังคมยอมรับได้

แนวคิดที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ

สำหรับแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับจรรยาบรรณมีหลายแนวทาง เช่น

(1) Teleology แนวคิดนี้มุ่งพิจารณาถึงความต้องการของประชาชนในสังคมเป็นสำคัญ

(2) Deontology เป็นแนวคิดที่คำนึงถึงสิทธิส่วนบุคคลและพฤติกรรมการแสดงออกมากมว่าจะคำนึงถึงผลที่เกิดขึ้นสำหรับในองค์การธุรกิจแล้ว

(3) Cultural Relativism เป็นแนวคิดที่พิจารณาข้อสรุปทางจรรยาบรรณของสังคมต่างๆ

(4) Universalism เป็นแนวคิดที่พิจารณาแนวทางปฏิบัติที่จะถือว่าเป็นการไร้จริยธรรมจากการมองสังคมโดยเสมอภาค

กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม

สำหรับผู้ทำหน้าที่ในการขัดเกลาทางสังคม ซึ่งถือว่าเป็นผู้ที่มีบทบาทและมีความสำคัญในกระบวนการเสริมสร้างจริยธรรมที่พึงจะกล่าวถึง คือ

(1) สถาบันครอบครัว เป็นหน่วยขัดเกลาสำคัญที่สุด เป็นผู้ขัดเกลาเบื้องต้น ครอบครัวเป็นหน่วยที่ใกล้ชิด อบรมสั่งสอนถ่ายทอดวัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อ แบบแผนทางศีลธรรมและจริยธรรม

(2) สถาบันการศึกษา มีอิทธิพลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพและความเชื่อถือในด้านคุณธรรมและจริยธรรม

(3) กลุ่มเพื่อน การอยู่ร่วมกันในสังคม และบางทีอาจได้รับค่านิยมหรือความเชื่อทางศีลธรรมหรือจริยธรรมที่แตกต่างกันไป

(4) สื่อสารมวลชน ได้แก่ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ สิ่งตีพิมพ์ต่างๆ Internet เป็นหน่วยที่มีความสำคัญในการปลูกฝังวัฒนธรรมใหม่ๆ ให้แก่เด็กและเยาวชนได้

(5 ) สถาบันทางสังคมและศาสนา ให้การอบรมสั่งสอนทั้งเด็กและผู้ใหญ่ในด้านคุณธรรมและศีลธรรม

ความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ

จริยธรรมในการบริหารธุรกิจ (Business Ethics) เป็นการนำเอาหลักจริยธรรมและคุณธรรมมาใช้ในการบริหารจัดการธุรกิจ

(1) เพื่อความสามารถในการแข่งขัน จะอยู่ที่การตรงไปตรงมาและการต่อรองที่ยุติธรรม

(2) การเพิ่มผลผลิต

(3) ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย

(4) กฎหมาย ข้อบังคับจากภาครัฐ จะช่วยลดความจำเป็นของภาครัฐในการออกกฎระเบียบ

(5) ธุรกิจที่มีจริยธรรม จะสามารถช่วยป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่ชุมชนและสิ่งแวดล้อม เช่น การไม่ทิ้งของเสียที่เป็นพิษต่อชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม

(6) ธุรกิจที่มีจริยธรรม ย่อมก่อให้เกิดความสบายใจ ความสุขในการทำงาน และจะช่วยดึงดูดให้คนเข้ามาทำงานกับบริษัท

การพัฒนาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

ซึ่งการพัฒนาจริยธรรมในระบบขององค์การให้ได้รับความสำเร็จนั้นขึ้นอยู่กับองค์ประกอบที่สำคัญต่างๆ ดังนี้

(1) อำนาจอันชอบธรรม

(2) ความเชื่อมั่น

(3) ความพร้อมที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง

(4) การวางแผนพัฒนาที่ดี

(5) ผลประโยชน์ร่วม

(6) การปฏิบัติที่สม่ำเสมอ

(7) การควบคุมอย่างต่อเนื่อง

ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ

(1) ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว

(2) จุดมุ่งหมายของธุรกิจกับค่านิยมส่วนบุคคล

(3) แรงกดดันเพื่อให้ได้มาซึ่งผลกำไร

(4) ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม

วิกฤติทางด้านจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

(1) มนุษย์ ซึ่งล้วนเป็นผู้มีส่วนผลักดับให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นในสังคม

(2) ความมั่งคั่งก็ยิ่งได้รับความสนใจมากยิ่งขึ้นในเชิงเศรษฐกิจระบบทุนนิยม

(3) ธุรกิจระหว่างประเทศมีบทบาทสำคัญมากต่อระบบการค้าและระบบเศรษฐกิจของโลก

(4) ด้านวัตถุนิยมและการบริโภคนิยมได้ขยายตัวอย่างกว้างขวาง

แนวทางการแก้ไขปัญหาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

(1) ตั้งคณะกรรมการจริยธรรม (Ethics Committee)

(2) ใช้วิธีการฝึกอบรมทางจริยธรรม

(3) การให้รางวัลแก่ผู้ที่ปฏิบัติตามจริยธรรม

(4) การจัดให้มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดีหรือบรรษัทภิบาล (Good Corporate)

การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม

(1) ความรับผิดชอบต่อสุขภาพและสวัสดิภาพของบุคคล

(2) ความรับผิดชอบด้านคุณภาพและบริการ

(3) ความรับผิดชอบต่อข้อมูลข่าวสาร และการศึกษา

(4) ความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม

(5) ความรับผิดชอบด้านศาสนาและวัฒนธรรม

(6) ความรับผิดชอบด้านสิทธิมนุษยชน

ความรับผิดชอบต่อสังคมสำหรับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลัก (Primary Stakeholders) ได้แก่ ผู้ที่มีปฏิสัมพันธ์ในการดำเนินงานโดยตรงกับองค์กร มีส่วนเกี่ยวข้องกับความเสี่ยงและผลประโยชน์ขององค์กร และส่วนใหญ่พึ่งพาองค์กร

ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียรอง (Secondary Stakeholders) ได้แก่ ผู้รับผลกระทบจากนโยบายหรือการดำเนินงานขององค์กร รวมทั้งผู้สร้างและผู้รับผลกระทบต่อนโยบายหรือการดำเนินงานขององค์

แนวปฏิบัติในการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม

(1) เคารพกฎหมาย คือ ความรับผิดชอบต่อกฎหมาย

(2) พูดแต่ความจริง รวมถึงการไม่มีเจตนาบิดเบือน หลอกลวง

(3) ทำในสิ่งที่ถูกต้องเท่านั้น

(4) เคารพผู้อื่น โดยแสดงความเคารพต่อการกระทำ ความคิดและความเห็นของผู้อื่น

(5) ไม่ทำร้ายหรือทำให้ผู้อื่นได้รับอันตราย

(6) สร้างการมีส่วนร่วม เปิดโอกาสให้ผู้อื่นได้แสดงความคิดเห็น

(7) ดำเนินการตามความรับผิดชอบที่มีอยู่อย่างเต็มที่

จรรยาบรรณ

จรรยาบรรณถือเป็นการแสดงความรับผิดชอบระดับจริยธรรมซึ่งสูงกว่าระดับกฎหมาย จรรยาบรรณจึงแตกต่างจากกฎหมายตรงที่กฎหมายเป็นการร่างขึ้นเพื่อใช้บังคับทุกคนในสังคม

จรรยาบรรณของสมาชิกสมาคมบริษัทหลักทรัพย์

(1) สมาชิกต้องประกอบธุรกิจด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต

(2) สมาชิกต้องปฏิบัติต่อลูกค้าอย่างเป็นธรรม

(3) สมาชิกต้องเปิดเผยให้ลูกค้าทราบ

(4) ห้ามมิให้สมาชิกเปิดเผยข้อมูลของลูกค้าที่ตนได้ล่วงรู้มา

(5) ห้ามมิให้สมาชิกช่วยเหลือหรือสนับสนุนการกระทำอันเป็นความผิดตามกฎหมาย

ระดับความรับผิดชอบต่อสังคม ภาพรวมทั้งหมด

4 E

(1) Education – การศึกษา

(2) Environment – สิ่งแวดล้อม

(3) Energy Conservation – การอนุรักษ์พลังงาน

(4) Employee Engagement - การส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วมในสังคม

น.ส.เปรมกมล คำทราย เลขที่ 29 กจ.2/1

สรุปบทที่ 8 จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

1.ความหมายและลักษณะของจริยธรรม

       อานันท์ ปันยารชุน ให้คำจำกัดความ จริยธรรมทางธุรกิจ คือ การผสมผสานระหว่างเศรษฐกิจและจริยธรรม โดยมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมนโยบายและการปฏิบัติของภาคธุรกิจในการสร้างความสำเร็จในการประกอบการอย่างมีความรับผิดชอบ มีความยั่งยืน มีผลในระยะยาวในขณะเดียวกันก็ช่วยสร้างความสมดุลระหว่างผู้มีส่วนได้เสียในกิจการนั้นๆ เช่น สังคม สภาพสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุล

2. แนวคิดที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ (The Concept of Business Ethic) แนวคิดเกี่ยวข้องกับจรรยาบรรณมีหลายแนวทาง 1.Teleology แนวคิดนี้มุ่งเน้นในการพิจารณาถึงความต้องการของประชาชนในสังคมเป็นสำคัญโดยสรุปว่าการกระทำหรือพฤติกรรมที่ถูกต้องหรือยอมรับได้ ได้แก่การกระทำที่ก่อให้เกิดผลที่พึงปรารถนาและแบ่งการพิจารณาออกเป็นสองทาง ได้แก่ ความสำคัญของปัจเจกบุคคลและความสำคัญต่อกลุ่มบุคคล

2.Deontology เป็นแนวคิดที่คำนึงถึงสิธิส่วนบุคคลและพฤติกรรมการแสดงออกมากกว่าจะคำนึงถึงผลที่เกิดขึ้นสำหรับในองค์การธุรกิจแล้ว ผู้ปฎิบัติหน้าที่ในองค์การพึงมีสิธิหลายประการเช่น สิทธิส่วนบุคคลในการกระทำ

3. Cultural Relativism เป็นแนวคิดที่พิจารณาข้อสรุปทางจรรยาบรรณของสังคมต่างๆ โดยพิจารณาร่วมกับความแตกต่างทางวัฒนธรรม แต่การที่บุคคลจะตัดสินในเรื่องของความถูกต้อง ความผิด ความยุติธรรมหรือความไม่ยุติธรรม

4. Universalism เป็นแนวคิดที่พิจารณาแนวทางปฏิบัติที่จะถือว่าเป็นการไร้จริยธรรมจาการมองสังคมโดยเสมอภาค

กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม   การอบรมหรือการขัดเกลาทางสังคม ถือเป็นกระบวนการปลูกฝังบรรทัดฐานของกลุ่มให้เกิดขึ้นในตัวบุคคล ผู้ที่ทำหน้าที่ในการขัดเกลาทางสังคม ซึ่งถือว่าเป็นผู้ที่มีบทบาทและมีความสำคัญในกระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม

1.สถาบันครอบครัว

2. สถาบันการศึกษา

3. กลุ่มเพื่อน

4. สื่อสารมวลชน

5. สถาบันทางสังคมและศาสนา

ความจำเป็นที่จะต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ  จริยธรรมในการบริหารธุรกิจ เป็นการนำเอาหลักจริยธรรมและคุณธรรมมาใช้ในการบริหารจัดการธุรกิจ ความจำเป็นที่จะต้องมีจริยธรรมมีมีหลายเหตุผล 1. เพื่อความสามารถในกรแข่งขัน

2.การเพิ่มผลผลิต

3. ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย

4. กฎหมาย ข้อบังคับจากภาครัฐ

5. ธุรกิจที่มีจริยธรรมจะไม่ทำความเดือดร้อนแก่สังคม และ สภาพแวดล้อม

6. จริยธรรมทำให้การทำงานมีความสุข เป็นที่ยอมรับของสังคม

 การพัฒนาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ การพัฒนาจริยธรรมในการทำงานภายในองค์การต่าง ๆ ผู้บริหารจึงควรตระหนังและให้น้ำหนังในการที่จะพัฒนาจริยธรรมในการทำงาน ทั้งในแง่ของทรัพยากรบุคคลและระบบที่ดีขององค์การควบคู่กันไป การพัฒนาจริยธรรมในระบบขององค์การให้ได้รับความสำเร็จนั้นขึ้นอยู่กับองค์ประกอบที่สำคัญต่างๆ

1. อำนาจอันชอบธรรม

2. ความเชื่อมั่น

3. ความพร้อมที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง

 4. การวางแผนพัฒนาที่ดี

5. ผลประโยชน์รวม

6. การปฏิบัติที่สม่ำเสมอ

7. การควบคุมอย่างต่อเนื่อง

  ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ

1. ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว

2. จุดมุ่งหมายของธุรกิจกับค่านิยมส่วนบุคคล

3. แรงกดดันเพื่อให้ได้มาซึ่งผลกำไร

4.ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม

   แนวทางการแก้ไขปัญหาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ  เพื่อให้มีการปฏิบัติตามจรรยาบรรณอย่างจริงจัง บางครั้งก็สร้างความ ลำบากต่อการปฏิบัติให้เป็นไปดังประสงค์ จึงควรมีการตรวจสอบปรับปรุงแก้ไขจรรยาบรรณเป็นระยะ ๆ เพื่อให้ครอบคลุมทุก ๆเรื่องและใช้ประโยชน์ได้อย่างแท้จริง ในที่นี้วิธีที่พอจะแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้ในระดับหนึ่ง ซึ่งมีตัวอย่างดังต่อไปนี้

1. ตั้งคณะกรรมการจริยธรรม

 2. ใช้วิธีการฝึกอบรมทางจริยธรรม

3. การให้รางวัลแก่ผู้ที่ปฏิบัติตามจริยธรรม

4. การจัดให้มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดีหรือบรรษัทภิบาล

 การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม

1.ความรับผิดชอบต่อสุขภาพและสวัสดิภาพของบุคคล

 2. ความรับผิดชอบด้านคุณภาพและบริการ

3. ความรับผิดชอบต่อข้อมูลข่าวสาร และการศึกษา

4.ความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม

5. ความรับผิดชอบด้านศาสนาและวัฒนธรรม

6. ความรับผิดชอบด้านสิทธิมนุษยชน

ความรับผิดชอบต่อสังคมสำหรับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

- ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลัก ได้แก่ ผู้ที่มีปฏิสัมพันธ์ในการดำเนินงานโดยตรงกับองค์กร

- ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียรอง ได้แก่ ผู้รับผลกระทบจากนธยบายหรือการดำเนินงานขององค์กร

   แนวปฏิบัติในการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม ผู้บริหารอาจต้องใช้ดุลพินิจและวิจารญาณในการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม และอาจนำมาซึ่งข้อถกเถียงด้านความเหมาะสมในการใช้ดุลพินิจว่าถูกต้อง ชอบธรรม จึงควรพิจารณาแนวปฏิบัติดังต่อไปนี้เพื่อเป็นบรรทัดฐานขั้นต่ำในการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม

1. เคารพกฎหมาย

2. พูดแต่ความจริงโดยไม่มีเจตนาบิดเบือน

 3. ทำในสิ่งที่ถูกต้องเท่านั้น

4. เคารพผู้อื่น

5. ไม่ทำร้ายหรือทำให้ผู้อื่นได้รับอันตราย

6. สร้างการมีส่วนร่วม

7. ดำเนินการตามความรับผิดชอบ

จรรยาบรรณ ผู้ประกอบกรวิชาชีพในด้านต่าง ๆ ได้ประมวลข้อประพฤติ ปฏิบัติหรือหลักความประพฤติปฏิบัติที่ดีงามเหมาะสม มีคุณธรรมและถูกต้องตามศีลธรรมเพื่อใช้เป็นแนวทางประพฤติปฏิบัติที่เหมาะสม และเพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติของบุคลากรร่วมอาชีพจรรยาบรรณถือเป็นการแสดงความรับผิดชอบระดับจริยธรรมซึ่งสูงกว่าระดับกฎหมาย จรรยาบรรณเป็นประโยชน์และมีความสำคัญทั้งต่อผู้ประกอบวิชาชีพและต่อสังคมหลายประการ ก่อให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีงาม ได้รับความไว้วางใจจากสังคมและรัฐให้ความเชื่อถือ นอกจากนี้ยังช่วยป้องกันและบรรเทาการกระทำอันไม่ทุจริตที่อาจเกิดขึ้น

น.ส.พรพรรณ แก้วศิริ เลขที่13 กจ.2/1

สรุปบทที่8 จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

อานันท์ ปันยารชุน ได้ให้ความหมายจริยธรรมทางธุรกิจ ว่า จริยธรรมทางธุรกิจคือการผสมผสานระหว่างเศรษฐกิจและจริยธรรม เพื่อส่งเสริมนโยบายและการปฎิบัติของภาคธุรกิจในการสร้างความสำเร็จในการประกอบการอย่างมีความรับผิดชอบ

แนวคิดที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ

1. Teleolgy แนวคิดที่มุ่งพิจารณาถึงความต้องการของประชาชนในสังคมเป็นสำคัญ

2. Deontology แนวคิดที่มุ่งเน้นสรุปสิ่งที่พึงกระทำจากความสำนึกในความผิดชอบชั่วดี

3. Cultural Relativism แนวคิดที่พิจารณาข้อสรุปทางจรรยาบรรณของสังคมต่าง ๆ

4. Universalism แนวคิดที่พิจารณาแนวทางปฏิบัติที่จะถิอว่าเปนการไร้จริยธรรมจากการมองสังคมโดยเสมอภาค

การสร้างเสริมจริยธรรมและผู้มีหน้าที่ขัดเกลาทางสังคม

1. ครอบครัว

2. โรงเรียน

3. กลุ่มเพื่อน

4. สื่อสารมวลชน

5. สถาบันทางศาสนา

ความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ

1. เพื่อความสามารถในการแข่งขัน

2. การเพิ่มผลผลิต

3. การสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย

4. กฎหมาย ข้อบังคับจารภาครัฐ

5. ป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่ชุมชน

6. ก่อให้เกิดความสบายใจและมีความสุขในการทำงาน

ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ

1. ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว

2. จุดมุ่งหมายของธุรกิจกับค่านิยมส่งบุคคล

3. แรงกดดันเพื่อให้ได้มาซึ่งกำไร

4. ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม

วิกฤติทางด้านจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

- กลุ่มบุคคลต่าง ๆ ในสังคมที่เป็นตัวผลักดันให้เกิดความเปลี่ยนแปลง

- ความพยายามสร้างความมั่นคง

- โลกาภิวัฒน์ที่แพรกระจายทั่วภูมิภาคแต่ประชาชนปรับตัวไม่ทันกับความเปลี่ยนแปลง

- ค่านิยมของคนเน้นวัตถุมายิ่งขึ้น

- ค่านิยมเอเชีย ที่เน้นการทำงานมากขึ้น

แนวทางการแก้ไขปัญหาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1. ตั้งคณะกรรมการจริยธรรม เพื่อให้คำปรึกษา แนะนำ แก้ไขปัญหาทางจริยธรรม

2. ใช้วิธีการฝึกอบรมทางจริยธรรม โดยผึกอบรมไปที่การสร้างจิตสำนึกในหมู่พนักงาน

3. การให้รางวัลแก่ผู้ที่ปฏิบัติตามจริยธรรม เพื่อเป็นแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน

4. การจัดให้มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดีหรือบรรษัทภิบาล

4 E

- Education การศึกษา

- Environment สิ่งแวดล้อม

- Energy Conservation การอนุรักษ์พลังงาน

- Employee Engagement ส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วมทำกิจกรรมเพื่อสังคม

น. ส. ณัฏฑ์ฐิกุล สมคำหล้า ก.จ.2/1 เลขที่ 6

บทที่ 8

จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

ปัจจุบันการบริหารจัดการธุรกิจขององค์การต่าง ๆ ไม่สามารถกระทำบนพื้นฐานของการแสวงหาผลประโยชน์เฉพาะในส่วนของผู้ประกอบการแต่เพียงผู้เดียวอีกต่อไป แต่การดเนินงานต่าง ๆ ต้อง ผลกระทบถึงผู้มีส่วนได้เสียทั้งหมดมีส่วนเกี่ยวข้อง การจัดสรรประโยชน์จะต้องเป็นธรรมกับทุกฝ่าย จะต้องให้ความเป็นธรรมกับสังคมอย่างยิ่งในยุคปัจจุบัน เพระว่าธุรกิจทุกวันนี้จะต้องพึ่งพาสังคมและสิ่งแวดล้อมมาก

ความหมายและลักษณะของจริยธรรม

จริยธรรม หมายถึง ธรรมของการปฏิบัติ จรรยาบรรณจึงเป็นข้อกำหนดทางจริยธรรมของวิชาชีพ เป็นข้อกำหนดทางศีลธรรมหรือจริยธรรมที่สมาชิกในกลุ่มวิชาชีพนั้น ๆ จำทำขึ้น เช่น จรรยาบรรณของสมาคมจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย เป็นต้น

แนวคิดเกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ

1.Teleology แนวคิดมุ่งพิจารณาถึงความต้องการของประชาชนในสังคมเป็นสำคัญ

2.Deontology แนวคิดที่มุ่งเน้นสรุปสิ่งที่พึ่งกระทำจากความสำนึกในความผิดชอบชั่วดีของมนุษย์มากกว่าจะสรุปจากผลที่เกิดขึ้นเมื่อได้ทำไปแล้ว

3.Cultural Relativism แนวคิดที่พิจารณาข้อสรุปทางจรรยาบรรณของสังคมต่าง ๆ โดยพิจารณาร่วมกับความแตกต่างทางวัฒนธรรม

4.Universalism แนวคิดที่พิจารณาแนวทางปฏิบัติที่จะถือว่าเป็นการไร้จริยธรรมจากการมองสังคมโดยเสมอภาค

กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม

การอบรมหรือการขัดเกลาสังคมถือเป็นการปลูกฝังบรรทัดฐานให้เกิดขึ้นในตัวบุคคล เพื่อให้บุคคลนั้นสามารถอยู่ร่วมในสังคมและทำงานร่วมกันได้ กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรมอันได้แก่

1.สถาบันครอบครัว 2.สถาบันการศึกษา

3.กลุ่มเพื่อน 4.สื่อสารมวลชน

5.สถาบันทางสังคมและศาสนา

ความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ

1.เพื่อความสามารถในการแข่งขัน

2.การเพิ่มผลผลิต

3.ความสัมพันธุ์กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

4.กฎหมายข้อบังคับจากรัฐ

5.ธุรกิจที่มีจริยธรรม จะช่วยป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่ชุชนและสิ่งแวดล้อม

6.ธุรกิจที่มีจริยธรรม ย่อมก่อให้เกิดความสบายใจ และความสุขในการทำงาน

การพัฒนาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1. อำนาจอันชอบธรรม เป็นเรื่องละเอียดอ่อนทุกองค์การจะต้องมี

2. ความเชื่อมั่น

3. ความพร้อมที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง

4. การวางแผนพัฒนาที่ดี

5. ผลประโยชน์ร่วม

6. การปฏิบัติที่สม่ำเสมอพร้อมกับการพัฒนาจิตสำนึกที่ดีที่ถูกต้องเหมาะสมและกลยุทธ์ที่หลายรูปแบบ

7. การควบคุมอย่างต่อเนื่อง

ปัญหาจริยธรรมทางธุรกิจ

1. ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว 3.แรงกดดันเพื่อให้ได้มาซึ่งผลกำไร

2. จุดมุ่งหมายของธุรกิจกับค่านิยมส่วนบุคคล 4.ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม

แนวทางการแก้ปัญหาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1.ตั้งคณะกรรมการจริยธรรมหรือจ้าหน้าที่ทางจริยธรรม

2.ใช้วิธีการฝึกอบรมทางจริยธรรม

3.การให้รางวัลแก่ผู้ที่ปฏิบัติตามจริยธรรม

3.การจัดให้มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดีหรือบริษัทภิบาล

การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม

1. ความรับผิดชอบต่อสุขภาพและสวัสดิการของบุคคล

2. ความรับผิดชอบด้านสุขภาพและบริการ

3. ความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม

4. ความรับผิดชอบต่อข้อมูลข่าวสาร และการศึกษา

5. ความรับผิดชอบด้านศาสนาและวัฒนธรรม

6. ความรับผิดชอบด้านสิทธิมนุษยชน

ความรับผิดชอบต่อสังคมสำหรับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มี 2 ประเภท ใหญ่

1.ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลัก

- ลูกจ้าง

- ผู้ถือหุ้นและเจ้าของ

- คู่แข่ง

- เจ้าหนี้

- ลูกค้า

- ผู้จำหน่ายวัตถุดิบ

- ผู้จัดจำหน่ายสินค้า

2. ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียรอง

- ชุมชนท้องถิ่น

- รัฐบาล

- สภาพแวดล้อมระดับโลก

- นักรณรงค์เพื่อสังคม

- สื่อมวลชน

- การรับฟังความเห็นของสาธารณชน

- กลุ่มสมาคมการค้าต่าง ๆ

แนวปฏิบัติในการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม

1. เคารพกฎหมาย

2. พูดแต่ความจริง

3. ทำในสิ่งที่ถูกต้องเท่านั้น

4. เคารพผู้อื่น

5. ไม่ทำร้ายหรือทำให้ผู้อื่นได้รับบาดเจ็บ

6. สร้างการมีส่วนร่วม

7. ดำเนินการตามความรับผิดชอบที่มีอยู่อย่างเต็มที่

จรรยาบรรณของสมาชิกสมาคมบริษัทหลักทรัพย์

1. สมาชิต้องประกอบธุรกิจด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต และมีจริยธรรม

2. สมาชิกต้องปฏิบัติต่อลูกค้าอย่างเป็นธรรม

3. สมาชิกต้องเปิดเผยให้ลูกค้าทราบ ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมเกี่ยวกับการให้บริการ

4. สมาชิกห้ามเปิดเผยข้อมูลลูกค้า

5. สมาชิกห้ามกระทำสิ่งที่ผิดกฏหมายที่เป็นภัยความมั่นคงของประเทศ

นางสาว ณัฏฐา จันทร์ต้ะ กจ.2/1 เลขที่ 7

สรุปบทที่ 8 จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

อานันท์ ปันยารชัน ได้ให้ความหมายว่า จริยธรรมทางธุรกิจ คือ การผสมผสานระหว่างเศรษฐกิจและจริยธรรม การสร้างความสำเร็จในการประกอบการอย่างมีความรับผิดชอบ มีความยั่งยืน มีผลในระยะยาวเพื่อสร้างความสมดุลระหว่างผู้มีส่วนได้เสียในกิจการนั้นๆ

แนวคิดที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ

1.Teleology ได้แก่ ความสำคัญของปัจเจกบุคคลและความสำคัญต่อของกลุ่ม

2.Deontology เป็นแนวคิดที่มุ่งเน้นถึงสิทธิส่วนบุคคลและพฤติกรรมการแสดงออก สิทธิส่วนบุคคลในการกระทำ

3.Cultural Relativism เป็นวัฒนธรรมสังคมที่มีแนวการปฏิบัติในการบริหาธุรกิจ

4.Universalism แนวทางปฏิบัติที่จะถือว่าเป็นการไร้จริยธรรมจากการ มองสังคมโดยเสมอภาค

กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม

1.สถาบันครอบครัว เป็นหน่วยขัดเกลาสำคัญที่สุดจะได้รับการอบรมจากครอบครัวอยู่ตลอด

2.สถาบันการศึกษา เป็นหน่วยขัดเกลาที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพ คุณธรรมและจริยธรรม

3.กลุ่มเพื่อน เป็นหน่วยที่มีอิทธิพลต่อเด็กมาก ช่วยให้เด็กได้รับการเรียนรู้ในสิ่งใหม่ๆ

4.สื่อสารมวลชน เป็นสิ่งตีพิมพ์ต่างๆและเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่

5.สถาบันทางสังคมและศาสนา เป็นหน่วยที่มีบทบาทมีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิต

ความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ

1.เพื่อความสามารถในการแข่งขัน

2.การเพิ่มผลผลิต

3.ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย

4.กฎหมาย ข้อบังคับจากภาครัฐ

5.ธุรกิจที่มีจริยธรรมจะสามารถช่วยป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่ชุมชน

การพัฒนาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1.อำนาจอันชอบธรรม

2.ความเชื่อมั่น

3.ความพร้อมที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง

4.การวางแผนพัฒนาที่ดี

5.ผลประโยชน์ร่วม

6.การปฏิบัติที่สม่ำเสมอ

7.การควบคุมอย่างต่อเนื่อง

ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ

1.ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว

2.จุดมุ่งหมายของธุรกิจกับค่านิยมส่วนบุคคล มุ่งเน้นจุดมุ่งหมายของกิจการเป็นหลัก

3.แรงกดดันเพื่อให้ได้มาซึ่งผลกำไร การแข่งขันทางธุรกิจที่มุ่งรายได้และกำไรมากเกินไป

4.ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม

วิกฤติทางด้านจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1.กลุ่มบุคคลผลักดันให้เกิดความเปลี่ยนแปลง

2.พยายามสร้างความมั่งคั่งทางธุรกิจ

3.โลกาภิวัฒน์ที่แพร่กระจาย การปรับตัวการเปลี่ยนแปลง

4.เน้นค่านิยมของคน เน้นวัตถุนิยมมากขึ้น

5.ค่านิยมคนเอเชียเน้นทำงานมากขึ้น

แนวทางการแก้ไขปัญหาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1.ตั้งคณะกรรมการจริยธรรม

2.วิธีการฝึกอบรมทางจริยธรรม

3.รางวัลแก่ผู้ที่ปฏิบัติตามจริยธรรม

4.การจัดให้มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดีหรือบรรษัทภิบาท

การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม

1.ความรับผิดชอบต่อสุขภาพและสวัสดิภาพของบุคคล

2.ความรับผิดชอบด้านคุณภาพและบริการ

3.ความรับผิดชอบต่อข้อมูลข่าวสารและการศึกษา

4.ความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม

5.ความรับผิดชอบด้านศาสนาและวัฒนธรรม

6.ความรับผิดชอบด้านสิทธิมนุษยชน

ความรับผิดชอบต่อสังคมสำหรับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

4 E

1.Education การศึกษา

2.Environment สิ่งแวดล้อม

3.Energy conservation การอนุรักษ์พลังงาน

4.Employee Engagement การส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วมในสังคม

เสาวนีย์ มีสอน เลขที่ 26 กจ. 2/1

สรุปบทที่ 8 เรื่อง จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

1. ความหมายและลักษณะของจริยธรรม

จริยธรรมทางธุรกิจ คือ การผสมผสานระหว่างเศรษฐกิจและจริยธรรม โดยมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมนโยบายและการปฏิบัติของภาคธุรกิจในการสร้างความสำเร็จในการประกอบการอย่างมีความรับผิดชอบ มีความยั้งยืนมีผลในระยะยาวในขณะเดียวกันก็ช่วยสร้างความสมดุลระหว่างผู้มีส่วนได้เสียในกิจการนั้นๆ อันได้แก่ ผู้ลงทุนลูกจ้าง ลูกค้า ชุมชน ตลอดจนภาพสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุล

จรรยาบรรณ หมายถึง หลักของความประพฤติ ส่วนจริยธรรม หมายถึง ธรรมของการปฏิบัติ จรรยาบรรณจึงเป็นข้อกำหนดทางจริยธรรมของวิชาชีพ เป็นข้อกำหนดทางศีลธรรมหรือจริยธรรมที่สมาชิกในกลุ่มวิชาชีพนั้น ๆ จัดทำขึ้น

2. แนวคิดที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ

1. Teleology การกระทำหรือพฤติกรรมที่ถูกต้องหรือยอมรับได้ ได้แก่การกระทำที่ก่อให้เกิดผลที่พึงปรารถนาและแบ่งพิจารณาออกเป็นสองทาง

2. Deontology แนวคิดที่มุ่งเน้นสรุปสิ่งที่พึงกระทำจากความสำนึกในความผิดชอบชั่วดีมากว่าผลที่เกิดขึ้นเมื่อได้ทำไปแล้ว

3. Culture Relativism เป็นแนวคิดที่พิจารณาข้อสรุปทางจรรยาบรรณของสังคมต่างๆ โดยพิจารณาร่วมกับความแตกต่างทางวัฒนธรรม

4. Universalism เป็นแนวคิดที่พิจารณาแนวทางปฏิบัติที่ถือว่าเป็นการไร้จริยธรรม จากการมองสังคมโดยเสมอภาค

3. กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม

การขัดเกลาทางสังคม เป็นกระบวนการที่คนทุกคนต้องประสบตั้งแต่เด็กจนถึงผู้ใหญ่เพื่อการเรียนรู้ และดูดซับค่านิยม ผู้ทำหน้าที่ขัดเกลาทางสังคม คือ

1. สถาบันครอบครัว

2. สถาบันการศึกษา

3. กลุ่มเพื่อน

4. สื่อสารมวลชน

5. สถาบันทางสังคมและศาสนา

4. ความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ

1. เพื่อความสามารถในการแข่งขัน

2. การเพิ่มผลผลิต

3. ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย

4. กฎหมาย ข้อบังคับจากภาครัฐ

5. ธุรกิจที่มีจริยธรรม จะสามารถช่วยป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่ชุมชนและสิ่งแวดล้อม

6. ธุรกิจที่มีจริยธรรม ย่อมก่อให้เกิดความสบายใจ

5. การพัฒนาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ องค์ประกอบที่สำคัญต่างๆ ดังนี้

1. อำนาจอันชอบธรรม

2. ความเชื่อมั่น

3. ความพร้อมที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง

4. การวางแผนพัฒนาที่ดี

5. ผลประโยชน์ร่วม

6. การปฏิบัติที่สม่ำเสมอ

7. การควบคุมอย่างต่อเนื่อง

6. ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ พิจารณาจาก

1. ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว

2. จุดมุ่งหมายของธุรกิจกับค่านิยมส่วนบุคคล

3. แรงกดดันเพื่อให้ได้มาซึ่งผลกำไร

4. ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม

7. วิกฤติทางด้านจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1. กลุ่มต่างๆ ล้วนเป็นผู้มีส่วนผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นในสังคม

2. ค่านิยมเอเชียที่เน้นการทำงานมากขึ้น

3. ความพยายามสร้างความมั่นคั่งทางธุรกิจ

4. โลกาภิวัตน์แพร่กระจายทั่วภูมิภาคแต่ประชากรปรับตัวไม่ทันกับความเปลี่ยนแปลง

5. ค่านิยมของคนเน้นวัตถุมากยิ่งขึ้น

8. แนวทางการแก้ไขปัญหาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1. ตั้งคณะกรรมการจริยธรรม หรือเจ้าหน้าที่ทางจริยธรรม

2. ใช้วิธีการฝึกอบรมทางจริยธรรม

3. การให้รางวัลแก่ผู้ที่ปฏิบัติตามจริยธรรม

4. การจัดให้มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดีหรือบรรษัทภิบาล

9. การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม

1. ความรับผิดชอบต่อสุขภาพและสวัสดิภาพของบุคคล

2. ความรับผิดชอบด้านคุณภาพและบริการ

3. ความรับผิดชอบต่อข้อมูลข่าวสาร และการศึกษา

4. ความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม

5. ความรับผิดชอบด้านศาสนาและวัฒนธรรม

6. ความรับผิดชอบด้านสิทธิมนุษยชน

ระดับความรับผิดชอบ

1. Economic responsibility

2. Legal responsibility

3. Ethical responsibility

4. Discretionary responsibility

5. ระดับความรับผิดชอบต่อสังคมทั้งหมด

ทฤษฎี 4 E

1. Education การศึกษา

2. Environment สิ่งแวดล้อม

3. Energy conservation การอนุรักษ์พลังงาน

4. Employment Engagement การส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วมในสังคม

นางสาวภาวนา สุนันตา เลขที่ 16 กจ.2/1

สรุปบทที่ 8

เรื่อง จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

ความหมายและลักษณะของจริยธรรม

คือ การผสมผสานระหว่างเศรษฐกิจและจริยธรรม โดยมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมนโยบายและการปฏิบัติของภาคธุรกิจในการสร้างความสำเร็จในการประกอบการอย่างมีความรับผิดชอบ มีความยั่งยืน มีผลในระยะยาวในขณะเดียวกันก็ช่วยสร้างความสมดุลระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในกิจการนั้นๆ อันได้แก่ ผู้ลุงทุน ลูกจ้าง ชุมชน ตลอดจนสภาพสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุล

จรรยาบรรณ หมายถึง ธรรมของการปฏิบัติ จรรยาบรรณจึงเป็นข้อกำหนดทางจริยธรรมของวิชาชีพ เป็นข้อกำหนดทางศีลธรรมหรือจริยธรรมที่สมาชิกในกลุ่มวิชาชีพนั้นๆ จัดทำขึ้น

แนวคิดที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ(The Concept of Business Ethic)

1. Teleology แนวคิดนี้มุ่งพิจารณาถึงความต้องการของประชาชนในสังคม โยสรุปว่าการกระทำหรือพฤติกรรมที่ถูกต้องหรือยอมรับได้ ได้แก่ ความสำคัญของปัจเจกบุคคล (Egoism) ซึ่งประเมินค่าความถูกต้องหรือพฤติกรรมที่ยอมรับได้จากผลที่จะก่อให้เกิดกับบุคคลและความสำคัญต่อกลุ่มบุคคล (Utilitarianism) จะประเมินค่าความถูกต้องจากผลที่จะก่อให้เกิดกับบุคคลเช่นกัน

2. Deontology เป็นแนวคิดที่มุ่งเน้นสรุปสิ่งที่พึงกระทำจากความสำนึกในความผิดชอบชั่วดีของมนุษย์มากกว่าจะสรุปจากผลที่เกิดขึ้นเมื่อทำไปแล้ว ดังนั้น Deontology จึงเป็นแนวคิดที่คำนึงถึงสิทธิส่วนบุคคลและพฤติกรรมการแสดงออกมากกว่าจะคำนึงถึงผลที่เกิดขึ้น

3. Cultural Relativism เป็นแนวคิดที่พิจารณาข้อสรุปทางจรรยาบรรณของสังคมต่างๆ โดยพิจารณาร่วมกับความแตกต่างทางวัฒนธรรม แต่การที่บุคคลจะตัดสินใจในเรื่องของ ความถูกต้อง ความผิด ความยุติธรรมหรือความไม่ยุติธรรม อาจมีความหมายที่แตกต่างกันได้เนื่องจากทัศนคติของคนที่มาจากวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน

4. Universalism เป็นแนวคิดที่พิจารณาแนวทางปฏิบัติที่จะถือว่าเป็นการไร้จริยธรรมจากการมองสังคมโดยเสมอภาค

3. กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม

การอบรมหรือขัดเกลาทางสังคม (Socialization) ถือว่าเป็นกระบวนการปลูกฝังบรรทัดฐานของกลุ่มให้เกิดขึ้นในตัวบุคคล เพื่อให้บุคคลนั้นสามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้สามารถทำงานร่วมกับบุคคลอื่นๆ และปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้องในสายตาของสังคม และถือว่าเป็นกระบวนการหล่อหลอมทางวัฒนธรรม ซึ่งคนแต่ละคนได้เรียนรู้และเชื่อถือในค่านิยมตามแบบแผนพฤติกรรมของสังคม

สำหรับผู้ทำหน้าที่ในการขัดเกลาทางสังคม ซึ่งถือว่าเป็นผู้ที่มีบทบาทและมีความสำคัญในกระบวนการเสริมสร้างจริยธรรมที่พึงจะกล่าวถึง คือ

1.สถาบันครอบครัว

2.สถาบันการศึกษา

3.กลุ่มเพื่อน

4.สื่อสารมวลชน

5.สถาบันทางสังคมและศาสนา

4.ความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ

จริยธรรมในการบริหารธุรกิจ (Business Ethics) เป็นการนำอาหลักจริยธรรมและคุณธรรมมาใช้ในการบริหารจัดการธุรกิจ อะไรที่สังคมถือว่าไม่ถูกต้อง เช่น การทุจริต อะไรที่ผิดในด้านจริยธรรม เมื่อนำมาใช้ในธุรกิจ ผู้ที่อยู่ในวงธุรกิจจะต้องผูกพันอยู่กับหลักจริยธรรมอันเดียวกับที่สังคมยอมรับด้วย

1.เพื่อความสามารถในการแข่งขัน

2.การเพิ่มผลผลิต

3.ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholders)

4.กฎหมาย ข้อบังคับจากภาครัฐ

5.ธุรกิจที่มีจริยธรรม จะสามารถช่วยป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่ชุมชนและสิ่งแวดล้อม

6.ธุรกิจที่มีจริยธรรม ย่อมก่อให้เกิดความสบายใจ

5.การพัฒนาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

การพัฒนาจริยธรรมในการทำงานภายในองค์การต่างๆ นั้น ผู้บริหารไม่ควรที่จะทำการพัฒนาด้านบุคคลแต่เพียงอย่างเดียว ทั้งนี้เพราะถ้าหากบุคคลที่ดีไปอยู่หรือร่วมงานกับองค์การที่มีระบบไม่ดีย่อมทำให้สูญเสียทรัพยากรบุคคลที่ดีไปได้โดยง่าย ในทำนองเดียวกัน ถ้าหากองค์การมีระบบในการดำเนินที่ดี แต่มีทรัพยากรบุคคลที่ไม่ดีก็ย่อมส่งผลไปถึงการดำเนินงานที่ไม่ประสบความสำเร็จได้ ซึ่งการพัฒนาจริยธรรมในระบบของแงค์การให้ได้รับความสำเร็จนั้นขึ้นอยู่กับองค์ประกอบที่สำคัญต่างๆ ดังนี้

1. อำนาจอันชอบธรรม

2. ความเชื่อมั่น

3. ความพร้อมที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง

4. การวางแผนพัฒนาที่ดี

5. ผลประโยชน์ร่วม

6. การปฏิบัติที่สม่ำเสมอ

7. การควบคุมอย่างต่อเนื่อง

6. ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ

1.ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว

2.จุดมุ่งหมายของธุรกิจกับค่านิยมส่วนบุคคล

3.แรงกดดันเพื่อให้ได้มาซึ่งผลกำไร

4.ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม

7.วิกฤติทางด้านจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1.กลุ่มต่างๆเป็นผู้มีส่วนผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นในสังคม

2.ค่านิยมเอเชียที่เน้นการทำงานมากขึ้น

3.ความพยายามสร้างความมั่นคงทางธุรกิจ

4.โลกาภิวัฒน์แพร่กระจายทั่วภูมิภาคแต่ประชากรปรับตัวไม่ทันกับความเปลี่ยนแปลง

5.ค่านิยมของคนเน้นวัตถุมากยิ่งขึ้น

8.แนวทางการแก้ไขปัญหาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1.ตั้งคณะกรรมการจริยธรรม (Ethics Committee)

2.ใช้วิธีการฝึกอบรมทางจริยธรรม

3.การให้รางวัลแก่ผู้ที่ปฏิบัติตามจริยธรรม

4.การจัดให้มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดีหรือบรรษัทภิบาล (Good Corporate Governance)

9.การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม

1.ความรับผิดชอบต่อสุขภาพและสวัสดิภาพของบุคคล (Health and Welfare)

2.ความรับผิดชอบด้านคุณภาพและบริการ (Products and Services)

3.ความรับผิดชอบต่อข้อมูลข่าวสาร และการศึกษา (Information and Education)

4.ความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม (Environment)

5.ความรับผิดชอบด้านศาสนาและวัฒนธรรม (Religion and Culture)

6.ความรับผิดชอบด้านสิทธิมนุษยชน (Human Rights)

10.ความรับผิดชอบต่อสังคมสำหรับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

10.1ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลัก (Primary Stakeholders)

10.2ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียรอง (Secondary Stakeholders)

11.แนวปฏิบัติในการแสดงความรับชอบต่อสังคม

1. เคารพกฎหมาย

2. พูดแต่ความจริง

3. ทำในสิ่งที่ถูกต้องเท่านั้น

4. เคารพผู้อื่น

5. ไม่ทำร้ายหรือทำให้ผู้อื่นได้รับอันตราย

6. สร้างการมีส่วนร่วม

7. ดำเนินการตามความรับผิดชอบที่มีอยู่อย่างเต็มที่

12.จรรยาบรรณ (Code of Ethics)

12.1 จรรยาบรรณของสมาชิกสมาคมบริษัทหลักทรัพย์

น.ส.จริสา วงศ์คำ เลขที่ 3 กจ.2/1

สรุปบทที่ 8

เรื่อง   จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

 

ความหมายและลักษณะของจริยธรรม

                การดำเนินธุรกิจในยุคใหม่จึงจำเป็นต้องมีการกำหนดบทบัญญัติของการปฏิบัติที่มีจริยธรรมที่ดีสำหรับผู้บริหาร  หรือความมีจรรยาบรรณในการดำเนินธุรกิจ   สำหรับองค์การที่จะต้องบริหารธุรกิจอย่างมีคุณธรรม  อยู่ในกรอบของความดี ความงาม ความถูกต้อง จะต้องไม่ปฏิบัติผิดต่อลูกค้า สาธารณชนและกลุ่มผลประโยชน์ที่เกี่ยวข้อง  อันจะก่อให้เกิดความเสียหายในทางศีลธรรมตลอดจนความเสื่อมทางจริยธรรม

 

แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ (The Concept of  Business Ethic)

1.       Teleology   ความสำคัญของปัจเจกบุคคล และความสำคัญต่อกลุ่มบุคคล

2.       Deontology  สิทธิส่วนบุคคลในการกระทำ สิทธิในการทำ สิทธิที่จะมีความเป็นส่วนตัวในเรื่องที่ตนไม่ต้องการเปิดเผย

3.       Cultural Relativism  จรรยาบรรณของสังคมต่าง ๆ โดยพิจารณาร่วมกับความแตกต่างทางวัฒนธรรม

4.       Universalism  เป็นแนวคิดที่พิจารณาแนวทางปฏิบัติที่จะถือว่าเป็นการไร้จริยธรรมจากการมองสังคมโดยเสมอภาค

 

กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม

                สำหรับผู้ทำหน้าที่ในการขัดเกลาทางสังคม ซึ่งถือว่ามีบทบาทและความสำคัญในกระบวนการเสริมสร้างจริยธรรมที่พึงจะกล่าวถึง คือ

1.       สถาบันครอบครัว  ถือว่าเป็นหน่วยขัดเกลาสำคัญที่สุด เพราะบุคคลจะได้รับการอบรมจากครอบครัวอยู่ตลอดเวลา

2.       สถาบันการศึกษา  เป็นหน่วยขัดเกลาที่เป็นทางการและมีอิทธิพลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพและความน่าเชื่อถือในด้านคุณธรรมและจริยธรรม

3.       กลุ่มเพื่อน  เป็นหน่วยที่มีอิทธิพลต่อเด็กมาก

4.       สื่อสารมวลชน ได้แก่  โทรทัศน์ วิทยุ ภาพยนตร์

5.       สถาบันทางสังคมและศาสนา เป็นหน่วยที่มีบทบาทมีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตและความใกล้ชิดกับชุมชน

 

ความจำเป็นที่จะต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ

                จริยธรรมในการบริหารธุรกิจ (Business Ethics) เป็นการนำเอาหลักจริยธรรมและคุณธรรมมาใช้ในการบริหารจัดการธุรกิจ เช่น การทุจริต อะไรที่ผิดในด้านจริยธรรม เป็นต้น

                ดังนั้นความจำเป็นที่จะต้องมีจริยธรรมมีเหตุผลอยู่หลายประการ คือ

1.       เพื่อความสามารถในการแข่งขัน

2.       การเพิ่มผลผลิต

3.       ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย

4.       กฎหมาย ข้อบังคับจากภาครัฐ

5.       ธุรกิจที่มีจริยธรรม จะสามารถช่วยป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่ชุมชนและสิ่งแวดล้อม

6.       ธุรกิจที่มีจริยธรรม ย่อมให้เกิดความสบายใจ ความสุขในการทำงาน

 

การพัฒนาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

                การพัฒนาจริยธรรมในระบบขององค์การให้ได้รับความสำเร็จนั้นขึ้นอยู่กับองค์ประกอบที่สำคัญต่าง ๆ ดังนี้

1.       อำนาจอันชอบธรรม

2.       ความเชื่อมั่น

3.       ความพร้อมที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง

4.       การวางแผนพัฒนาที่ดี

5.       ผลประโยชน์ร่วม

6.       การปฏิบัติที่สม่ำเสมอ

7.       การควบคุมอย่างต่อเนื่อง

 

ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ

1.       ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว

2.       จุดมุ่งหมายของธุรกิจกับค่านิยมส่วนบุคคล

3.       แรงกดดันเพื่อให้ได้มาซึ่งกำไร

4.       ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม

 

วิกฤติทางด้านจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1.       กลุ่มบุคคลต่างๆ ในสังคมที่เป็นตัวผลักดันทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง

2.       ความพยายามสร้างความมั่งคั้งทางธุรกิจ

3.       โลกาวิวัฒน์ที่แพร่กระจายทั่วภูมิภาค แต่ประชาชนปรับตัวไม่ทันกับความเปลี่ยนแปลง

4.       ค่านิยมของคนเน้นวัตถุมากขึ้น

5.       ค่านิยมเอเชียที่เน้น การทำงานมากขึ้น

 

แนวทางการแก้ไขปัญหาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1.       ตั้งคณะกรรมการจริยธรรม

2.       ใช้วิธีการฝึกอบรมทางจริยธรรม

3.       การให้รางวัลแก่ผู้ที่ปฏิบัติตามจริยธรรม

4.       การจัดให้มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดีหรือบรรษัทภิบาล

 

การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม

1.       ความรับผิดชอบต่อสุขภาพและสวัสดิภาพของบุคคล

2.       ความรับผิดชอบด้านคุณภาพและบริการ

3.       ความรับผิดชอบต่อข้อมูลข่าวสารและการศึกษา

4.       ความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม

5.       ความรับผิดชอบด้านศาสนาและวัฒนธรรม

6.       ความรับผิดชอบด้านสิทธิมนุษยชน

 

ความรับผิดชอบต่อสังคมสำหรับผู้มีส่วนได้เสียส่วน

1.       ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลัก

2.       ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียรอง

 

แนวปฏิบัติในการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม

1.       เคารพกฎหมาย

2.       พูดแต่ความจริง

3.       ทำในสิ่งที่ถูกต้องเท่านั้น

4.       เคารพผู้อื่น

5.       ไม่ทำร้าย

6.       สร้างการมีส่วนร่วม

7.       ดำเนินการตามความรับผิดชอบที่มีอยู่อย่างเต็มที่

 

จรรยาบรรณ

                จรรยาบรรณถือเป็นการแสดงความรับผิดชอบระดับจริยธรรมซึ่งสูงกว่าระดับกฏหมายจรรยาบรรณจึงแตกต่างจากกฎหมายตรงที่กฎหมายเป็นการร่างขึ้นเพื่อใช้ของทุกคนในสังคม

                จรรยาบรรณเป็นประโยชน์และมีความสำคัญทั้งต่อผู้ประกอบวิชาชีพและต่อสังคมหลายประการ  อาทิ ช่วยสังคมและควบคุมมาตรฐานของวิชาชีพนั้นๆ ให้เหมาะสม

                จรรยาบรรณของสมาชิกสมาคมบริษัทหลักทรัพย์

-   สมาชิกต้องประกอบธุรกิจด้วยความซื่อสัตย์

-     สมาชิกต้องปฏิบัติต่อลูกค้าอย่างเป็นรูปธรรม

-     สมาชิกต้องเปิดเผยให้ลูกค้าทราบ

-     ห้ามมิให้สมาชิกเปิดเผยข้อมูลของลูกค้า

-     ห้ามมิให้สมาชิกช่วยเหลือหรือสนับสนุนการกระทำที่ผิดกฏหมาย

4         E

-     การศึกษา

-     สิ่งแวดล้อม

-     การอนุรักษ์พลังงาน

-     การส่งเสริมให้พลังงานมีส่วนร่วมในสังคม

น.ส. กาญจนา เจตะวัน เลขที่ 1 กจ. 2/1

สรุปบทที่  8

จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

 

                      จากการศึกษาเรื่อง    จริยธรรมกับการบริหารจัดดารธุรกิจ     ทำให้มองเห็นความสำคัญและแนวคิดในการนำไปปฏิบัติของเรื่อง ดังกล่าว   ดังนี้

 

1.  ความหมายและลักษณะของจริยธรรม

การผสมผสานระหว่างเศรษฐกิจและจริยธรรม  โดยมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมนโยบายและการปฏิบัติของภาคธุรกิจในการสร้างความสำเร็จในการประกอบการอย่างมีความรับผิดชอบ  ยั่งยืน  มีผลในระยะยาวและ  มีมาตรฐานในการปฏิบัติต่าง ๆ ซึ่งเป็นที่ยอมรับและยึดมั่นกันอยู่ภายในวงธุรกิจ

 

2.  แนวคิดที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ

                แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับจรรยาบรรณทางธุรกิจสามารถแยกออกได้หลายแนวทาง  ดังนี้

              2.1 Teleology   เป็นแนวคิดที่มุ่งเน้นพิจารณาถึงความต้องการของประชาชนในสังคมเป็นสำคัญ  อันได้แก่  ปัจเจกบุคคล  และกลุ่มบุคคล  เป็นตัน

                2.2  Deontology    เป็นแนวคิดที่มุ่งเน้นสรุปสิ่งที่พึงกระทำจากความสำนึกในความผิดชอบชั่วดีของมนุษย์

                2.3  Cultural Relativism    เป็นแนวคิดที่พิจารณาข้อสรุปทางจรรยาบรรณของสังคมต่าง ๆ   โดยการพิจารณาร่วมกับความแตกต่างทางวัฒนธรรม

          2.4  Universalism   เป็นแนวคิดที่พิจารณาแนวทางการปฏิบัติที่จะถือว่าเป็นการไร้จริยธรรมจากการมองสังคมโดยเสมอภาค

 

3.  กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม

                       ถือเป็นกระบวนการในการปลูกฝังบรรทัดฐานของกลุ่มให้เกิดขึ้นในตัวบุคคล  เพื่อให้บุคคลสามารถอยู่ร่วมในสังคมได้  และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้

                      ผู้ที่มีบทบาทและมีความสำคัญในกระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม  ได้แก่

                3.1  สถาบันครอบครัว    เป็นหน่วยที่เล็กที่สุด และสำคัญมากที่สุด

                3.2  สถาบันการศึกษา    เป็นหน่วยที่มรอิทธิพลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพและความเชื่อเป็นอย่างมาก

                3.3  กลุ่มเพื่อน    เป็นหน่วยที่จะช่วยให้เด็กได้เรียนเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ   เช่น  การเป็นตัวของตัวเอง

                3.4  สื่อสารมวลชล   เป็นสิ่งที่สร้างความนิยมและความเชื่อ  ทัศนคติในการเรียนรู้พฤติกรรม

                3.5  สถาบันทางสังคมและศาสนา  เป็นหน่วยที่มีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตและความใกล้ชิดชุมชน

 

4.  ความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ

                4.1  เพื่อความสามารถในการแข่งขัน                       4.4  กฎหมาย  ข้อบังคับ  จากรัฐบาล

                4.2  การเพิ่มผลผลิต                                                      4.5  ธุรกิจที่มรจริยธรรมช่วยป้องกันสิ่งต่างๆ

                4.3  ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย                         4.6ธุรกิจที่มีจริยธรรมก่อเกิดความสุขในการทำงาน

 

5.  การพัฒนาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

                การพัฒนาจริยธรรมในระบบขององค์การให้ได้รับความสำเร็จนั้น  ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบที่สำคัญ  ดังนี้ 

                -  อำนาจอันชอบธรรม

                -  ความพร้อมที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง

                - การวางแผนพัฒนาที่ดี

                -  การปฏิบัติที่สม่ำเสมอ

                -  การควบคุมอย่างต่อเนื่อง

 

6.  ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ

                -  ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว

                -  จุดมุ่งหมายของธุรกิจกับค่านิยมส่วนบุคคล

                -  แรงกดดันเพื่อให้ได้มา  ซึ่ง  กำไร

                -  ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม

 

7.  วิกฤติทางด้านจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

                ปัจเจกบุคคล  และกลุ่มบุคคลล้วนมีส่วนผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในสังคม  จิตใจของคนรานั้นย่อมมีการเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพสังคมที่เปลี่ยนไป  นอกจากนั้น ระบบเศรษฐกิจในปัจจุบันที่กำลังประสบปัญหาเนื่องจากอำนาจและการแข่งขัน  รวมถึงการนำเทคโนโลยีต่างๆมาใช้เพิ่มมากขึ้น  จึงก่อให้เกิดการการแข่งขันกันในสังคมธุรกิจโดยขาดความยุติธรรมและการมีจริยธรรมทางธุรกิจ

 

8.  แนวทางการแก้ไขปัญหาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

                -  ตั้งคณะกรรมการจริยธรรม

                -  ใช้วิธีการฝึกอบรมทางจริยธรรม

                -  การให้รางวัลแก่ผู้ที่ปฏิบัติตามจริยธรรม

                -  จัดให้มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดี  หรือ  บรรษัทบาล

 

9.  การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม

                ผู้บริหารองค์การต่างๆ  ควรมีการพิจารณาทบทวนถึงขอบเขตการดำเนินงานของตนเองว่าส่งผลกระทบและปัญหาด้านใดบ้าง  ดังนี้

                -  รับผิดชอบต่อสุขภาพและสวัสดิการส่วนบุคคล

                -  รับผิดชอบด้านคุณภาพและบริการ

                -  รับผิดชอบต่อข้อมูลข่าวสาร  และการศึกษา

                -  รับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม 

                -  รับผิดชอบด้านศาสนา  วัฒนธรรม  และสิทธิมนุษยชน

 

ผู้มีส่วนได้เสียหลัก

                -  ลูกจ้าง  Employees

                -  ผู้ถือหุ้นและเจ้าของ  Stock holders & Owners

                -  ลูกค้า  Customers

                -  ผู้จำหน่ายวัตถุดิบ  Supplier

                -  คู่แข่ง  Competitors

                -  ผู้จัดจำหน่ายสินค้า  Distributors

                -  เจ้าหนี้   Creditors

ผู้มีส่วนได้เสียรอง

                -  การศึกษา  Education

                -  สิ่งแวดล้อม  Environment

                -  การอนุรักษ์พลังงาน  Energy  Conservation

                -  การส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วมในสังคม  Employee  Engagement

 

                จรรยาบรรณ  ถือเป็นการแสดงความรับผิดชอบ  อีกทั้งยังเป็นประโยชน์และมีความสำคัญทั้งต่อผู้ประกอบวิชาชีพและต่อสังคม  และช่วยควบคุมมาตรฐานของวิชาชีพนั้น ๆ   ได้รับความไว้วางใจจากทั้งภาครัฐบาล  เอกชน  และสังคม  ให้ความเชื่อถือ  และช่วยบรรเทาการกระทำที่ไม่สุจริตที่จะเกิดขึ้นต่อไป

 

 

 

 

 

นายวรพล ลีโชติจารุวงศ์ เลขที่ 31 กจ.2/1

สรุปบทที่ 8

เรื่องจริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

ความหมายและลักษณะของจริยธรรม

ได้ระบุไว้ในทางธุรกิจ จริยธรรม(Ethics) หมายถึงความสามารถที่จะสะท้องถึงค่านิยม ในกระบวนการตัดสินใจของธุรกิจเพื่อกำหนดว่าค่านิยมมีผลกระทบอย่างไรกับสวนได้สวนเสีย

จรรยาบรรณ ตามรากศัพท์ หมายถึง หลักของความประพฤติ ส่วนจริยธรรมหมายถึง ธรรมของการปฏิบัติ จรรยาบรรณจึงเป็นข้อกำหนดทางจริยธรรมของวิชาชีพเป็นข้อกำหนดทางศีลธรรมหรือจริยธรรมที่สมาชิกในกลุ่มวิชาชีพนั้นๆ จัดทำขึ้น

แนวคิดที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ

สำหรับแนวความคิดที่เกี่ยวข้องกับจรรยาบรรณมีหลายแนวทาง เช่น

1.Teleology มุ่งพิจารณาถึงความต้องการของประชากรเป็นสำคัญ

2.Deontology แนวความคิดที่มุ่งเน้นสรุปสิ่งที่พึงกระทำจากความสำนึกในความผิดชอบชั่วดี

3.Cultural Relativism เป็นแนวความคิดที่พิจารณาข้อสรุปทางจรรยาบรรณของสังคมต่างๆ

4.Universalism เป็นแนวความคิดที่จะถือว่าไรจริยธรรมจากการมองสังคม

กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม

1.สถาบันครอบครัว ถือว่าสำคัญที่สุดเพราะบุคคลจะได้รับการอบรมจากครอบครัวตลอดเวลา

2.สถาบันการศึกษา ถือว่าเป็นทางการและมีอิทธิพลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพความเชื่อถือ

3.กลุ่มเพื่อน มีอิทธิพลต่อเด็กมากเพราะจะทำให้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ

4.สื่อสารมวลชน เป็นสิ่งที่สร้างความเชื่อและค่านิยมทัศนคติต่างๆ

5.สถาบันทางสังคมและศาสนา เป็นหน่วยที่มีบทบาทอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตกับชุมชน

ความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ

1.เพื่อความสามารถในการแข่งขัน

2.เพื่อเพิ่มผลผลิต

3.ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย

4.กฎหมาย ข้อบังคับจากภาครัฐ

5.ธุรกิจมีจริยธรรมป้องกันไม่ให้เกิดอันตราย

6.ธุรกิจที่มีจริยธรรมก่อให้เกิดความสบายใจ

การพัฒนาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1.อำนาจอันชอบธรรม

2.ความเชื่อมั่น

3.ความพร้อมทีมีต่อการเปลี่ยนแปลง

4.การว่างแผนพัฒนาที่ดี

5.ผลประโยชน์ร่วม

6.การปฏิบัติที่สม่ำเสมอ

7.การควบคุ่มอย่างต่อเนื่อง

ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ

1.ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว อันเกิดจากความโลภ กิเลส ความหลงมั่วเมา

2.จุดมุ่งหมายของธุรกิจกับค่านิยมส่วนบุคคล ความขัดแย้งทางจริยธรรม

3.แรงกดดันเพื่อให้ได้มาซึ่งผลกำไร การแข่งขันที่รุนแรกทำให้ธุรกิจดำเนินไปอย่างขาดจริยธรรม

4.ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม อาจเกิดขึ้นกับผู้ที่มีวัฒนธรรมแตกต่างกัน

วิกฤติทางด้านจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

การพัฒนาของสังคมสมัยใหม่ไปอย่างรวดเร็วทำให้ก่อมีการทำธุรกิจข้ามชาติและมีค่านิยมที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมและทำให้เกิดวิกฤติเศรษฐกิจทำให้ทำลายความมั่นใจ

แนวทางการแก้ไขปัญหาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1.ตั้งคณะกรรมการจริยธรรม เพื่อให้คำปรึกษา

2.ใช้วิธีการฝึกอบรมทางจริยธรรม ช่วยส่งเสริมจริยธรรมในองค์การ

3.การให้รางวัลแก่ผู้ที่ปฏิบัติตามจริยธรรม เป็นแรงจูงใจในการปฏิบัติ

4.การจัดให้มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดีหรือบรรษัทภิบาล

การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม

1.ความรับผิดชอบต่อสุขภาพและสวัสดิภาพของบุคคล

2.ความรับผิดชอบด้านคุณภาพและบริการ

3.ความรับผิดชอบต่อข้อมุลข่าวสาร และการศึกษา

4.ความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม

5.ความรับผิดชอบด้านศาสนาและวัฒนธรรม

6.ความรับผิดชอบด้านสิทธิมนุษยชน

ความรับผิดชอบต่อสั่งคมสำหรับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

1.ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลัก ผู้ที่มีการปฏิสัมพันธ์ในการดำเนินงานโดยตรงกับองค์กร มีส่วนเกี่ยวข้องกับความเสี่ยงและผลประโยชน์ขององค์กร

2.ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียรอง ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากนโยบายหรือการดำเนินงานขององค์กรรวมทั้งผุ้สร้างและผู้รับผลกระทบ

จรรยาบรรณ

ถือเป็นประโยชน์ต่อผู้ประกอบวิชาชีพและต่อสังคมหลายประการ อาทิ ช่วยส่งเสริมและควบคุมมาตรฐานของวิชาชีพนั้นๆ

น.ส.วราภรณ์ แก้วศักดิ์ กจ.2/1 เลขที่ 32

สรุปบทที่ 8 เรื่อง จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

 

ความหมายและลักษณะของจริยธรรม

ความประพฤติความดีงาม จรรยาบรรณจึงเป็นข้อกำหนดทางจริยธรรมของวิชาชีพ เป็นข้อกำหนดทางศีลธรรมหรือจริยธรรมที่สมาชิกในกลุ่มวิชาชีพนั้นๆ จัดทำขึ้น เช่น จรรยาบรรณของแพทย์  จรรยาบรรณของแพทย์ จรรยาบรรณของสมาคมจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย จรรยาบรรณของนักกีฬา

 

แนวคิดที่เกี่ยวกับกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ

            จรรยาบรรณเป็นสิ่งที่สังคมแต่ละแหล่งกำหนดขึ้นทั้งที่ปรากฏชัดเจนหรือเป็นธรรมเนียมปฏิบัติต่อเนื่องกันมานานโดยไม่มีการเขียนเป็นลายลักษณ์อักษร ปรัชญาทางจรรยาบรรณ (Moral Philosophy) สำหรับแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับจรรยาบรรณมีหลายแนวทาง เช่น

1.      Teleology แนวคิดนี้มุ่งพิจารณาถึงความต้องการของประชาชนในสังคมเป็นสำคัญ Deontology เป็นแนวคิดที่มุ่งเน้นสรุปสิ่งที่พึงกระทำจากความสำนึกในความผิดชอบชั่วดีของมนุษย์มากกว่าจะสรุปผลจากผลที่เกิดขึ้นเมื่อได้ทำไปแล้ว

2.      Cultural Relativism เป็นแนวคิดที่พิจารณาข้อสรุปทางจรรยาบรรณของสังคมต่างๆ โดยพิจารณาร่วมกับความแตกต่างทางวัฒนธรรม

3.      Universalism เป็นแนวคิดที่พิจารณาแนวทางปฏิบัติที่จะถือว่าเป็นการไร้จริยธรรมจากการมองสังคมโดยเสมอภาค

 

กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม

สำหรับผู้ทำหน้าที่ในการขัดเกลาทางสังคมซึ่งถือว่าเป็นผู้มีบทบาทและมีความสำคัญในกระบวนการเสริมสร้างจริยธรรมที่พึงจะกล่าวถึง คือ

1.      สถาบันครอบครัว เป็นหน่วยขัดเกลาสำคัญที่สุด เป็นผู้ขัดเกลาเบื้องต้น ครอบครัวเป็นหน่วยที่ใกล้ชิด อบรมสั่งสอน ถ่ายทอดวัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อ แบบแผนทางศีลธรรมและจริยธรรม

2.      สถาบันการศึกษา เป็นหน่วยขัดเกลาที่เป็นทางการและมีอิทธิพลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพและความเชื่อถือในด้านคุณธรรมและจริยธรรม

3.      กลุ่มเพื่อน เช่น ความเป็นตัวของตัวเอง ความเป็นผู้นำ การรู้จักเอาตัวรอด การอยู่ร่วมกันในสังคม และบางทีอาจได้รับค่านิยมหรือความเชื่อทางศีลธรรมหรือจริยธรรมที่แตกต่างกันไป

4.      สื่อสารมวลชน ได้แก่ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ สิ่งตีพิมพ์ต่างๆ Internet เป็นหน่วยที่มีความสำคัญในการปลูกฝังวัฒนธรรมใหม่ๆ ให้แก่เด็กและเยาวชนได้

5.      สถาบันทางสังคมและศาสนา ให้การอบรมสั่งสอนทั้งเด็กและผู้ใหญ่ในด้านคุณธรรมและศีลธรรมการขัดเกลาทางสังคมนี่ได้แก่ การเรียนรู้บรรทัดฐานใหม่ของคนในสังคม ดังนั้น ทำให้บุคคลมีพฤติกรรม บุคลิกภาพ ที่แตกต่างกันไปจากที่เคยเรียนรู้

 

ความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ

            จริยธรรมในการบริหารธุรกิจ (Business Ethics) เป็นการนำเอาหลักจริยธรรมและคุณธรรมมาใช้ในการบริหารจัดการธุรกิจ อะไรที่สังคมถือว่าไม่ถูกต้อง

1.      เพื่อความสามารถในการแข่งขัน จะอยู่ที่การตรงไปตรงมาและการต่อรองที่ยุติธรรมโดยปราศจากการคิดคดทรยศ หักหลัง ฉ้อโกง การไม่ไว้ใจซึ่งกันและกัน

2.      การเพิ่มผลผลิต พนักจะมีขวัญกำลังใจมีความเต็มใจ กระตือรือร้นในการทำงาน มีความจงรักภักดีทุ่มเทแรงกายแรงใจต่อกิจการ

3.      ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย ทำให้ลูกค้ามีความเชื่อถือศรัทธา เกิดการยอมรับในการดำเนินงานของกิจการ ซึ่งจะก่อให้เกิดความมั่นคงและมีความสามารถที่จะดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพในระยะยาวได้

4.      กฎหมาย ข้อบังคับจากภาครัฐ จะช่วยลดความจำเป็นของภาครัฐในการออกกฎระเบียบ ข้อบังคับที่มากเกินความจำเป็น ซึ่งอาจจะมีผลกระทบต่อความคล่องตัวในการบริหารงานได้

5.      ธุรกิจที่มีจริยธรรม จะสามารถช่วยป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่ชุมชนและสิ่งแวดล้อม เช่น การไม่ทิ้งของเสียที่เป็นพิษต่อชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม

6.      ธุรกิจที่มีจริยธรรม ย่อมก่อให้เกิดความสบายใจ ความสุขในการทำงาน และจะช่วยดึงดูดให้คนเข้ามาทำงานกับบริษัท

 

การพัฒนาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

การพัฒนาจริยธรรมในระบบขององค์การให้ได้รับความสำเร็จนั้นขึ้นอยู่กับองค์ประกอบที่สำคัญต่างๆ ดังนี้

1.      อำนาจอันชอบธรรม

2.      ความเชื่อมั่น

3.      ความพร้อมที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง

4.      การวางแผนพัฒนาที่ดี

5.      ผลประโยชน์ร่วม

6.      การปฏิบัติที่สม่ำเสมอ

7.      การควบคุมอย่างต่อเนื่อง

 

ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ

1.      ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว

2.      จุดมุ่งหมายของธุรกิจกับค่านิยมส่วนบุคคล

3.      แรงกดดันเพื่อให้ได้มาซึ่งผลกำไร

4.      ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม

 

วิกฤติทางด้านจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

            ผู้ที่มีความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจย่อมเอารัดเอาเปรียบผู้ที่อ่อนแอกว่า สำหรับวิกฤติเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นทั่วภูมิภาคเอเชียรวมถึงประเทศไทยด้วยนั้น ก็เป็นผลมาจากกระแสโลกาภิวัตน์ที่แพร่เข้ามาอย่างรวดเร็ว โดยมิได้ระวังหรือมีความพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว เช่น การปล่อยเสรีทางด้านอัตราการแลกเปลี่ยนเงินตราสกุลต่างๆ รวมถึงการทะลักของเงินทุนขนาดใหญ่จากต่างประเทศ และที่สำคัญก็คือการเปิดตลาดเสรีทางด้านการค้าระหว่างประเทศ จึงเปิดโอกาสให้นักลงทุนที่ขาดคุณธรรมและไร้จริยธรรมแสวงหาผลประโยชน์บนความรู้เท่าไม่ถึงการณ์

แนวทางการแก้ไขปัญหาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1.      ตั้งคณะกรรมการจริยธรรม

2.      ใช้วิธีการฝึกอบรมทางจริยธรรม

3.      การให้รางวัลแก่ผู้ที่ปฏิบัติตามจริยธรรม

4.      การจัดให้มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดีหรือบรรษัทภิบาล

 

การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม

1.      ความรับผิดชอบต่อสุขภาพและสวัสดิภาพของบุคคล

2.      ความรับผิดชอบด้านคุณภาพและบริการ

3.      ความรับผิดชอบต่อข้อมูลข่าวสาร และการศึกษา

4.      ความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม

5.      ความรับผิดชอบด้านศาสนาและวัฒนธรรม

6.      ความรับผิดชอบด้านสิทธิมนุษยชน

 

ความรับผิดชอบต่อสังคมสำหรับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

น.ส.เบญจมาศ เขื่อนแก้ว ห้อง กจ.2/1 เลขที่ 9

สรุป บทที่ 8
จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ 

จริยธรรมทางธุรกิจ คือ การผสมผสานระหว่างเศรษฐกิจและจริยธรรม โดยมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมนโยบายและการปฏิบัติของภาคธุรกิจในการสร้างความสำเร็จในการประกอบการอย่างมีความรับผิดชอบ
แนวคิดเกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ
1.Teleology แนวคิดมุ่งพิจารณาถึงความต้องการของประชาชนในสังคมเป็นสำคัญ
2.Deontology เป็นแนวคิดที่มุ่งเน้นถึงสิทธิส่วนบุคคลและพฤติกรรมการแสดงออกมากกว่าจะคำนึงถึงผลที่เกิดขึ้นสำหรับในองค์การธุรกิจแล้ว
3. Cultural Relativism เป็นแนวคิดที่พิจารณาข้อสรุปทางจรรยาบรรณของสังคมต่างๆ
4. Universalism เป็นแนวคิดที่พิจารณาแนวทางปฏิบัติที่จะถือว่าเป็นการไร้จริยธรรมจากการมองสังคมโดยเสมอภาค
กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม  
1.สถาบันครอบครัว
2. สถาบันการศึกษา
3. กลุ่มเพื่อน
4. สื่อสารมวลชน
5. สถาบันทางสังคมและศาสนา

ความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ

1. เพื่อความสามารถในการแข่งขัน
2. การเพิ่มผลผลิต
3. ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
4. กฎหมาย ข้อบังคับจากภาครัฐ
5. ธุรกิจที่มีจริยธรรม จะสามารถช่วยป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่ชุมชนและสิ่งแวดล้อม
6. ธุรกิจที่มีจริยธรรม ย่อมก่อให้เกิดความสบายใจ ความสุขในการทำงาน
ปัญหาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ
1. ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว อันเกิดจากความโลภ กิเลส ความหลงมัวเมา
2. จุดมุ่งหมายของธุรกิจกับค่านิยมส่วนบุคคล
3. แรงกดดันเพื่อได้มาซึ่งผลกำไร จากแรงกดดันในการแข่งขันที่มีความรุ่นแรงและไร้ขอบเขต
4. ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม การส่งสินค้าที่ด้อยคุณภาพไม่ได้มาตรฐาน

แนวทางการแก้ปัญหาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ
1.ตั้งคณะกรรมการจริยธรรมหรือเจ้าหน้าที่ทางจริยธรรมเพื่อให้คำปรึกษา
2.ใช้วิธีการฝึกอบรมทางจริยธรรม
3.การให้รางวัลแก่ผู้ที่ปฏิบัติตามจริยธรรม
4.การจัดให้มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดีหรือบริษัทภิบาล
การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม
1. ความรับผิดชอบต่อสุขภาพและสวัสดิการของบุคคล
2.    ความรับผิดชอบด้านคุณภาพและบริการ
3.    ความรับผิดชอบต่อข้อมูลข่าวสารและการศึกษา
4.   ความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม
5.   ความรับผิดชอบด้านศาสนาและวัฒนธรรม
6.   ความรับผิดชอบด้านสิทธิมนุษยชน

นางสาว ศิวพร วิลาศ ห้อง กจ.2/1 เลขที่ 24

สรุปบทที่ 8
เรื่อง จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

       จริยธรรมทางธุรกิจ เป็นการนำหลักจริยธรรมาใช้กับธุรกิจ เพื่อให้การดำเนินการธุรกิจเป็นไปอย่างถูกต้อง เหมาะสม และอยู่ในศีลธรรม

เหตุที่ธุรกิจต้องมีจริยธรรม

1. ป้องกันธุรกิจที่มุ่งเน้นหากำไรเพียงอย่างเดียวโดยไม่คำนึงถึงจริยธรรม
2. หลีกเลี่ยงการเน้นเป้าหมายของสาธารณประโยชน์โดย (Do no harm)
3. จริยธรรมที่ทำให้เกิดความไว้วางใจและเกิดพันธมิตรระหว่างหุ้นส่วน
4. ป้องกันธุรกิจจากการดำเนินการที่ผิดจากพนักงานและคู่แข่งที่ไม่มีจริยธรรม
5. เป็นการป้องกันบุคคลในองค์กรธุรกิจ
6. เหตุผลส่วนบุคคล คนที่มีจริยธรรม ความมั่นคงด้านจิตใจ

ปัจจัยที่ทำให้เกิดปัญหาด้านจริยธรรม

1. มุ่งประโยชน์ส่วนตนและความเห็นแก่ตัว
2. มีแรงกดดันด้านการแข่งขันเกี่ยวกับการได้รับกำไร
3. ความขัดแย้งทางวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน

 การวิเคราะห์ปัญหาด้านจริยธรรม มี 3 วิธี คือ

1. อรรถประโยชน์ (Utility) : วิเคราะห์เปรียบเทียบระหว่างประโยชน์กับต้นทุน
2. วิทธิ (Right) : การเคารพสิทธิมนุษย์โดยข้อจำกัดในการวิเคราะห์คือ การติดความและการขัดแย้งระหว่างสิทธิด้วยกันเอง
3. ความเป็นธรรม (Justice) : การให้โอกาสที่เท่าเทียมกัน ข้อจำกัดในการวิเคราะห์คือ เป็นการยากที่จะจัดสรรต้นทุนและผลประโยชน์อย่างเหมาะสม และบางคนคิดว่าเป็นธรรม คือการกระทำตามกฎระเบียบของสังคมซึ่งไม่จริงเสมอไป การให้โอกาสเท่าเทียมกันต้องคำนึงถึงผลลัพธ์ด้วย

กฎทั่วไปที่นำมาใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาด้านจริยธรรมมี 2 กฎ คือ

1. กฎที่เป็นเอกฉันท์ (The unanimity rule)
2. กฎที่ให้ความสำคัญกับสิ่งใดมากที่สุด (The priority rule)

นางสาว ศิวพร วิลาศ ห้อง กจ.2/1 เลขที่ 24

สรุปบทที่ 8
เรื่อง จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

       จริยธรรมทางธุรกิจ เป็นการนำหลักจริยธรรมาใช้กับธุรกิจ เพื่อให้การดำเนินการธุรกิจเป็นไปอย่างถูกต้อง เหมาะสม และอยู่ในศีลธรรม

เหตุที่ธุรกิจต้องมีจริยธรรม

1. ป้องกันธุรกิจที่มุ่งเน้นหากำไรเพียงอย่างเดียวโดยไม่คำนึงถึงจริยธรรม
2. หลีกเลี่ยงการเน้นเป้าหมายของสาธารณประโยชน์โดย (Do no harm)
3. จริยธรรมที่ทำให้เกิดความไว้วางใจและเกิดพันธมิตรระหว่างหุ้นส่วน
4. ป้องกันธุรกิจจากการดำเนินการที่ผิดจากพนักงานและคู่แข่งที่ไม่มีจริยธรรม
5. เป็นการป้องกันบุคคลในองค์กรธุรกิจ
6. เหตุผลส่วนบุคคล คนที่มีจริยธรรม ความมั่นคงด้านจิตใจ

ปัจจัยที่ทำให้เกิดปัญหาด้านจริยธรรม

1. มุ่งประโยชน์ส่วนตนและความเห็นแก่ตัว
2. มีแรงกดดันด้านการแข่งขันเกี่ยวกับการได้รับกำไร
3. ความขัดแย้งทางวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน

 การวิเคราะห์ปัญหาด้านจริยธรรม มี 3 วิธี คือ

1. อรรถประโยชน์ (Utility) : วิเคราะห์เปรียบเทียบระหว่างประโยชน์กับต้นทุน
2. วิทธิ (Right) : การเคารพสิทธิมนุษย์โดยข้อจำกัดในการวิเคราะห์คือ การติดความและการขัดแย้งระหว่างสิทธิด้วยกันเอง
3. ความเป็นธรรม (Justice) : การให้โอกาสที่เท่าเทียมกัน ข้อจำกัดในการวิเคราะห์คือ เป็นการยากที่จะจัดสรรต้นทุนและผลประโยชน์อย่างเหมาะสม และบางคนคิดว่าเป็นธรรม คือการกระทำตามกฎระเบียบของสังคมซึ่งไม่จริงเสมอไป การให้โอกาสเท่าเทียมกันต้องคำนึงถึงผลลัพธ์ด้วย

กฎทั่วไปที่นำมาใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาด้านจริยธรรมมี 2 กฎ คือ

1. กฎที่เป็นเอกฉันท์ (The unanimity rule)
2. กฎที่ให้ความสำคัญกับสิ่งใดมากที่สุด (The priority rule)

 

 

 

 

นางสาวศศินนท์ พรมวงศ์ กจ.2/1

สรุปบทที่ 8

"จริยธรรม" มาจากคำว่า จริย + ธรรม แปลว่า ธรรมอันบุคคลพึงปฏิบัติ

1.1 ในทางพุทธศาสนา "จริยธรรม คือ มรรค มรรคเป็นวิถีทาง ส่วนจริยธรรมเป็นการปฏิบัติ เพื่อเข้าถึงจุดหมาย โดยมีจุดหมายเพื่อทำให้หมดปัญหา

1.2 พจนานุกรมฯ (2525) "จริยธรรม คือ ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ ศีลธรรม "

1.3 พุทธทาส "จริยธรรม คือ สิ่งที่พึงปฏิบัติ จะต้องปฏิบัติ ซึ่งเป็นเรื่องปรัชญาคือต้องคิดเอง"

1.4 พระราชวรมุณี "จริยธรรม มาจากคำว่า พรหมจรรย์ ซึ่งหมายถึงมรรคหรือไตรสิกขา ซึ่งจะนำมนุษย์ไปสู่จุดมุ่งหมาของชีวิต"

1.5 สุลักษณ์ ศิวรักษ์ "จริยธรรม คือ สิ่งที่คนในสังคมเกิดความเชื่อถือ จริยธรรมในสังคมเป็นผลพลอยได้ให้บังเกิดความยุติธรรม ความเมตาปราณีและความเป็นอิสระแก่กัน"

ดังนั้นจริยธรรมจึงหมายถึง มาตรฐาน คุณค่าแห่งความดีงามของการกระทำหนึ่งๆ หรือที่เรียกว่าพฤติกรรมโดยรวม

2. ความหมายของคำว่า "จรรยาบรรณ"

2.1 พระธรรมปิฎก "จรรยาบรรณ คือ ประมวลชุดของจริยธรรมของผู้ประกอบอาชีพหรือการงานหรือวิชาชีพนั้นๆ"

2.2 สุมน อมรวิวัฒน์ " จรรยาบรรณ คือ การทำงานเลี้ยงชีพ อย่างมีคุณธรรม โดยประกอบอาชีพอย่างสุจริตและขยันหมั่นเพียร รวมทั้งการดำรงตนอย่างเหมาะสม

ในงานอาชีพนั้นด้วยการยึดถือจรรยาบรรณในวิชาชีพของตน การประพฤติตนให้คู่ควรกับสถานะและหน้าที่นั้นๆ"

2.3 มาลัย ม่วงเทศ "จรรยาบรรณ คือ กฏระเบียบ ข้อบังคับที่กลุ่มงานอาชีพนั้นๆ กำหนดขึ้นเพื่อเป็นแนวทางสำหรับการประพฤติปฏิบัติที่ดีของบุคคลที่อยู่ในวงการอาชีพนั้นๆ ให้ยึดถือว่าสิ่งใดควรปฏิบัติและสิ่งใดไม่ควรปฏิบัติ"

3. ความสำคัญของจริยธรรม

จริยธรรมมีความสำคัญต่อสังคมและวิชาชีพที่มนุษย์ต้องอยู่ร่วมกัน ทำงานด้วยกันติดต่อสื่อสารซึ่งกันและกัน จริยธรรมจึงเป็นแนวทางในการปฏิบัติของบุคคลและองค์กร ในด้าน คุณธรรม ศีลธรรม บรรทัดฐานทางสังคม

4. จริยธรรมพื้นฐานของมนุษย์

4.1 เคารพในชีวิตและร่างกายของผู้อื่น ไม่มุ่งทำร้ายผู้อื่น

4.2 เคารพในทรัพย์สินของผู้อื่น ไม่ทุจริตฉ้อโกง

4.3 เคารพและยินดีในคู่ครองของตน ไม่ประพฤติผิดในกาม

4.4 เคารพในความจริง ไม่หลอกลวงกล่าวเท็จ

4.5 เคารพในศักดิ์ศรีของตน ไม่เกี่ยวข้องกับสิ่งเสพติดให้โทษ

5. จริยธรรมในวิชาชีพ

จริยธรรมในวิชาชีพ คือ การนำจริยธรรมมาใช้ในการประกอบวิชาชีพ การมีจริยธรรมในการทำงาน เป็นหลักแห่งความประพฤติที่ถูกต้องเหมาะสม

น.ส.วาสนา วังพฤกษ์ กจ.2/1 เลขที่ 19

สรุปบทที่ 8  จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ 
ความหมายและลักษณะของจริยธรรม
จรรยาบรรณ ตามรากศัพท์ หมายถึง หลักของความประพฤติ ส่วนจริยธรรม หมายถึง ธรรมของการปฏิบัติ จรรยาบรรณจึงเป็นข้อกำหนดทางจริยธรรมของวิชาชีพ เป็นข้อกำหนดทางศีลธรรมหรือจริยธรรมที่สมาชิกในกลุ่มวิฃาชีพนั้น ๆ จัดทำขึ้น เช่น จรรยาบรรณของแพทย์ เป็นต้น
แนวคิดที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ
(1)  Teleology แนวคิดนี้มุ่งพิจารณาถึงความต้องการของประชาชนในสังคมเป็นสำคัญ
(2)  Deontology  เป็นแนวคิดที่คำนึงถึงสิทธิส่วนบุคคลและพฤติกรรมการแสดงออกมากมว่าจะคำนึงถึงผลที่เกิดขึ้นสำหรับในองค์การธุรกิจแล้ว
(3)  Cultural Relativism  เป็นแนวคิดที่พิจารณาข้อสรุปทางจรรยาบรรณของสังคมต่างๆ
(4)  Universalism  เป็นแนวคิดที่พิจารณาแนวทางปฏิบัติที่จะถือว่าเป็นการไร้จริยธรรมจากการมองสังคมโดยเสมอภาค
กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม
(1)   สถาบันครอบครัว  เป็นหน่วยขัดเกลาสำคัญที่สุด เป็นผู้ขัดเกลาเบื้องต้น ครอบครัวเป็นหน่วยที่ใกล้ชิด อบรมสั่งสอนถ่ายทอดวัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อ แบบแผนทางศีลธรรมและจริยธรรม
(2)   สถาบันการศึกษา  มีอิทธิพลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพและความเชื่อถือในด้านคุณธรรมและจริยธรรม
(3)  กลุ่มเพื่อน   การอยู่ร่วมกันในสังคม และบางทีอาจได้รับค่านิยมหรือความเชื่อทางศีลธรรมหรือจริยธรรมที่แตกต่างกันไป
(4)  สื่อสารมวลชน ได้แก่ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ สิ่งตีพิมพ์ต่างๆ Internet
(5 )  สถาบันทางสังคมและศาสนา ให้การอบรมสั่งสอนทั้งเด็กและผู้ใหญ่ในด้านคุณธรรมและศีลธรรม
ความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ
(1)   เพื่อความสามารถในการแข่งขัน จะอยู่ที่การตรงไปตรงมาและการต่อรองที่ยุติธรรม
(2) การเพิ่มผลผลิต
(3)  ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย
(4)   กฎหมาย ข้อบังคับจากภาครัฐ จะช่วยลดความจำเป็นของภาครัฐในการออกกฎระเบียบ
(5)  ธุรกิจที่มีจริยธรรม จะสามารถช่วยป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่ชุมชนและสิ่งแวดล้อม
(6)  ธุรกิจที่มีจริยธรรม ย่อมก่อให้เกิดความสบายใจ ความสุขในการทำงาน

การพัฒนาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ
(1)  อำนาจอันชอบธรรม
(2)  ความเชื่อมั่น
(3)  ความพร้อมที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง
(4)  การวางแผนพัฒนาที่ดี
(5)  ผลประโยชน์ร่วม
(6)  การปฏิบัติที่สม่ำเสมอ
(7)  การควบคุมอย่างต่อเนื่อง
ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ
(1)  ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว
(2)  จุดมุ่งหมายของธุรกิจกับค่านิยมส่วนบุคคล
(3)  แรงกดดันเพื่อให้ได้มาซึ่งผลกำไร
(4)  ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม
วิกฤติทางด้านจริยธรรมในองค์การธุรกิจ
1)  มนุษย์ ซึ่งล้วนเป็นผู้มีส่วนผลักดับให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นในสังคม
(2)  ความมั่งคั่งก็ยิ่งได้รับความสนใจมากยิ่งขึ้นในเชิงเศรษฐกิจระบบทุนนิยม
(3)  ธุรกิจระหว่างประเทศมีบทบาทสำคัญมากต่อระบบการค้าและระบบเศรษฐกิจของโลก
(4)  ด้านวัตถุนิยมและการบริโภคนิยมได้ขยายตัวอย่างกว้างขวาง
แนวทางการแก้ไขปัญหาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ
(1)  ตั้งคณะกรรมการจริยธรรม
(2)  ใช้วิธีการฝึกอบรมทางจริยธรรม
(3)  การให้รางวัลแก่ผู้ที่ปฏิบัติตามจริยธรรม
(4)   การจัดให้มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดีหรือบรรษัทภิบาล
การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม
(1)  ความรับผิดชอบต่อสุขภาพและสวัสดิภาพของบุคคล
(2)  ความรับผิดชอบด้านคุณภาพและบริการ
(3)  ความรับผิดชอบต่อข้อมูลข่าวสาร และการศึกษา
(4)  ความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม
(5)  ความรับผิดชอบด้านศาสนาและวัฒนธรรม
(6)  ความรับผิดชอบด้านสิทธิมนุษยชน
ความรับผิดชอบต่อสังคมสำหรับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
(1) ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลัก (Primary Stakeholders) ได้แก่ ผู้ที่มีปฏิสัมพันธ์ในการดำเนินงานโดยตรงกับองค์กร มีส่วนเกี่ยวข้องกับความเสี่ยงและผลประโยชน์ขององค์กร และส่วนใหญ่พึ่งพาองค์กร
(
2) ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียรอง (Secondary Stakeholders) ได้แก่ ผู้รับผลกระทบจากนโยบายหรือการดำเนินงานขององค์กร รวมทั้งผู้สร้างและผู้รับผลกระทบต่อนโยบายหรือการดำเนินงานขององค์กร
แนวปฏิบัติในการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม
(
1) เคารพกฎหมาย
(
2) พูดแต่ความจริง
(
3) ทำในสิ่งที่ถูกต้องเท่านั้น
(
4) เคารพผู้อื่น
(
5) ไม่ทำร้ายหรือทำให้ผู้อื่นได้รับอันตราย
(
6) สร้างการมีส่วนร่วม
(
7) ดำเนินการตามความรับผิดชอบที่มีอยู่อย่างเต็มที่
จรรยาบรรณ
จรรยาบรรณของสมาชิกสมาคมบริษัทหลักทรัพย์
(
1 สมาชิกต้องประกอบธุรกิจด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต
(
2 สมาชิกต้องปฏิบัติต่อลูกค้าอย่างเป็นธรรม
(
3) สมาชิกต้องเปิดเผยให้ลูกค้าทราบ
(
4)ห้ามมิให้สมาชิกเปิดเผยข้อมูลของลูกค้าที่ตนได้ล่วงรู้มา
(
5) ห้ามมิให้สมาชิกช่วยเหลือหรือสนับสนุนการกระทำอันเป็นความผิดตามกฎหมาย

นางสาวปนัดดา ชิญญะรุ่งเรือง

สรุป บทที่ 8

จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

จริยธรรมทางธุรกิจ หมายถึง มาตรฐานสินค้าหรือบริการที่ผู้ผลิต ผู้จำหน่าย หรือผู้เกี่ยวข้องกับการผลิตสินค้า หรือบริการ ประพฤติและปฏิบัติต่อลูกค้า ผู้บริโภค ผู้ร่วมหุ้นลงทุน คู่ค้า หรือบุคคลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างตรงไปตรงมา มีความยุติธรรมและไม่เบียดเบียนกัน ถือเป็นความดีความงามที่สังคมยอมรับได้

จริยธรรมในการประกอบธุรกิจและวิชาชีพนั้นย่อมจะต้องมีมาตรฐานจริยธรรม โดยจะกำหนดไว้เป็นหลักจรรยาบรรณ (Code of Ethics) เพื่อใช้เป็นกรอบในการดำเนินธุรกิจของนักธุรกิจ ที่ไม่ขัดต่อกฎหมาย ศีลธรรม และวัฒนธรรมอันดีของสังคม ทำให้สามารถอยู่ร่วมกันกับผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายได้อย่างเป็นปกติสุข คือทุกฝ่ายได้รับประโยชน์ที่พึงได้ และไม่ถูกทำให้เสียประโยชน์ที่ไม่ควรเสีย ได้รับความเป็นธรรมทั่วถึงกัน

ธุรกิจต้องรับผิดชอบต่อสังคม 3 ระดับ

1. การปฏิบัติตามกฎหมาย

2. ตอบสนองความคาดหวังของสังคม

-ความต้องการทางเศรษฐกิจ

-ความต้องการทางสังคม

3. ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมและค่านิยมอันดีงาม

ผู้ที่ทำหน้าที่ในการขัดเกลาทางสังคมในกระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม

1. สถาบันครอบครัว

2. สถาบันการศึกษา

3. กลุ่มเพื่อน

4. สื่อสารมวลชน

5. สถาบันทางสังคมและศาสนา

ความจำเป็นที่จะต้องมีจริยธรรม

1. เพื่อความสามารถในการแข่งขัน

2. การเพิ่มผลผลิต

3. ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย

4. กฎหมายข้อบังคับจากภาครัฐ

5. ธุรกิจที่มีจริยธรรม จะสามารถป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่ชุมชนและสิ่งแวดล้อม

6. ธุรกิจที่มีจริยธรรม ย่อมก่อให้เกิดความสบายใจ

ระดับความรับผิดชอบทางสังคม

1. Should do เป็นความรับผิดชอบทางจริยธรรม (Ethical) ที่บุคคลหรือองค์กร “ควรกระทำ” หรือ “ควรจะดำเนินการ” หรือ “พึงปฏิบัติ” ซึ่งอาจเป็นความเชื่อทางสังคม เช่น การถือศีล การทำบุญตามประเพณี

2. Might to do เป็นความรับผิดชอบที่เกิดจากจิตสำนึก (Discretionary) ของบุคคลหรือองค์กร ไม่ต้องมีใครบอก ไม่ต้องมีใครคาดหวัง แต่เป็นเพราะมีจิตสำนึกและความปรารถนา ถือว่าเป็น “สิ่งที่น่าจะทำ” หรือ “อาจจะทำ” เช่น อาจจะปรับราคาสินค้าลดลง เมื่อต้นทุนต่ำลง

3. Must to do เป็นความรับผิดชอบทางเศรษฐกิจ (Economic) ที่บุคคลหรือองค์กรถือว่าเป็น “สิ่งที่ต้องทำ” เช่น การหารายได้มาจุนเจือผู้ถือหุ้น หรือหาเงินคืนให้เจ้าหนี้

4. Have to do เป็นความรับผิดชอบต่อตัวบทกฎหมาย (Legal) ที่บุคคลหรือองค์กรถือว่า “จำเป็นต้องทำ” อยู่ภายใต้กฎระเบียบ กฎหมาย กฎเกณฑ์ของทางราชการ เช่น การเสียภาษีให้ถูกต้อง และตามเวลาที่กำหนด

จรรยาบรรณ หมายถึง การประมวลความประพฤติปฏิบัติในหมู่คณะ หรือกลุ่มผู้ประกอบวิชาชีพการงานแต่ละอย่างกำหนดขึ้น เพื่อรักษาและส่งเสริมเกียรติคุณ ชื่อเสียงและฐานะของสมาชิก อาจเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่ก็ได้

นางสาวนภาพร วงค์สถาน เลขที่ 8 กจ.2/1

สรุป บทที่ 8

จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

จรรยาบรรณ หมายถึง หลักของความประพฤติ

จริยธรรม หมายถึง ธรรมของการปฏิบัติ

-แนวความคิดที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ

1. Teleology มุ่งพิจารณาถึงความต้องการของประชาชนเป็นสำคัญ ได้แก่ การกระทำที่ก่อให้เกิดผลที่พึงปรารถนาและแบ่งการพิจารณาออกเป็นสองทาง ได้แก่ ความสำคัญของปัจเจกบุคคลและความสำคัญต่อกลุ่ม

2. Deontology มุ่งเน้นสิ่งที่พึงกระทำจากความสำนึกในความผิดชอบชั่วดีของมนุษย์

3. cultural Relativism พิจารณาข้อสรุปทางจรรยาบรรณของสังคมต่าง ๆ

4. Universalism พิจารณาแนวทางปฏิบัติที่จะถือว่าเป็นการไร้จริยธรรมจากการมองสังคมโดยเสมอภาค

-กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม

ผู้ทำหน้าที่ในการขัดเกลาทางสังคม ถือว่าเป็นผู้ที่มีบทบาทและมีความสำคัญในกระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม ได้แก่ สถาบันครอบครัว สถาบันศึกษา กลุ่มเพื่อน สื่อสารมวลชน สถาบันทางสังคมและศาสนา

-ความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ

1. เพื่อความสามารถในการแข่งขัน

2. การเพิ่มผลผลิต

3. ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย

4. กฎหมาย ข้อบังคับจากภาครัฐ

5. ธุรกิจที่มีจริยธรรม จะสามารถช่วยป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่ชุมชนและสิ่งแวดล้อม

6. ธุรกิจที่มีจริยธรรม ย่อมก่อให้เกิดความสบายใจ ความสุขในการทำงาน

-การพัฒนาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1. อำนาจอันชอบธรรม

2. ความเชื่อมั่น

3. ความพร้อมที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง

4. การวางแผนพัฒนาที่ดี

5. ผลประโยชน์รวม

6. การปฏิบัติที่สม่ำเสมอ

7. การควบคุมอย่างต่อเนื่อง

-ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ

1. ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว อันเกิดจากความโลภ กิเลศ ความหลงมัวเมา

2. จุดมุ่งหมายของธุรกิจกับค่านิยมส่วนบุคคล

3. แรงกดดันเพื่อให้ได้มาซึ่งผลกำไร

4. ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม

-แนวทางการแก้ไขปัญหาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1. ตั้งคณะกรรมการจริยธรรมเพื่อให้คำปรึกษา แนะนำ แก้ไขปัญหาทางจริยธรรม

2. ใช้วิธีการฝึกอบรมทางจริยธรรม

3. การให้รางวัลแก่ผู้ที่ปฏิบัติตามจริยธรรม

4. การจัดให้มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดีหรือบรรษัทภิบาล

-การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม

1. ความรับผิดชอบต่อสุขภาพและสวัสดิภาพของบุคคล

2. ความารับผิดชอบด้านคุณภาพและบริการ

3. ความรับผิดชอบต่อข้อมูลข่าววสร และการศึกษา

4. ความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม

5. ความรับผิดชอบด้านศาสนาและวัฒนธรรม

6. ความรับผิดชอบด้านสิทธิมนุษยชน

-ความรับผิดชอบต่อสังคมสำหรับผู้มีส่วนได้เสีย

แบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ ผู้มีส่วนได้เสียหลัก และผู้มีส่วนได้เสียรอง

-แนวปฏิบัติในการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม

เคารพกฎหมาย พูดแต่ความจริง ทำในสิ่งที่ถูกต้อง เคารพผู้อื่น ไม่ทำร้ายหรือทำให้ผู้อื่นได้รับอันตราย สร้างการมีส่วนร่วม ดำเนินการตามความรับผิดชิบที่มีอยู่อย่างเต็มที่

ปิยะดา กันทา เลขที่ 12 กจ.2/1

สรุป 

บทที่ 8 จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

1. ความหมายและลักษณะของจริยธรรม

จริยธรรม หมายถึง  ธรรมของการปฏิบัติ  จรรยาบรรณจึงเป็นข้อกำหนดทางจริยธรรมของวิชาชีพ เป็นข้อกำหนดทางศีลธรรมหรือจริยธรรมที่สมาชิกในกลุ่มวิชาชีพนั้น ๆ จัดทำขึ้น

2. แนวคิดที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ (The Concept of Business Ethic )

จรรยาบรรณเป็นสิ่งที่สังคมแต่ละแหล่งกำหนดขึ้นทั้งที่ปรากฏชัดเจนหรือเป็นธรรมเนียมปฏิบัติต่อเนื่องกันมานานโดยไม่มีการเขียนเป็นลายลักษณ์อักษร

สำหรับแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับจรรยาบรรณมีหลายแนวทาง  เช่น

2.1.) Teleology แนวคิดนี้มุ่งพิจารณาถึงความต้องการของประชาชนในสังคมเป็นสำคัญโดยสรุปว่าการกระทำหรือพฤติกรรมที่ถูกต้องหรือยอมรับได้ ได้แก่ ความสำคัญของปัจเจกบุคคล (Egoism) ความสำคัญของกลุ่ม (Utilitarianism) 

2.2.) Deontology เป็นแนวคิดที่มุ่งเน้นสรุปสิ่งที่พึงกระทำจากความสำนึกในความผิดชอบชั่วดีของมนุษย์มากกว่าจะสรุปจากผลที่เกิดขึ้นเมื่อได้ทำไปแล้ว ดังนั้น Deontology จึงเป็นแนวความคิดที่คำนึงถึงสิทธิส่วนบุคคลและพฤติกรรมการแสดงออกมากกว่าคำนึงถึงผลที่เกิดขึ้น

2.3.) Cultural Relativism เป็นแนวคิดที่พิจารณาข้อสรุปทางจรรยาบรรณของสังคมต่าง ๆ โดยพิจารณาร่วมกับความแตกต่างทางวัฒนธรรม แต่การที่บุคคลจะตัดสินใจในเรื่องของความถูกต้อง ความผิด ความยุติธรรมหรือความไม่ยุติธรรม อาจมีความหมายที่แตกต่างกันได้เนื่องจากทัศนคติของคนที่มาจากวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน

2.4.) Universalism เป็นแนวคิดที่พิจารณาแนวทางปฏิบัติที่จะถือว่าเป็นการไร้จริยธรรมจากการมองสังคมโดยเสมอภาค

3. กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม

การอบรมหรือการขัดเกลาทางสังคม(Socialization) ถือว่าเป็นกระบวนการปลูกฝังบรรทัดฐานของกลุ่มให้เกิดขึ้นในตัวบุคคลเพื่อให้บุคคลนั้นสามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้สามารถทำงานร่วมกับบุคคลอื่น ๆ และปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้องในสายตาของสังคม

                สำหรับผู้ทำหน้าที่ในการขัดเกลาทางสังคม ซึ่งถือว่าเป็นผู้ที่มีบทบาทและมีความสำคัญในกระบวนการเสริมสร้างจริยธรรมที่พึงจะกล่าวถึง คือ

3.1.สถาบันครอบครัว ซึ่งถือว่าเป็นหน่วยขัดเกลาสำคัญที่สุด เพราะบุคคลจะได้รับการอบรมจากครอบครัวอยู่ตลอดเวลา

3.2.สถาบันการศึกษา ถือว่าเป็นหน่วยขัดเกลาที่เป็นทางการและมีอิทธิพลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพและความเชื่อถือในด้านคุณธรรมและจริยธรรม

3.3.กลุ่มเพื่อน จะถือว่าเป็นหน่วยที่มีอิทธิพลต่อเด็กมาก เพราะจะช่วยให้เด็กได้เรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ ที่ไม่ได้รับจากครอบครัวหรือจากสถาบันการศึกษา

3.4.สื่อสารมวลชน อันได้แก่ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ สิ่งตีพิมพ์ต่าง ๆ และเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ เป็นหน่วยที่มีความสำคัญในการปลูกฝังวัฒนธรรมใหม่ ๆ

3.5.สถาบันทางสังคมและศาสนา เป็นหน่วยที่มีบทบาทมีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตและความใกล้ชิดกับชุมชน ได้แก่ การเรียนรู้บรรทัดฐานใหม่ของคนในสังคม

4.ความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ

4.1.เพื่อความสามารถในการแข่งขัน ถ้าผู้บริหารไม่มีจริยธรรม กิจการนั้น ๆ จะไม่สามารถแข่งขันกับผู้อื่นได้ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ

4.2.การเพิ่มผลผลิต การใช้จริยธรรมในธุรกิจจะช่วยสร้างความสามารถในการผลิตให้สูงขึ้น

4.3.ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย การบริหารงานที่มีจริยธรรมจะทำให้กิจการมีความเข้มแข็งและส่งผลกระทบในด้านที่เป็นประโยชน์แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

4.4.กฎหมาย ข้อบังคับจากภาครัฐ หากกิจการไม่ต้องการให้มีกฎเกณฑ์จากภาครัฐมากเกินไป การบริหารงานจัดการธุรกิจก็ควรจะใส่ใจและตระหนักถึงจริยธรรมให้มากด้วย

4.5.ธุรกิจที่มีจริยธรรม จะสามารถช่วยป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่ชุมชนและสิ่งแวดล้อม

4.6.ธุรกิจที่มีจริยธรรม ย่อมก่อให้เกิดความสบายใจ ความสุขในการทำงาน และจะช่วยดึงดูดให้คนเข้ามาทำงานกับบริษัท

5.การพัฒนาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

5.1.อำนาจอันชอบธรรม ซึ่งถือว่าเป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อนมากในทุก ๆ องค์การ จะต้องใช้ทั้งความละเอียด ความนุ่มนวล พร้อม ๆ กับความเด็ดขาด

5.2.ความเชื่อมั่น จริยธรรมเป็นเรื่องที่มีความสัมพันธ์กับความเชื่อถือและยึดมั่นอย่างแน่นแฟ้น

5.3.ความพร้อมที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง การพัฒนาคือการเปลี่ยนแปลงไปสู่สิ่งที่ดีกว่าเดิมหรือมีสภาวะที่ดีกว่า

5.4.การวางแผนพัฒนาที่ดี การพัฒนาจริยธรรมในองค์การเป็นเรื่องที่ลึกซึ้งจะต้องใช้เวลานานพอสมควร เพราะเป็นเรื่องที่ค่อนข้างเป็นนามธรรม

5.5.ผลประโยชน์ร่วม สมาชิกในองค์การร่วมมือกันมีความสมัครสมานร่วมใจกันแล้ว ผลประโยชน์ร่วมที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาก็จะตอบสนองทุกคนในองค์การ

5.6.การปฏิบัติที่สม่ำเสมอ ตามนโยบายหรือแนวทางที่กำหนดไว้

5.7.การควบคุมอย่างต่อเนื่อง

6.ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ

6.1ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว

6.2จุดมุ่งหมายของธุรกิจกับค่านิยมส่วนบุคคล

6.3แรงกดดันเพื่อให้ได้มาซึ่งกำไร

6.4ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม

7.การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม

7.1ความรับผิดชอบต่อสุขภาพและสวัสดิภาพของบุคคล

7.2ความรับผิดชอบด้านคุณภาพและบริการ

7.3ความรับผิดชอบต่อข้อมูลข่าวสาร และการศึกษา

7.4ความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม

7.5ความรับผิดชอบด้านศาสนาและวัฒนธรรม

7.6ความรับผิดชอบสิทธิมนุษยชน

8.แนวปฏิบัติในการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม

8.1เคารพกฎหมาย

8.2พูดแต่ความจริง

8.3ทำในสิ่งที่ถูกต้องเท่านั้น

8.4เคารพผู้อื่น

8.5ไม่ทำร้ายหรือทำให้ผู้อื่นได้รับอันตราย

8.6สร้างการมีส่วนร่วม

8.7ดำเนินการตามความรับผิดชอบที่มีอยู่อย่างเต็มที่

9.จรรยาบรรณ (Code of Ethics)

ผู้ประกอบวิชาชีพในด้านต่าง ๆ ได้ประมวลข้อประพฤติ  ปฏิบัติหรือหลักความเหมาะสม มีคุณธรรมและถูกต้องตามศีลธรรมขึ้นเป็นจรรยาบรรณเพื่อใช้กับผู้ประกอบวิชาชีพด้านนั้น ๆ

จรรยาบรรณถือเป็นการแสดงความรับผิดชอบระดับจริยธรรมที่สูงกว่าระดับกฎหมาย

 

 

 

 

น.ส.ชลธิชา ธรรมชัย เลขที่ 5 กจ.2/1

สรุป

บทที่ 8  จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

 

จริยธรรมทางธุรกิจ  หมายถึง  มาตรฐานสินค้าหรือบริการที่ผู้ผลิต ผู้จำหน่าย หรือผู้เกี่ยวข้องกับผลิตสินค้า หรือบริการ ประพฤติและปฏิบัติต่อลูกค้า ผู้บริโภค ผู้ร่วมหุ้นลงทุน คู่ค้า หรือบุคคลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างตรงไปตรงมา มีความยุติธรรมและไม่เบียดเบียนกัน ถือเป็นความดีความงามที่สังคมยอมรับได้

แนวคิดที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ

Teleology  แนวคิดนี้มุ่งพิจารณาถึงความต้องการของประชาชนในสังคมเป็นสำคัญ

Deontology  เป็นแนวคิดที่คำนึงถึงสิทธิส่วนบุคคลและพฤติกรรมการแสดงออกมากมว่าจะคำนึงถึงผลที่ เกิดขึ้นสำหรับในองค์การธุรกิจแล้ว

Cultural Relativism  เป็นแนวคิดที่พิจารณาข้อสรุปทางจรรยาบรรณของสังคมต่างๆ

Universalism  เป็นแนวคิดที่พิจารณาแนวทางปฏิบัติที่จะถือว่าเป็นการไร้จริยธรรมจากการมองสังคมโดยเสมอภาค

กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม

สถาบันครอบครัว  เป็นหน่วยขัดเกลาสำคัญที่สุด เป็นผู้ขัดเกลาเบื้องต้น ครอบครัวเป็นหน่วยที่ใกล้ชิด อบรมสั่งสอนถ่ายทอดวัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อ แบบแผนทางศีลธรรมและจริยธรรม
สถาบันการศึกษา  มีอิทธิพลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพและความเชื่อถือในด้านคุณธรรมและจริยธรรม
กลุ่มเพื่อน   การอยู่ร่วมกันในสังคม และบางทีอาจได้รับค่านิยมหรือความเชื่อทางศีลธรรมหรือจริยธรรมที่แตกต่างกันไป
สื่อสารมวลชน ได้แก่ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ สิ่งตีพิมพ์ต่างๆ Internet เป็นหน่วยที่มีความสำคัญในการปลูกฝังวัฒนธรรมใหม่ๆ ให้แก่เด็กและเยาวชนได้
สถาบันทางสังคมและศาสนา ให้การอบรมสั่งสอนทั้งเด็กและผู้ใหญ่ในด้านคุณธรรมและศีลธรรม

การพัฒนาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ
                ซึ่งการพัฒนาจริยธรรมในระบบขององค์การให้ได้รับความสำเร็จนั้นขึ้นอยู่กับองค์ประกอบที่สำคัญต่างๆ ดังนี้
1.  อำนาจอันชอบธรรม
2.  ความเชื่อมั่น
3.  ความพร้อมที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง
4.  การวางแผนพัฒนาที่ดี
5.  ผลประโยชน์ร่วม
6.  การปฏิบัติที่สม่ำเสมอ
7.  การควบคุมอย่างต่อเนื่อง

ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ
1.  ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว
2.  จุดมุ่งหมายของธุรกิจกับค่านิยมส่วนบุคคล
3.  แรงกดดันเพื่อให้ได้มาซึ่งผลกำไร
4.  ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม

วิกฤติทางด้านจริยธรรมในองค์การธุรกิจ
1.  มนุษย์ ซึ่งล้วนเป็นผู้มีส่วนผลักดับให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นในสังคม
2.  ความมั่งคั่งก็ยิ่งได้รับความสนใจมากยิ่งขึ้นในเชิงเศรษฐกิจระบบทุนนิยม
3.  ธุรกิจระหว่างประเทศมีบทบาทสำคัญมากต่อระบบการค้าและระบบเศรษฐกิจของโลก
4.  ด้านวัตถุนิยมและการบริโภคนิยมได้ขยายตัวอย่างกว้างขวาง

 แนวทางการแก้ไขปัญหาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ
1.  ตั้งคณะกรรมการจริยธรรม (Ethics  Committee)
2.  ใช้วิธีการฝึกอบรมทางจริยธรรม
3.  การให้รางวัลแก่ผู้ที่ปฏิบัติตามจริยธรรม
4.   การจัดให้มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดีหรือบรรษัทภิบาล (Good  Corporate)

การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม
1.  ความรับผิดชอบต่อสุขภาพและสวัสดิภาพของบุคคล
2.  ความรับผิดชอบด้านคุณภาพและบริการ
3.  ความรับผิดชอบต่อข้อมูลข่าวสาร และการศึกษา
4.  ความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม
5.  ความรับผิดชอบด้านศาสนาและวัฒนธรรม
6.  ความรับผิดชอบด้านสิทธิมนุษยชน

 

ความรับผิดชอบต่อสังคมสำหรับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลัก (Primary Stakeholders) ได้แก่ ผู้ที่มีปฏิสัมพันธ์ในการดำเนินงานโดยตรงกับองค์กร มีส่วนเกี่ยวข้องกับความเสี่ยงและผลประโยชน์ขององค์กร และส่วนใหญ่พึ่งพาองค์กร

ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียรอง (Secondary Stakeholders) ได้แก่ ผู้รับผลกระทบจากนโยบายหรือการดำเนินงานขององค์กร รวมทั้งผู้สร้างและผู้รับผลกระทบต่อนโยบายหรือการดำเนินงานขององค์
                                               

 แนวปฏิบัติในการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม
1.  เคารพกฎหมาย  คือ ความรับผิดชอบต่อกฎหมาย
2.  พูดแต่ความจริง รวมถึงการไม่มีเจตนาบิดเบือน หลอกลวง
3.  ทำในสิ่งที่ถูกต้องเท่านั้น
4.  เคารพผู้อื่น โดยแสดงความเคารพต่อการกระทำ ความคิดและความเห็นของผู้อื่น
5.  ไม่ทำร้ายหรือทำให้ผู้อื่นได้รับอันตราย
6.  สร้างการมีส่วนร่วม เปิดโอกาสให้ผู้อื่นได้แสดงความคิดเห็น
7.  ดำเนินการตามความรับผิดชอบที่มีอยู่อย่างเต็มที่
                                                                               

จรรยาบรรณ
                จรรยาบรรณ ถือเป็นการแสดงความรับผิดชอบระดับจริยธรรมซึ่งสูงกว่าระดับกฎหมาย จรรยาบรรณจึงแตกต่างจากกฎหมายตรงที่กฎหมายเป็นการร่างขึ้นเพื่อใช้บังคับทุกคนในสังคม              
                                         

ระดับความรับผิดชอบต่อสังคม ภาพรวมทั้งหมด
4 E
Education : การศึกษา
Environment : สิ่งแวดล้อม
Energy Conservation :การอนุรักษ์พลังงาน
Employee Engagement : การส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วมในสังคม

...................................................................................................................................................

นายวิศรุต วงษ์เมตตา เลขที่.20 กจ.2/1

บทที่ 8

จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

ความหมายและลักษณะของจริยธรรม

ในทางธุรกิจ จริยธรรม หมายถึง ความสามารถที่จะสะท้อนถึงค่านิยมในกระบวนตัดสินใจของธุรกิจ

จรรยาบรรณ หมายถึง หลักของความประพฤติ ส่วนจริยธรรม หมายถึง ธรรมของการปฏิบัติ จรรยาบรรณจึงเป็นข้อกำหนดทางจริยธรรมของวิชาชีพ

แนวคิดที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ

1.Teleology แนวคิดนี้มุ่งพิจารณาถึงความต้องการของประชาชนในสังคมเป็นสำคัญโดยสรุปว่าการกระทำหรือพฤติกรรมที่ถูกต้องหรือยอมรับได้

2.Deontology เป็นแนวคิดที่มุ่งเน้นสรุปสิ่งที่พึงกระทำจากความสำนึกใสความผิดชอบชั่วดีของมนุษย์

3.Cultural Relativism เป็นแนวคิดที่พิจารณาจากข้อสรุปทางจรรยาบรรณของสังคมต่าง ๆ โดยพิจารณาร่วมกับความแตกต่างทางวัฒนธรรม

4.Universalism เป็นแนวคิดที่พิจารณาแนวทางปฏิบัติที่จะถือว่าเป็นการไร้จริยธรรมจากการมองสังคมโดยเสมอภาค

กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม

1.สถาบันครอบครัว ซึ่งถือว่าเป็นหน่วยขัดเกลาสำคัญที่สุด เพราะบุคคลจะได้รับการอบรมจากครอบครัวอยู่ตลอดเวลา

2.สถาบันการศึกษา ถือว่าเป็นหน่วยที่ขัดเกลาที่เป็นทางการและมีอิทธิพลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพและความเชื่อถือในด้านคุณธรรมและจริยธรรม

3.กลุ่มเพื่อน จะถือว่าเป็นหน่วยที่มีอิทธิพลต่อเด็กมาก เพราะจะได้ให้เด็กได้เรียนรู้สิ่งใหม่ที่ไม่ได้รับจากครอบครัวและสถาบันการศึกษา

4.สื่อสารมวลชน อันได้แก่ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ สิ่งตีพิมพ์ต่าง ๆ และเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่

5.สถาบันทางสังคมและศาสนา เป็นหน่วยที่มีบทบาทมีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตและความใกล้ชิดกับชุมชน ให้การอบรมสั่งสอนทั้งเด็กและผู้ใหญ่ในด้านคุณธรรมและจริยธรรม

ความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ

1.เพื่อความสามารถในการแข่งขัน

2.การเพิ่มผลผลิต

3.ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย

4.กฎหมาย ข้อบังคับจากภาครัฐ

5.ธุรกิจที่มีจริยธรรมจะสามารถช่วยป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่ชุมชนและสิ่งแวดล้อม

6.ธุรกิจที่มีจริยธรรม ย่อมก่อให้เกิดความสบายใจ ความสุขในการทำงาน และจะช่วยดึงดูดให้คนเข้ามาทำงานในบริษัท

การพัฒนาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

• อำนาจอันชอบธรรม

• ความเชื่อมั่น

• ความพร้อมที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง

• การวางแผนพัฒนาที่ดี

• ผลประโยชน์ร่วม

• การปฏิบัติที่สม่ำเสมอ

ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ

• ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว อันเกิดจากความโลภ กิเลส ความหลงมัวเมา

• จุดมุ่งหมายของธุรกิจกับค่านิยมส่วนบุคคล

• แรงกดดันเพื่อให้ได้ซึ่งผลกำไร

• ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม

วิกฤติทางด้านจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

• ด้านค่านิยมของคนที่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม

• ค่านิยมที่เน้นการทำงานหนัก

แนวทางการแก้ไขปัญหาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

• ตั้งคณะกรรมการจริยธรรม เพื่อให้คำปรึกษา แนะนำ

• ใช้วิธีการฝึกอบรมทางจริยธรรม

• การให้รางวัลแก่ผู้ปฏิบัติตามจริยธรรม

• การจัดให้มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดีหรือบรรษัทภิบาล

นางสาวอารียา แจ้งสิน เลขที่ 27 กจ. 2/1

บทที่ 8     จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

 

     จริยธรรมทางธุรกิจ คือ การผสมผสานระหว่าเศรษฐกิจและจริยธรรม โดยมีเป้าหมายที่จะส่งเสริมนโยบายและการปฏิบัติของภาคธุรกิจในการสร้างความสำเร็จในการประกอบการอย่างมีความรับผิดชอบ มีความยั่งยืน มีผลในระยะยาว ในขณะเดียวกันก็ช่วยสร้างความสมดุลระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในกิจการนั้น ๆ อันได้แก่ ผู้ลงทุน ลูกจ้าง ลูกค้า ชุมชน ตลอดจนสภาพสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลรวมไปถึง ความสามารถที่จะสะท้อนถึงค่านิยมในกระบวนการติดสินใจของธุรกิจและส่งเสริมนโยบายการปฏิบัติของภาคธุรกิจในการสร้างความสำเร็จในการประกอบการอย่างมีความรับผิดชอบ มีความยั่งยื่น มีผลในระยะยาว

 

แนวคิดที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ

     1. Teleology มุ่งพิจารณาถึงความต้องการของประชาชนในสังคมเป็นสำคัญ เช่น ความสำคัญของปัจเจกบุคคล ( Egoism ) ซึ่งประเมินค่าความถูกต้องหรือพฤติกรรมที่ยอมรับได้จากผลที่จะก่อให้เกิดกับความสำคัญต่อกลุ่มบุคคล( Utilitarianism )

     2. Deontology สิทธิของบุคคลและพฤติกรรมที่แสดงออกของบุคคล โดยมุ่งเน้นสิ่งที่พึงกระทำจากความสำนึกในความผิดชอบชั่วดีของมนุษย์มากกว่าจะสรุปจากผลที่เกิดขึ้นเมื่อได้ทำไปแล้ว

     3. Cultural Relativism วัฒนธรรมสังคมที่มีแนวทางการปฏิบัติ โดยพิจารณาจากข้อสรุปทางจรรยาบรรณของสังคมต่าง ๆ โดยพิจารณาร่วมกับความแตกต่างทางวัฒนธรรม

     4. Universalism โดยพิจารณาจากแนวทางปฏิบัติที่ถือว่าเป็นการไร้จริยธรรมจากการมองสังคมโดยเสมอภาค ทำให้ลดต้นทุนการดำเนินงานได้มากกว่า การกระทำในลักษณะเช่นนั้นย่อมเป็นการไร้จริยธรรม (Unethical )

ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ

     (1)  ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว

     (2)  จุดมุ่งหมายของธุรกิจกับค่านิยมส่วนบุคคล

     (3)  แรงกดดันเพื่อให้ได้มาซึ่งผลกำไร

     (4)  ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม

วิกฤติทางด้านจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

     ปัจจุบันโลกได้เจริญไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งถือเป็นความสำเร็จของมวลมนุษยชาติ ไม่ว่าจะเป็นนักการเมือง นักวิชาการ และอื่น ๆ อีกมากมาย ซึ่งล้วนเป็นผู้มีส่วนผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นในสังคม แต่ในขณะที่โลกเปลี่ยนแปลง จิตใจของผู้คนก็เปลี่ยนแปลงไปด้วยเช่นกัน มีทั้งความโลภ และความเห็นแก่ตัว บนแนวความคิดของระบบเศรษฐกิจที่มุ่งหวังความมั่งคั่ง ด้านค่านิยมของคนที่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมก็ด้วยเหตุผลของความเจริญเติบโตของภาคธุรกิจเป็นเหตุ ที่ชัดเจนก็คือด้านวัตถุนิยม

แนวทางการแก้ไขปัญหาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

     1.ตั้งคณะกรรมการจริยธรรม

     2.วิธีการฝึกอบรมทางจริยธรรม

     3.รางวัลแก่ผู้ที่ปฏิบัติตามจริยธรรม

     4.การจัดให้มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดีหรือบรรษัทภิบาท

ความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ

  • เพื่อความสามารถในการแข่งขัน
  • การเพิ่มผลผลิต
  • ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย
  • กฎหมาย ข้อบังคับจากภาครัฐ
  • ธุรกิจที่มีจริยธรรม จะสามารถช่วยป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่ชุมชนและสิ่งแวดล้อม
  • ธุรกิจที่มีจริยธรรม ย่อมก่อให้เกิดความสบายใจ ความสุขในการทำงานและจะช่วยดึงดูดให้คนเข้ามาทำงานกับบริษัท

การพัฒนาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

  • อำนาจอันชอบธรรม
  • ความเชื่อมั่น
  • ความพร้อมที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง
  • การวางแผนพัฒนาที่ดี
  • ผลประโยชน์ร่วม
  • การปฏิบัติที่สม่ำเสมอ
  • การควบคุมอย่างต่อเนื่อง

ความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจมีหลากหลายด้าน ดังต่อไปนี้

     1. ด้านสิ่งแวดล้อม - ธุรกิจอาจก่อมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมหลากหลายรูปแบบ อาจก่อมลภาวะต่ออากาศ มลภาวะทางเสียง ต่อแม่น้ำลำคลอง ต่อน้ำฝน ต่อน้ำผิวดิน เป็นต้น เช่นธุรกิจสารเคมีอาจก่อพิษภัยทั้งในลักษณะพิษที่เกิดทันทีอย่างเฉียบพลัน หรือค่อยๆ สะสมพิษร้ายทีละน้อยๆ เกิดผลกระทบแบบเรื้อรัง หรือตายผ่อนส่ง ธุรกิจที่ก่อผลร้ายเช่นนี้ต้องมีวิธีป้องกัน ไม่ให้เกิดผลร้ายอย่างได้ผล จึงจะถือว่ารับผิดชอบต่อสังคม

     2. ด้านการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ธุรกิจอาจแย่งใช้น้ำจากแหล่งน้ำเดียวกันกับชุมชน อาจใช้ทรัพยากรธรรมชาติชนิดที่ใช้แล้วหมด ธุรกิจจะต้องแสดงความรับผิดชอบต่อชุมชนโดยรอบ และต่อสังคมในภาพรวม ที่จะไม่ก่อปัญหาแบบไร้ความรับผิดชอบ

     3. ด้านความเป็นธรรมต่อเพื่อนมนุษย์ - การจ่ายค่าแรง ค่าจ้าง ค่าชดเชย ค่าดูแลสุขภาพ อย่างเป็นธรรม การจัดสถานที่ทำงานให้เป็น healthy workplace และ happy workplace การจัดให้เป็น learning organization

     4. ด้านจิตวิญญาณของผู้คน - ธุรกิจที่มุงผลกำไรสูง มองความสำเร็จที่ผลกำไร มองความสามารถคู่กับผลได้ทางวัตถุ และเงินเดือน มีแนวโน้มที่จะสร้างวัฒนธรรมวัตถุนิยมสุดขั้ว เพิ่มพูนความโลภ หย่อนด้านจิตวิญญาณ หย่อนด้านความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์

     5. ด้านความรับผิดชอบในการประกอบธุรกิจ - ทั้งในด้านความซื่อสัตย์สุจริต และรักษาผลประโยชน์ตามหลัก BSC - Balanced Score Card คือต่อผู้ถือหุ้น ต่อลูกค้าหรือคู่ค้า ต่อพนักงาน และต่อสังคมวงกว้าง

     6. สำคัญที่จิตสำนึก ที่แสดงออกทางการปฏิบัติ

 

 

บทที่ 8

จริยธรรมทางธุรกิจ

เป็นมาตรฐานของการประกอบธุรกิจ การผลิต

สินค้า การให้บริการการจัดจำหน่ายเพื่อได้รับผลตอบแทนตามสมควรกับการลงทุนไปอย่างเป็น

ธรรมต่อทุกฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นผู้ผลิตหรือผู้บริโภค เจ้าของกิจการ ผู้ถือหุ้น ผู้บริการ ผู้ร่วมงาน รัฐบาล

สังคม ซึ่งต่างมีความสัมพันธ์เชิงธุรกิจร่วมกัน จริยธรรมทางธุรกิจหมายถึง กลไกทุกส่วนที่ให้ความ

ชอบธรรมเพื่อประสิทธิภาพสูงสุดของธุรกิจ

ประโยชน์ของจริยธรรม

จริยธรรม มีประโยชน์ต่อการอยู่ร่วมกันในสังคม ซึ่งเป็นแนวทางความประพฤติและการ

ปฏิบัติของบุคคล เกี่ยวกับมาตรฐานทางจริยธรรม ศีลธรรม คุณธรรม และบรรทัดฐาน ดังนี้

1. เป็นประโยชน์ต่อตัวผู้ปฏิบัติเอง ผู้ปฏิบัติตามหลักจริยธรรมจะได้รับการยอมรับว่าเป็น

คนทำให้ตนเองรู้สึกภูมิใจ อิ่มใจ สบายใจ ไม่มีศัตรู เป็นที่ชอบพอรักใคร่ไว้วางใจของผู้อื่น หลัก

ธรรมที่ประพฤติจะส่งผลให้ประสบความสำเร็จในธุรกิจการงาน เช่น ความอดทน ความเพียร

2. เป็นประโยชน์แก่สังคมส่วนรวม เพียงแต่ประพฤติตนดีก็ถือว่าเป็นคนดีของสังคม

อย่างน้อยสังคมก็ไม่ต้องแก้ปัญหา ไม่เป็นภาระแก่สังคม การกระทำความดีเป็นการช่วยเหลือสังคม

3. เป็นการรักษาจริยธรรม จริยธรรมเป็นสิ่งที่ดีมีคุณค่าควรแก่การรักษาไว้ หากไม่มีใคร

ปฏิบัติ ก็จะเหลือแต่ตัวอักษร หรือเหลือแต่คำพูด เป็นเพียงอุดมคติ เป็นเพียงจินตนาการ แต่ไม่มีผู้

ปฏิบัติ

4. จริยธรรมช่วยควบคุมมาตรฐาน รับประกันความถูกต้อง ปริมาณและคุณภาพที่ถูกต้อง

ในการประกอบธุรกิจ และอาชีพในการผลิต จำหน่าย และบริการ ไม่ปลอมปนสิ่งใดในสินค้า แจ้ง

สินค้าตามสภาพที่เป็นจริง

5. พัฒนาประเทศชาติบ้านเมือง บ้านเมืองจะพัฒนาได้ก็ต้องอาศัยคนดีมีจริยธรรมช่วยกัน

จึงจำเป็นต้องพัฒนาจิตใจของคนเสียก่อนควบคู่ไปกับการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การศึกษา การ

พัฒนาที่ไม่มีจริยธรรมเป็นแกนนำ จะสูญเปล่าและเกิดผลเสียเป็นอันมาก ถ้าคนในสังคมละเลยจริย

ธรรมทำให้ประชากรทุกข์ยาก เศรษฐกิจเสื่อม คนลุ่มหลงอบายมุข กอบโกย แล้งน้ำใจ ขาดความ

เมตตาปราณี

6. จริยธรรมช่วยทำหน้าที่พิทักษ์สิทธิ์ตามกฏหมาย สำหรับผู้ประกอบอาชีพ และช่วย

ส่งเสริมจริยธรรมของผู้ประกอบอาชีพและผู้ผลิต เช่นให้มีความสามัคคี ให้มีเมตตา กรุณา

7. จริยธรรมช่วยเน้นให้เห็นภาพพจน์ที่ดีของผู้มีจริยธรรม ผู้ที่รับผิดชอบต่อหน้าที่การงาน

และอาชีพอย่างแท้จริง เสียสละ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากยิ่งกว่าประโยชน์ส่วนตัว และจริย

ธรรมยังช่วยลดปัญหาอาชญากรรม ลดปัญหาการคดโกง ฉ้อฉล การเห็นแก่ตัว ความมักได้ การเอา

เปรียบ ใจแคบ

ดังนั้น จึงกล่าวได้ว่า จริยธรรมมีความสำคัญ เนื่องจากจะเห็นว่าองค์การธุรกิจที่มีความ

เจริญก้าวหน้า มั่งคั่ง มั่นคง ยั่งยืนยาวนานมาจนทุกวันนี้ มีลักษณะร่วมกันที่สำคัญ คือ การมีจรรยา

บรรณในการประกอบอาชีพ จรรยาบรรณทำให้ได้รับความศรัทธาเชื่อถือ ภาพพจน์ที่ดี มีเครดิตดี

ความรับความนับถือ ความสนิทสนมเป็นกันเอง ความไว้วางใจอันนำมาซึ่งลูกค้า สมาชิก ชื่อเสียง

เงินทอง เกียรติยศ ความเจริญก้าวหน้า ความมั่นคงยั่งยืน ส่วนองค์การทางธุรกิจที่ล้มเหลวมักมี

ความบกพร่องทางจริยธรรมคุณธรรม และจรรยาบรรณ

การดำเนินธุรกิจในปัจจุบันมีลักษณะเป็นวิชาชีพมากขึ้น เพราะมีผู้ประกอบธุรกิจกันมาก

ขึ้น ๆ มีผู้สนใจมากขึ้น การศึกษาด้านนี้ก้าวหน้าไปไกลมาก และเป็นอาชีพที่มีความสลับซับซ้อน

มาก ถึงแม้ว่านักบริหารส่วนใหญ่จะเป็นมืออาชีพในแง่ที่มีความรู้ทางวิชาการบริหารชั้นสูง แต่

ส่วนใหญ่ก็ยังคงไม่ตระหนักและยอมรับปฏิบัติตามจรรยาบรรณของวิชาชีพยังมีการต่อสู้ แข่งขัน

กันด้วยกลยุทธ์ที่ไม่สุจริต

ปัญหาอันเนื่องมาจากการขาดจริยธรรมในธุรกิจ

การดำเนินธุรกิจ หวังกำไรสูงสุดมีการแข่งขันกันรุนแรงอย่างขาดกติกาและวินัยแห่งตน

(Rules of game and self – discipline) มีการแข่งขัยกันจนรุนแรง ทำให้ ละเลยหรือขาดจริยธรรม

เป็นเหตุให้เกิดปัญหาเลวร้ายแก่สังคม หรือประเทศชาติ คือปัญหาอาชญากรรม ในธุรกิจคือเกมการ

เมืองในองค์การและนอกองค์การ เพื่อลดคู่ต่อสู้โดยใส่ความให้โทษ กำจัดคู่ต่อสู้โดยอาศัยอิทธิพล

ก้าวขึ้นสู่ตำแหน่งโดยผลงานผู้อื่น อาศัยอิทธิพลนักการเมือง ขโมย โจรกรรม ลอกเลียนแบบอันเป็น

ทรัพย์สินทางปัญญา ขโมยความคิด โกหก หลอกลวง ต้มตุ๋นทางการค้า พูดไม่จริง ทำสัญญากลฉ้อ

ฉล คดโกง หลีกเลี่ยงกฎหมาย ปลอมปนสินค้า ใช้อำนาจหน้าที่ช่วยพวกพ้อง เอาเปรียบสตรี เด็ก

ขูดรีดแรงงาน ใช้จิตวิทยาจูงใจ กีดกันสิทธิมนุษยชน เอาเปรียบผู้บริโภคด้วยระบบราคา ทั้งคุณภาพ

และปริมาณ ขาดจริยธรรมในการดำเนินธุรกิจ ละเลยจรรยาบรรณ จริยธรรม ที่กล่าวมานี้เป็นเพียง

ส่วนหนึ่งของปัญหาจริยธรรมธุรกิจ ในความเป็นจริงยังมีกลอุบาย อีกมากมายในโลกธุรกิจ

ประโยชน์ของการยกตัวอย่างกลโกงมาให้ทราบก็เพื่อเป็นแนวคิดว่า ในวงการธุรกิจมีแนวทางของ

อธรรมหลากหลาย การทำธุรกิจพึงควรระวังนักธุรกิจที่ขาดจริยธรรม และอย่าเอาเยี่ยงอย่าง บุคคล

ประเภทนี้ไม่สามารถนำองค์การธุรกิจไปสู่อุดมการณ์ได้เลย

นางสาวประกาย ใจประสิทธิ์ เลขที่ 11 ห้อง กจ.2/1

บทที่  9  การบริหารจัดการแห่งอนาคต

                การบริหารจัดการแห่งอนาคต  จะเป็นการดำเนินการโดยมีการนำเอาเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาเป็นเครื่องมือช่วยให้เกิดความสะดวก  รวดเร็ว  มีความคล่องตัวมากยิ่งขึ้น  ดังนั้น  แนวทางในการบริหารจัดการจึงต้องปรับเปลี่ยนไปจากเดิมที่เคนบริหารงานภายใต้การวางแผน และจะต้องมีความรอบคอบในทุก ๆ ด้านด้วยวิสัยทัศน์ที่ทันสมัย  พร้อมจะเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงที่ท้าทายด้วยการปรับกลยุทธ์และวิธีการบริหารธุรกิจให้สอดคล้องกับกระแสการเปลี่ยนแปลงนั้นโดยในโลกของธุรกิจแห่งอนาคตนั้น จะต้องพิจารณาในเรื่องต่าง ๆ ดังนี้

ลักษณะของธุรกิจแห่งอนาคต 

1.                อาณาเขตที่เลือนหาย

2.                เกิดพันธมิตรขนาดใหญ่

3.                ปราศจากความเป็นมิตรแท้และศัตรูที่ถาวร

4.                นักบริหารกับนักลงทุนจะผูกติดกันมากขึ้น

5.                ใส่ใจสังคมรวมถึงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

6.                โครงสร้างองค์การต้องกลายพันธ์

7.                เกิดจุดยึดเหนี่ยวในลักษณะที่เป็นวัฒนธรรมองค์การ

8.                ความพึงพอใจคือจุดหมายที่สำคัญ

บัญญัติ  10  ประการของบริษัทแห่งอนาคต

1.        ผู้บริหารต้องรู้วิธีบริหารจัดการความรู้ในองค์การของตน  เพราะที่แท้จริงแล้วบริษัท   คือ  ผลรวมของสิ่งที่เกิดขึ้นจากความรู้  ความสามารถ  ความเข้าใจของผู้คนบริษัทนั้น  คุณค่าของบริษัทจึงขึ้นอยู่กับความรู้และความคิดใหม่ ๆ ของคนในบริษัท

2.         ผู้บริหารจะต้องมีความสามารถในการตัดสินใจที่ดี  ซึ่งเป็นคุณสมบัติสำคัญสำหรับนักจัดการที่ดีตั้งแต่เดิมแล้ว

3.         การใส่ใจกับลูกค้าเป็นสำคัญ  ซึ่งเรื่องที่ตั้งให้ความสำคัญเป็นพิเศษ  คือ  ต้องพยายามรักษาลูกค้าเดิมเอาไว้  และสร้างประโยชน์สูงสุดจากลูกค้ารายเดิมเป็นสำคัญ

4.         ต้องพิทักษ์รักษาผู้มีฝีมือไว้กับบริษัทให้นานเท่าที่จะนานได้

5.         นักจัดการแห่งอนาคตต้องเป็นผู้ประสานสิทธิที่ดี

6.         บริษัทแห่งอนาคตต้องมีโครงสร้างที่เป็นเสมือนตัวต่อ  เลโก้   ที่แต่ละกลุ่มภายในบริษัทมีหน้าที่แตกต่างกัน  และบริษัทในภาครวมสามารถเรียบเรียงหน้าที่สำคัญเหล่านั้น  ในรูปแบบต่าง ๆ ให้สอดคล้องกันกลยุทธ์ของบริษัทในขณะนั้น

7.        ในเมื่อผู้บริษัทจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนกลยุทธ์เพื่อตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในโลกปัจจุบันอยู่ตลอดเวลา

8.        ถ้าจะทำให้หน่วยกิจกรรมอิสระ  สามารถตัดสินใจได้ด้วยตนเอง  และทำงานประสานกันโดยไม่มีข้อขัดแย้ง  สิ่งที่สำคัญก็คือ  ต้องที่กติกากลางในการทำงานที่ชัดเจน

9.        เป็นส่วนขยายจากข้อที่แล้ว  คือ  ส่งเสริมให้มีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารระหว่างหน่วยกิจกรรมอิสระอย่างโปร่งใสและกว้างขวาง

10.      บริษัทแห่งอนาคตต้องมีผู้นำที่มีความสามารถ  สร้างการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีที่เหมาะสมกับสภาพการ  และสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในขณะนั้น

การบริการจัดการเพื่อสร้างประสิทธิภาพเชิงการแข่งขันแห่งอนาคต

                        องค์กรที่มรศักยภาพจะต้องมีการวางแผนการบริหารองค์การธุรกิจให้สำเร็จได้ด้วยกรอบการบริหารแบบ  9 S  เพื่อให้องค์การธุรกิจมีความทันสมัยสามารถรองรับ  และตอบสนองแรงกดดันใหม่ ๆ ได้ ดังนี้

1.                Satisfactions  คือ  “ความพึงพอใจของลูกค้า”

2.                Speed  คือ  “ความไว”

3.                Strategy  คือ   ต้องมีกาวางตำแหน่งที่ตั้งทางธุรกิจใหม่

4.                Structure  คือ  การปรับโครงสร้างองค์การให้เป็นแบบแบนราบ

5.                System  คือ  การจัดระบบการทำงานต่าง ๆ

6.                Staff  คือ  ต้องมีการนบริหารให้เกิดความพร้อมในด้านคุณภาพของทรัพยากรของมนุษย์

7.                Skills  คือ  ต้องให้แน่ใจได้ตลอดเวลาว่าพนักงานได้มีทักษะและความรู้ที่ทันสมัย

8.                Styles  คือ  เกี่ยวข้องกับตัวผู้นำบริหารที่ต้องพัฒนาตนเอง  ให้ก้าวหน้าทันสมัย  ทันกับการเปลี่ยนแปลง

9.                Shared  Value  คือ การมีค่านิยมรวมเดียวกัน

ลักษณะขององค์การที่จะประสบความสำเร็จในยุคแห่งอนาคต

องค์การแห่งอนาคตจำเป็นต้องมีลักษณะสำคัญ  7  ประการ  ดังนี้

1.    มีความฉับพลันอยู่ตลอดเวลา

2.    มีการทำงานเป็นทีมของผู้บริหารระดับสูง

3.    มีบุคคลที่สามารถสร้างสรรค์และสามารถสื่อสารวิสัยทัศน์

4.     มีการมอบอำนาจให้อย่างกว้างขวาง

5.      มีการบริหารจัดการโดยมอบหน้าที่ให้  เพื่อผลการปฏิบัติงานในระยะสั้นที่ดีเลิศ

6.      ตัดการติดต่อภายในระหว่างกันที่ไม่จำเป็นออก

7.      มีวัฒนธรรมขององค์การที่สามารถปรับตัวได้

ลักษณะขององค์การในอนาคต

1.   องค์การจะไม่มีโครงสร้างที่เป็นเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างกันมากขึ้น

2.   จะมีลักษณะเป้ฯองค์การแบบข้ามชาติ

3.   องค์การจะมีลักษณะคลุมเครือและมีความยืดหยุ่นมากขึ้น

รูปแบบขององค์การแห่งอนาคต

1.   องค์การเสมือนจริง

2.   สถานที่ทำงานที่เป็นทางเลือก

3.   องค์การแบบ   Cellular 

สรุปบทที่ 9 การบริหารจัดการแห่งอนาคต

*ลักษณะของธุรกิจแห่งอนาคต

มีลักษณะเปลี่ยนไปใน 8 ลักษณะดังนี้

1.                อาณาเขตที่เลือนหาย

2.               เกิดพันธมิตรขนาดใหญ่

3.               ปราศจากความเป็นมิตรแท้และศัตรูที่ถาวร

4.               นักบริหารกับนักลงทุนจะผูกติดกันมากขึ้น

5.               ใส่ใจสังคมรวมถึงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

6.               โครงสร้างองค์การต้องกลายพันธุ์

7.               เกิดจุดยึดเหนี่ยวในลักษณะที่เป็นวัฒนธรรมองค์การ

8.               ความพึงพอใจคือจุดหมายที่สำคัญ

 

นักบริหารยุคใหม่ในอนาคต

1.               การเป็นนักบริหาร

2.               การเป็นผู้นำ

3.               การเป็นนักประกอบการ

 

*บัญญัติสิบประการของบริษัทแห่งอนาคต

1.  ผู้บริหารต้องรู้วิธีบริหารจัดการความรู้ในอนาคตของตน

2.  ความสามารถในการตัดสินใจที่ดี

3.   การใส่ใจกับลูกค้าเป็นสำคัญ

4.  ต้องพิทักษ์รักษาผู้มีฝีมือไว้กับบริษัทเท่าที่จะนานได้

5.  นักจัดการแห่งอนาคตต้องเป็นผู้ประสานสิบทิศที่ดี

6.  บริษัทแห่งอนาคตต้องมีโครงสร้างที่เป็นเหมือนตัวต่อเลโก้

7.  ต้องปรับเปลี่ยนกลยุทธ์เพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในโลกปัจจุบันตลอดเวลา

8.  มีกติกาในการทำงานที่ชัดเจน

9.  ส่งเสริมให้มีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารอย่างโปร่งใส

10.  มีความสามารถสร้างการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดี

 

* ลักษณะขององค์การที่จะประสบความสำเร็จในยุคแห่งอนาคต

1.               มีความรับผิดชอบอยู่ตลอดเวลา

2.               มีการทำงานเป็นทีมของผู้บริหารระดับสูง

3.               มีบุคคลที่สามารถสร้างสรรค์และสามารถสื่อสารวิสัยทัศน์

4.               มีการมอบอำนาจหน้าที่อย่างกว้างขวาง

5.               มีการบริหารจัดการโดยมอบอำนาจหน้าที่ให้เพื่อผลการปฏิบัติงานในระยะสั้นที่ดีเลิศ

6.               ตัดการติดต่อภายในระหว่างกันที่ไม่จำเป็นออก

7.               มีวัฒนธรรมขององค์การที่สามารถปรับตัวได้

 

*รูปแบบขององค์การแห่งอนาคต

1.  องค์การเสมือนจริง คือองค์การที่มีเครือข่ายชั่วคราวกับผู้จำหน่ายวัตถุดิบและลูกค้าซึ่งมีความสำพันธ์ระหว่างกันโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

2.  สถานที่ทำงานที่เป็นทางเลือก คือการเปลี่ยนแปลงรูปแบบขององค์การในลักษณะเดิม เป็นการทำงานในลักษณะให้งานมาหาคนแทนที่จะให้คนไปหางาน

3.  องค์การแบบ Cellular คือองค์การที่มีชีวิตและสามารถปรับตัวได้เปรียบเสมือนเซล ซึ่งเซลต่างๆในสิ่งมีชีวิตจะทำหน้าที่เพื่อการดำรงและสามารถทำหน้าที่ได้ด้วยตนเอง

นางสาวสุภัทรา ถาตะถา

สรุปบทที่ 9 การบริหารจัดการแห่งอนาคต

*ลักษณะของธุรกิจแห่งอนาคต

มีลักษณะเปลี่ยนไปใน 8 ลักษณะดังนี้

1.                อาณาเขตที่เลือนหาย

2.               เกิดพันธมิตรขนาดใหญ่

3.               ปราศจากความเป็นมิตรแท้และศัตรูที่ถาวร

4.               นักบริหารกับนักลงทุนจะผูกติดกันมากขึ้น

5.               ใส่ใจสังคมรวมถึงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

6.               โครงสร้างองค์การต้องกลายพันธุ์

7.               เกิดจุดยึดเหนี่ยวในลักษณะที่เป็นวัฒนธรรมองค์การ

8.               ความพึงพอใจคือจุดหมายที่สำคัญ

 

นักบริหารยุคใหม่ในอนาคต

1.               การเป็นนักบริหาร

2.               การเป็นผู้นำ

3.               การเป็นนักประกอบการ

 

*บัญญัติสิบประการของบริษัทแห่งอนาคต

1.  ผู้บริหารต้องรู้วิธีบริหารจัดการความรู้ในอนาคตของตน

2.  ความสามารถในการตัดสินใจที่ดี

3.   การใส่ใจกับลูกค้าเป็นสำคัญ

4.  ต้องพิทักษ์รักษาผู้มีฝีมือไว้กับบริษัทเท่าที่จะนานได้

5.  นักจัดการแห่งอนาคตต้องเป็นผู้ประสานสิบทิศที่ดี

6.  บริษัทแห่งอนาคตต้องมีโครงสร้างที่เป็นเหมือนตัวต่อเลโก้

7.  ต้องปรับเปลี่ยนกลยุทธ์เพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในโลกปัจจุบันตลอดเวลา

8.  มีกติกาในการทำงานที่ชัดเจน

9.  ส่งเสริมให้มีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารอย่างโปร่งใส

10.  มีความสามารถสร้างการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดี

 

* ลักษณะขององค์การที่จะประสบความสำเร็จในยุคแห่งอนาคต

1.               มีความรับผิดชอบอยู่ตลอดเวลา

2.               มีการทำงานเป็นทีมของผู้บริหารระดับสูง

3.               มีบุคคลที่สามารถสร้างสรรค์และสามารถสื่อสารวิสัยทัศน์

4.               มีการมอบอำนาจหน้าที่อย่างกว้างขวาง

5.               มีการบริหารจัดการโดยมอบอำนาจหน้าที่ให้เพื่อผลการปฏิบัติงานในระยะสั้นที่ดีเลิศ

6.               ตัดการติดต่อภายในระหว่างกันที่ไม่จำเป็นออก

7.               มีวัฒนธรรมขององค์การที่สามารถปรับตัวได้

 

*รูปแบบขององค์การแห่งอนาคต

1.  องค์การเสมือนจริง คือองค์การที่มีเครือข่ายชั่วคราวกับผู้จำหน่ายวัตถุดิบและลูกค้าซึ่งมีความสำพันธ์ระหว่างกันโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

2.  สถานที่ทำงานที่เป็นทางเลือก คือการเปลี่ยนแปลงรูปแบบขององค์การในลักษณะเดิม เป็นการทำงานในลักษณะให้งานมาหาคนแทนที่จะให้คนไปหางาน

3.  องค์การแบบ Cellular คือองค์การที่มีชีวิตและสามารถปรับตัวได้เปรียบเสมือนเซล ซึ่งเซลต่างๆในสิ่งมีชีวิตจะทำหน้าที่เพื่อการดำรงและสามารถทำหน้าที่ได้ด้วยตนเอง

น.ส.วาสนา วังพฤกษ์ กจ.2/1 เลขที่ 19

บทที่  9  การบริหารจัดการแห่งอนาคต

                ในสหัสวรรษใหม่นี้ ดูเหมือนว่าผู้บริหารในธุรกิจต่างๆ จะต้องทำงานหนักมากกว่าใครในการนำพาองค์การธุรกิจของตนให้อยู่รอดและสร้างให้เข้มแข็งมากขึ้นกว่าเดิม การเผชิญหน้ากับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจย่อมจะหลีกหนีไม่พ้น ฉะนั้นในช่วงเวลานี้จึงเป็นจังหวะที่ดีที่ผู้บริหารจะคิดหาทางปรับเปลี่ยนกลยุทธ์และวิธีดำเนินธุรกิจกันเสียใหม่ เพื่อให้บังเกิดความเจริญรุ่งเรืองต่อไป  เพราะในสหัสวรรษใหม่นี้อิทธิพลของเทคโนโลยีจะเข้ามามีบทบาทและมีส่วนสำคัญในชีวิตประจำวันของผู้คนมากยิ่งขึ้น การดำเนินธุรกิจและการบริหารกิจการต่างๆ จะมีการนำเอาเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาให้กันอย่างกว้างขวาง

1. ลักษณะของธุรกิจแห่งอนาคต 
1. อาณาเขตที่เลือนหาย
2. เกิดพันธมิตรขนาดใหญ่
3. ปราศจากความเป็นมิตรแท้และศัตรูที่ถาวร
4. นักบริหารกับนักลงทุนจะผูกติดกันมากขึ้น
5. ใส่ใจสังคมรวมถึงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
6. โครงสร้างองค์การต้องกลายพันธ์
7. เกิดจุดยึดเหนี่ยวในลักษณะที่เป็นวัฒนธรรมองค์การ
8. ความพึงพอใจคือจุดหมายที่สำคัญ
2.บัญญัติ  10  ประการของบริษัทแห่งอนาคต
 ประการที่หนึ่ง ผู้บริหารต้องรู้วิธีบริหารจัดการความรู้ในองค์การของตน  เพราะที่แท้จริงแล้วบริษัท   คือ  ผลรวมของสิ่งที่เกิดขึ้นจากความรู้  ความสามารถ  ความเข้าใจของผู้คนบริษัทนั้น  คุณค่าของบริษัทจึงขึ้นอยู่กับความรู้และความคิดใหม่ ๆ ของคนในบริษัท
ประการที่สอง ผู้บริหารจะต้องมีความสามารถในการตัดสินใจที่ดี  ซึ่งเป็นคุณสมบัติสำคัญสำหรับนักจัดการที่ดีตั้งแต่เดิมแล้ว
ประการที่สาม   การใส่ใจกับลูกค้าเป็นสำคัญ  ซึ่งเรื่องที่ตั้งให้ความสำคัญเป็นพิเศษ  คือ  ต้องพยายามรักษาลูกค้าเดิมเอาไว้  และสร้างประโยชน์สูงสุดจากลูกค้ารายเดิมเป็นสำคัญ
ประการที่สี่  ต้องพิทักษ์รักษาผู้มีฝีมือไว้กับบริษัทให้นานเท่าที่จะนานได้
ประการที่ห้า นักจัดการแห่งอนาคตต้องเป็นผู้ประสานสิทธิที่ดี
ประการที่หก  บริษัทแห่งอนาคตต้องมีโครงสร้างที่เป็นเสมือนตัวต่อ  เลโก้   ที่แต่ละกลุ่มภายในบริษัทมีหน้าที่แตกต่างกัน  และบริษัทในภาครวมสามารถเรียบเรียงหน้าที่สำคัญเหล่านั้น  ในรูปแบบต่าง ๆ ให้สอดคล้องกันกลยุทธ์ของบริษัทในขณะนั้น
ประการที่เจ็ด ในเมื่อผู้บริษัทจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนกลยุทธ์เพื่อตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในโลกปัจจุบันอยู่ตลอดเวลา
ประการที่แปด  ถ้าจะทำให้หน่วยกิจกรรมอิสระ  สามารถตัดสินใจได้ด้วยตนเอง  และทำงานประสานกันโดยไม่มีข้อขัดแย้ง  สิ่งที่สำคัญก็คือ  ต้องที่กติกากลางในการทำงานที่ชัดเจน
ประการที่เก้า  เป็นส่วนขยายจากข้อที่แล้ว  คือ  ส่งเสริมให้มีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารระหว่างหน่วยกิจกรรมอิสระอย่างโปร่งใสและกว้างขวาง
ประการที่สิบ  บริษัทแห่งอนาคตต้องมีผู้นำที่มีความสามารถ  สร้างการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีที่เหมาะสมกับสภาพการ  และสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในขณะนั้น
3. การบริการจัดการเพื่อสร้างประสิทธิภาพเชิงการแข่งขันแห่งอนาคต
องค์กรที่มรศักยภาพจะต้องมีการวางแผนการบริหารองค์การธุรกิจให้สำเร็จได้ด้วยกรอบการบริหารแบบ  9 S  เพื่อให้องค์การธุรกิจมีความทันสมัยสามารถรองรับ  และตอบสนองแรงกดดันใหม่ ๆ ได้ ดัง
1.  Satisfactions  คือ  ความพึงพอใจของลูกค้า
2.  Speed  คือ  ความไว
3.  Strategy  คือ   ต้องมีกาวางตำแหน่งที่ตั้งทางธุรกิจใหม่
4.  Structure  คือ  การปรับโครงสร้างองค์การให้เป็นแบบแบนราบ
5.  System  คือ  การจัดระบบการทำงานต่าง ๆ
6.  Staff  คือ  ต้องมีการนบริหารให้เกิดความพร้อมในด้านคุณภาพของทรัพยากรของมนุษย์
7.  Skills  คือ  ต้องให้แน่ใจได้ตลอดเวลาว่าพนักงานได้มีทักษะและความรู้ที่ทันสมัย
8.  Styles  คือ  เกี่ยวข้องกับตัวผู้นำบริหารที่ต้องพัฒนาตนเอง  ให้ก้าวหน้าทันสมัย  ทันกับการเปลี่ยนแปลง
9.  Shared  Value  คือ การมีค่านิยมรวมเดียวกัน
4.  ลักษณะขององค์การที่จะประสบความสำเร็จในยุคแห่งอนาคต
องค์การแห่งอนาคตจำเป็นต้องมีลักษณะสำคัญ  7  ประการ  ดังนี้
1.    มีความฉับพลันอยู่ตลอดเวลา
2.    มีการทำงานเป็นทีมของผู้บริหารระดับสูง
3.    มีบุคคลที่สามารถสร้างสรรค์และสามารถสื่อสารวิสัยทัศน์
4.     มีการมอบอำนาจให้อย่างกว้างขวาง
5.      มีการบริหารจัดการโดยมอบหน้าที่ให้  เพื่อผลการปฏิบัติงานในระยะสั้นที่ดีเลิศ
6.      ตัดการติดต่อภายในระหว่างกันที่ไม่จำเป็นออก
7.      มีวัฒนธรรมขององค์การที่สามารถปรับตัวได้
5.  ลักษณะขององค์การในอนาคต
1.   องค์การจะไม่มีโครงสร้างที่เป็นเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างกันมากขึ้น
2.   จะมีลักษณะเป้ฯองค์การแบบข้ามชาติ
3.   องค์การจะมีลักษณะคลุมเครือและมีความยืดหยุ่นมากขึ้น
6.  รูปแบบขององค์การแห่งอนาคต
1.   องค์การเสมือนจริง
2.   สถานที่ทำงานที่เป็นทางเลือก
3.   องค์การแบบ   Cellular 

 

สรุป

บทที่ 9 การบริหารจัดการแห่งอนาคต

วิสัยทัศน์ การบริหารงานในอนาคตจำเป็นต้องกำหนดทิศทางขององค์กร ในอนาคต โดยพิจารณาจากสภาพที่เป็นจริง สถานการณ์ลูกค้า เพื่อมุ่งถึงเป้าหมายในอนาคต วิสัยทัศน์ ประกอบด้วย เป้าหมายในอนาคต - สภาพที่เป็นจริง - ลูกค้า ผู้รับบริการ - สถานการณ์ สิ่งแวดล้อม

ปัจจุบันลูกค้าเป็นผู้กำหนดชะตากรรมขององค์การการผลิตสินค้า และบริการเปลี่ยนจากการผลิตจำนวนมากเป็นการผลิตตามความต้องการลูกค้า ผู้บริโภค ลูกค้าจึงมีความสำคัญต่อการอยู่รอดขององค์การ การบริหารงานยุคใหม่ จึงมุ่งสนองตอบต่อลูกค้าเป็นสำคัญ

พันธกิจ เป็นภารกิจหรือแนวทางนำไปสู่วิสัยทัศน์ เป็นกิจกรรมหลักที่ทำให้วิสัยทัศน์บรรลุผล องค์ประกอบของพันธกิจ

ทำอะไร เป้าหมายคืออะไร ใครเป็นคนทำ ผู้รับผิดชอบคือใคร ทำอย่างไร ให้บรรลุวัตถุประสงค์

ดังนั้น พันธกิจอาจกำหนดไว้หลานด้าน เพื่อตอบสนองต่อวิสัยทัศน์ (เป้าหมายหลัก) ที่กำหนดไว้

* ผลสำฤทธิ์ การประเมินผลการทำงานจะประเมินผลสัมฤทธิ์ โดยประเมินทั้งผลผลิต และผลลัพธ์

- ผลผลิต เป็นผลที่เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมจากโครงการ เป็นผลที่เกิดขึ้นโดยตรงจากการผลิตสินค้าและบริการ

- ผลลัพธ์ เป็นผลกระทบของโครงการ อาจเป็นผลด้านนามธรรมและส่งผลต่อความสำเร็จหรือล้มเหลวของโครงการโดยตรง

ดังนั้น การบริหารงานภายใต้การเปลี่ยนแปลง จำเป็นต้องกำหนดเป้าหมายในการดำเนินการ วิธีการที่ทำให้ บรรลุผลตามเป้าหมายที่กำหนดและประเมินผลการดำเนินการที่ผ่านมาว่าบรรลุผลตามเป้าหมายหรือไม่ ซึ่งได้แก่การกำหนดวิสัยทัศน์พันธกิจ และผลสัมฤทธิ์ในการทำงาน ซึ่งจะทำงานไปวันๆ ไร้จุดหมายทิศทาง ดังเช่นอดีตที่ผ่านมาอีกไม่ได้

การปรับกระบวนทัศน์ในการทำงานใหม่

การปรับกระบวนทัศน์ในการทำงานใหม่ เป็นการปรับเปลี่ยนทัศนคติ วิธีคิด วิธีทำงานของคน และหน่วยงานใหม่ เพื่อสร้างสรรค์บรรยายกาศการทำงานมุ่งสู่ผลสัมฤทธิ์ในการทำงาน การปรับเปลี่ยนทัศนคติของผู้ปฎิบัติงาน ให้มีความเต็มใจในการให้บริการด้วยอัธยาศัยไมตรี มองผู้มาติดต่อเป็นลูกค้า ที่ต้องให้บริการด้วยความสะดวกรวดเร็ว ปรับทัศนคติการทำงานที่ปกป้องตนเอง มาเป็นการทำงานเพื่อมุ่งผลสำเร็จของงานการปรับเปลี่ยนวิธีคิด วิธีทำงานใหม่ ของผู้ปฎิบัติงาน จะเป็นการสร้างสรรค์การทำงานให้ผู้ปฎิบัติงานสามารถทำงานได้อย่างสะดวก รวดเร็ว มีความภูมิใจต่องานที่รับผิดชอบ ตลอดจนลูกค้าหรือประชาชนที่มาคิดต่อเกิดความพอใจ ประทับใจในการให้บริการ ควรปรับเปลี่ยนวิธีคิด วิธีการทำงานใหม่ ดังนี้ มองประชาชนผู้มาขอรับบริการ หรือผู้มาติดต่อราชการ เป็นลูกค้า เปลี่ยนการทำงานที่ยึดเบียบปฎิบัติกฎเกณฑ์เคร่งครัดเป็นการทำงานที่ยืดหยุ่นมุ่งผลสำเร็จของงาน ปรับลดขั้นตอนการทำงานที่ซ้ำซ้อน ใช้เอกสารใช้เวลามาก ให้มีขั้นตอนน้อยลง ใช้เอกสารและเวลาน้อยลงเท่าที่ไม่ขัดต่อระเบียบ การมอบอำนาจในการทำงาน การมอบอำนาจในการทำงานให้แก่เจ้าหน้าที่หรือพนักงานผู้ปฎิบัติงาน จะเป็นผลให้

เพิ่มความคล่องตัวในการทำงาน ตอบสนองลูกค้าได้รวดเร็ว ลดข้อจำกัดการทำงาน เพิ่มผลผลิตมากขึ้น การทำงานมีประสิทธิภาพสูงขึ้น เพิ่มขวัญกำลังใจแก่ผู้ปฎิบัติงาน

การจัดสำนักงาน จัดสภาพภูมิทัศน์ เป็นแนวคิดการจัดสภานที่ทำงาน และสภาพแวดล้อมของสถานที่ทำงานให้เอื้ออำนวยต่อการทำงาน

แนวความคิดในการจัดสำนักงาน และจัดสภาพภูมิทัศน์สมัยใหม่ ประกอบด้วย

สำนักงานไร้กระดาษ ลดการใช้เอกสาร มีระบบการจัดเก็บเอกสารที่ทันสมัย

สถานที่ทำงาน สะอาด สวยงาม มีบรรยากาศเอื้ออำนวยต่อการทำงาน

สร้างทีมงาน จัดสถานที่ทำงานเอื้ออำนวยต่อการทำงานเป็นทีม จัดโต๊ะทำงานหันหน้าเข้าหากันเป็นลักษณะการทำงานปรึกษาหารือสถานที่ประชุมสัมมนา

จัดระบบสำนักงานอัตโนมัติ นำระบบสำนักงานอัตโนมัติมาใช้ มีระบบโทรศัพท์คอมพิวเตอร์ มาใช้ในการทำงาน เพื่อให้ทำงานได้อย่างสะดวก รวดเร็ว

การจัดสำนักงานไร้กระดาษ

แนวทางการดำเนินการสู่สำนักงานไร้กระดาษ เป็นการลดการใช้กระดาษ การจัดเก็บเอกสารและการทำลายเอกสารซึ่งการดำเนินการสู่สำนักงานไร้กระดาษ มีดังนี้

ปรับปรุงระบบจัดเก็บและทำลายเอกสาร ลดเอกสารได้ร้อยละ 40 โดยจำกัดพื้นที่ จัดเก็บและทำลาย

ระเบียบคำสั่ง วินัย/มาตรฐาน ฯลฯ

ปิดประกาศหรือแจ้งเวียนแทนการแจกจ่ายเอกสาร

ใช้เทคโนโลยีในการจัดเก็บ ลดเอกสารได้ร้อยละ 40 ด้วยระบบจัดเก็บเอกสาร Save in Diskettes Filing System

นางสาวพรพรรณ แก้วศิริ เลขที่13 กจ. 2/1

สรุปบทที่ 9

การบริหารจัดการแห่งอนาคต                                   

 

          ารบริหารจัดการแห่งอนาคต เป็นการนำเอาเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาช่วยในการดำเนินงานอย่างกว้างขว้าง โดยการนำเอาคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ตซึ่งเป็นระบบสารสนเทศที่มีความรวดเร็ว สามารถเชื่องโยงและย่อโลกให้สื่อสารถึงกันได้อย่างสะดวกเพียงแค่ปลายนิ้วสัมผัส และยังเป็นเครื่องมือในการดำเนินธุรกิจและการค้าเพื่อหาช่องทางใหม่

ลักษณะของธุรกิจแห่งอนาคต

          ภาพของสภาพแวดล้อมของโลกธุรกิจแห่งอนาคตจะมีลักษณะแปรเปลี่ยนไปใน 8 ลักษณะดังนี้

1.อาณาเขตที่เลือนหาย

2.เกิดพันธมิตรขนาดใหญ่

3.ปราศจากคามเป็นมิตรแท้และศัตรูถาวร 

4.นักบริหารกับนักลงทุนจะผูกติดกันมากขึ้น

5.ใส่ใจสังคมรวมถึงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

6.โครงสร้างองค์การต้องกลายพันธ์

7.เกิดจุดยึดเหนี่ยวในลักษณะที่เป็นวัฒนธรรมองค์การ

8.ความพึงพอใจคือจุดหมายที่สำคัญ

          นักบริหารยุคใหม่ต้องเตรียมตัวให้พร้อมและควรเสริมสร้างให้ตัวเองมีลักษณะ 3 ลักษณะดังนี้

1.การเป็นนักบริหาร

2.การเป็นผู้นำ

3.การเป็นนักประกอบการ

 

บัญญัติสิบประการของบริษัทแห่งอนาคต

ประการที่หนึ่ง   ผู้บริหารต้องรู้วิธีบริหารจัดการความรู้ในองค์การของตน

ประการที่สอง   ความสามารถในการตัดสินใจที่ดี

ประการที่สาม   การใส่ใจกับลูกค้าเป็นสำคัญ

ประการที่สี่        ต้องพิทักษ์รักษาผู้มีฝีมือไว้กับบริษัท

ประการที่ห้า      นักจัดการแห่งอนาคตต้องเป็นผู้ประสานสิบทิศที่ดี

ประการที่หก     บริษัทแห่งอนาคตต้องมีโครงสร้างที่เป็นเหมือน ตัวต่อเลโก้

ประการที่เจ็ด     ผู้บริหารต้องเปลี่ยนแปลงได้อย่างรวดเร็วให้เข้ากับปัจจุบัน

ประการที่แปด   มีกติกาการทำงานที่ชัดเจน

ประการที่เก้า     มีการเปิดเผยข้อมูลอย่างโปร่งใส

ประการสุดท้าย   สามารถเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีเหมาะสมกับสถานการณ์และสิ่งแวดล้อม

 

การบริหารจัดการเพื่อสร้างประสิทธิภาพเชิงการแข่งขันแห่งอนาคต

          สามารถปรับตัวและพัฒนาความสามารถในด้านต่าง ๆ เพื่อเป็นองค์การที่มีศักยภาพ เพื่อให้องค์การธุรกิจมีความทันสมัยสามารถรองรับและตอบสนองแรงกดดันใหม่ ๆ ได้

 

ลักษณะขององค์การที่จะประสบความสำเร็จในยุคแห่งอนาคต

1. มีความฉับพลันอยู่ตลอดเวลา

2. มีการทำงานเป็นทีมของผู้บริหารระดับสูง

3. มีบุคคลที่สามารถสร้างสรรค์และสามารถสื่อสารวิสัยทัศน์

4. มีการมอบอำนาจให้อย่างกว้างขว้าง

5. มีการบริหารจัดการโดยมอบหน้าที่ให้เพื่อผลการปฏิบัติงานในระยะสั้น

6. ตัดการติดต่อภายในระหว่างกันที่ไม่จำเป็นออก

7. มีวัฒนธรรมขององค์การที่สามารถปรับตัวได้

 

ลักษณะขององค์การในอนาคต

1. องค์การจะไม่มีโครงสร้าง

2. จะมีลักษณะเป็นองค์การแบบข้ามชาติ

3. องค์การจะมีลักษณะคลุมเครือ

 

รูปแบบขององค์การแห่งอนาคต

1. องค์การเสมือนจริง

2. สถานที่ทำงานที่เป็นทางเลือก

3. องค์การแบบ Cellular

 

พิรุฬห์ลักษณ์ ไชยประดิษฐ เลขที่ 14 กจ. 2/1

สรุปบทที่ 9 การบริหารจัดการแห่งอนาคต

1.ลักษณะของธุรกิจแห่งอนาคต

จากผลกระทบของความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้สภาพแวดล้อมของโลกธุรกิจในอนาคตเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ผู้บริหารยุคใหม่จำเป็นต้องปรับตัวให้ทัน ซึ่งภาพของสภาพแวดล้อมของโลกธุรกิจแห่งอนาคตจะมีลักษณะแปรเปลี่ยนไปใน 8 ลักษณะ

  1. อาณาเขตที่เลือนหาย
  2. เกิดพันธมิตรขนาดใหญ่
  3. ปราศจากความเป็นมิตรแท้และศัตรูที่ถาวร
  4. นักบริหารกับนักลงทุนจะผูกติดกันมากขึ้น
  5. ใส่ใจสังคมรวมถึงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
  6. โครงสร้างองค์การต้องกลายพันธุ์
  7. เกิดจุดยึดเหนี่ยวในลักษณะที่เป็นวัฒนธรรมองค์การ
  8. ความพึงพอใจคือจุดหมายที่สำคัญ

จากลักษณะของธุรกิจแห่งอนาคตที่ปรับเปลี่ยนไป ดังนั้นสิ่งที่นักบริหารยุคใหม่ในอนาคตจะต้องเตรียมตัวให้พร้อม มี 3 ลักษณะดังนี้

  1. การเป็นนักบริหาร
  2. การเป็นผู้นำ
  3. การเป็นนักประกอบการ

2.บัญญัติสิบประการของบริษัทแห่งอนาคต

ประการที่หนึ่ง ผู้บริหารต้องรู้วิธีบริหารจัดการความรู้ในองค์การของตน

ประการที่สอง คือความสามารถในการตัดสินใจที่ดี ซึ่งเป็นคุณสมบัติสำคัญสำหรับนักจัดการที่ดีตั้งแต่เดิมแล้ว

ประการที่สาม คือการใส่ใจกับลูกค้าเป็นสำคัญ

ประการที่สี่ คือต้องพิทักษ์รักษาผู้มีฝีมือไว้กับบริษัทให้นานเท่าที่จะนานได้

ประการที่ห้า คือนักจัดการแห่งอนาคตต้องเป็นผู้ประสารสิบทิศที่ดี

ประการที่หก บริษัทแห่งอนาคตต้องมีโครงสร้างที่เป็นเหมือน ตัวต่อเลโก้

ประการที่เจ็ด ผู้บริหารจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนกลยุทธ์เพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในโลกปัจจุบันอยู่ตลอดเวลา

ประการที่แปด สามารถตัดสินใจได้ด้วยตนเองและทำงานประสานกันได้โดยไม่มีข้อขัดแย้ง

ประการที่เก้า เป็นส่วนขยายจากประการที่แล้ว คือส่งเสริมให้มีการเปิดเผยข้อมูลอย่างโปร่งใสและกว้างขวาง

ประการสุดท้าย บริษัทแห่งอนาคตต้องมีผู้นำที่มีความสามารถสร้างการเปลี่ยยนแปลงในทางที่ดีที่เหมาะสมกับสภาพการณ์และสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในขณะนั้น

3.การบริหารจัดการเพื่อสร้างประสิทธิภาพเชิงการแข่งขันแห่งอนาคต

เพื่อให้องค์การธุรกิจมีความทันสมัยสามารถรองรับและตอบสนองแรงกดดันใหม่ ๆ ได้คือ

  1. Satisfactions หรือ ความพึงพอใจของลูกค้า คือปัจจัยหลักซึ่งธุรกิจและกิจการอื่น ๆ ยึดถือเป็นตัวตั้งและเป็นแรงกดดันตนเอง
  2. Speed หรือ ความไว คือประสิทธิภาพอันเป็น " ความเร็ว " จากเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ทำให้เกิดกระแสโลกาภิวัฒน์ แล้วนำมาสู่การค้าแบบได้พรมแดน
  3. Strategy คือต้องมีการวางตำแหน่งที่ตั้งทางธุรกิจใหม่
  4. Structure คือการปรับโครงสร้างองค์การให้เป็นแบบแบนราบ
  5. System คือการจัดระบบการทำงานต่าง ๆ ที่ใช้ผลิตและให้บริหาร โดยให้มีความทันสมัยสามารถตอบสนองความต้องการใหม่ ๆ ของลูกค้า
  6. Staff คือการต้องบริหารให้เกิดความพร้อมในด้านคุณภาพของทรัพยากรมนุษย์
  7. Skills คือการต้องให้แน่ใจได้ตลอดเวลาว่าพนักงานได้มีทักษะและความรู้ที่ทันสมัยสามารถปรับตัวตามทัน
  8. Styles คือเกี่ยวข้องกับตัว "ผู้นำบริหาร" ที่จะต้องพัฒนาตนเองให้ก้าวหน้าทันสมัย โดยมีวิสัยทัศน์มองเห็นการเปลี่ยนแปลงที่กำลังเกิดขึ้น
  9. Shared Value คือการมีค่านิยมร่วมเดียวกัน หรือมีวัฒนธรรมองค์การที่ดีที่ซึ่งทุกฝ่ายมีจุดมุ่งหมายร่วม ยึดมั่นในอุดมการณ์ร่วมอันเดียวกัน และปฏิบัติตนไปในทิศทางเดียวกัน

4. ลักษณะขององค์การที่จะประสบความสำเร็จในยุคแห่งอนาคต

  1. มีความฉับพลันอยู่ตลอดเวลา
  2. มีการทำงานเป็นทีมของผู้บริหารระดับสูง
  3. มีบุคคลที่สมารถสร้างสรรค์และสามารถสื่อสารวิสัยทัศน์
  4. มีการมอบอำนาจให้อย่างกว้างขวาง
  5. มีการบริหารจัดการโดยมอบหน้าที่ให้ เพื่อผลการปฏิบัติงานในระยะสั้นที่ดีเลิศ
  6. ตัดการติดต่อภายในระหว่างกันที่ไม่จำเป็นออก
  7. มีวัฒนธรรมขององค์การที่สามารถปรับตัวได้

5. ลักษณะขององค์การในอนาคต

  1. องค์การจะไม่มีโครงสร้างที่เป็นเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างกันมากขึ้น
  2. จะมีลักษณะเป็นองค์การแบบข้ามชาติ
  3. องค์การจะมีลักษณะคลุมเครือ และมีความยืดหยุ่นมากขึ้น

6. รูปแบบขององค์การแห่งอนาคต

  1. องค์การเสมือนจริง คือองค์การที่มีเครือข่ายชั่วคราว กับผู้จัดจำหน่ายวัตถุดิบและลูกค้า ซึ่งมีความสัมพันธ์กันโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
  2. สถานที่ทำงานที่เป็นทางเลือก หมายถึงการเปลี่ยนแปลงรูปแบบขององค์การให้ลักษณะเดิม เป็นการทำงานในลักษณะที่ให้งานมาหาคน
  3. องค์การแบบ Cellular ซึ่งหมายถึงองค์การที่มีชีวิตและสามารถปรับตัวได้เปรียบเสมือนเซล ซึ่งเซลต่าง ๆ ในสิ่งมีชีวิตจะทำหน้าที่เพื่อการดำรงอยู่และสามารถทำหน้าที่ได้ด้วยตัวเอง

 

นางสาวเกศิณี นิลกำแหง กจ. 2/1 เลขที่ 2

สรุป  บทที่ 9

การบริหารจัดการอนาคต

การบริหารธุรกิจในสหัสวรรษใหม่ไม่ง่ายเหมือนแต่เดิมอีกต่อไป  เพราะจะต้องประสบความท้าทายของการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจที่รออยู่ข้างหน้า  การแข่งขันกันในระดับโลก  คุณภาพสินค้าและบริการจะต้องได้มาตรฐานสากลเป็นที่เชื่อถือได้  กระแสการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจึงเป็นเรื่องที่ผู้บริหารจำเป็นต้องรู้ทิศทางและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของโลก  พร้อมจะเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงที่ท้าทายด้วยการปรับยุทธ์และวิธีการบริหารธุรกิจให้สอดคล้องกับกระแสการเปลี่ยนแปลงนั้น

ลักษณะของธุรกิจแห่งอนาคต

ภาพของสภาพแวดล้อมของโลกธุรกิจแห่งอนาคตจะมีลักษณะแปรเปลี่ยนไปใน 8 ลักษณะ ดังนี้

1 )  อาณาเขตที่เลือนหาย

2 )  เกิดพันธมิตรขนาดใหญ่

3 )  ปราศจากความเป็นมิตรแท้และศัตรูที่ถาวร

4 )  นักบริหารกับนักลงทุนและผูกติดกันมากขึ้น

5 )  ใส่ใจสังคมรวมถึงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

6 )  โครงสร้างองค์การต้องกลายพันธุ์

7 )  เกิดจุดยึดเหนี่ยวในลักษณะที่เป็นวัฒนธรรมองค์การ

8 )  ความพึงพอใจคือจุดหมายที่สำคัญ

นักบริหารยุคใหม่ในอนาคตจะต้องเตรียมตัวให้พร้อมและควรจะเสริมสร้างให้มีในตัวคน ๆ เดียวอย่างน้อย ๆ ใน 3 ลักษณะ ดังนี้

                1 )  การเป็นนักบริหาร บทบาทของการเป็นนักจัดการหรือบริหารทรัพยากรต่าง ๆ ในองค์การให้เกิดประสิทธิภาพ

                2 )  การเป็นผู้นำ  คือต้องมีวิสัยทัศน์ที่ดี มองให้กว้างให้ไกล

                3 )  การเป็นนักประกอบการ ต้องเป็นคนที่คิดเร็ว ทำเร็ว โดยไม่ปล่อยให้โอกาสอันดีหลุดลอยไปได้ง่าย ๆ 

บัญญัติสิบประการของบริษัทแห่งอนาคต

ประการที่หนึ่ง     ผู้บริหารต้องรู้วิธีบริหารจัดการความรู้ในองค์การของตน

ประการที่สอง      ความสามารถในการตัดสินใจที่ดี

ประการที่สาม      การใส่ใจกับลูกค้าเป็นสำคัญ

ประการที่สี่           ต้องพิทักษ์รักษาผู้มีฝีมือไว้กับบริษัท

ประการที่ห้า         นักจัดการแห่งอนาคตต้องเป็นผู้ประสานสิบทิศที่ดี

ประการที่หก        บริษัทแห่งอนาคตต้องมีโครงสร้างที่เป็นเหมือน ตัวต่อเลโก้

ประการที่เจ็ด        ผู้บริหารต้องเปลี่ยนแปลงได้อย่างรวดเร็วให้เข้ากับปัจจุบัน

ประการที่แปด      มีกติกาการทำงานที่ชัดเจน

ประการที่เก้า        มีการเปิดเผยข้อมูลอย่างโปร่งใส

ประการสุดท้าย   สามารถเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีเหมาะสมกับสถานการณ์และสิ่งแวดล้อม

การบริการจัดการเพื่อสร้างประสิทธิภาพเชิงการแข่งขันแห่งอนาคต
1.  Satisfactions  คือ  ความพึงพอใจของลูกค้า
2.  Speed               คือ  ความไว
3.  Strategy           คือ   ต้องมีกาวางตำแหน่งที่ตั้งทางธุรกิจใหม่
4.  Structure         คือ  การปรับโครงสร้างองค์การให้เป็นแบบแบนราบ
5.  System             คือ  การจัดระบบการทำงานต่าง ๆ
6.  Staff                 คือ  ต้องมีการนบริหารให้เกิดความพร้อมในด้านคุณภาพของทรัพยากรของมนุษย์
7.  Skills                 คือ  ต้องให้แน่ใจได้ตลอดเวลาว่าพนักงานได้มีทักษะและความรู้ที่ทันสมัย
8.  Styles                คือ  เกี่ยวข้องกับตัวผู้นำบริหารที่ต้องพัฒนาตนเอง  ให้ก้าวหน้าทันสมัย  ทันกับการเปลี่ยนแปลง
9.  Shared  Value  คือ การมีค่านิยมรวมเดียวกัน

ลักษณะขององค์การที่จะประสบความสำเร็จในยุคแห่งอนาคต
องค์การแห่งอนาคตจำเป็นต้องมีลักษณะสำคัญ  7  ประการ  ดังนี้
1.    มีความฉับพลันอยู่ตลอดเวลา
2.    มีการทำงานเป็นทีมของผู้บริหารระดับสูง
3.    มีบุคคลที่สามารถสร้างสรรค์และสามารถสื่อสารวิสัยทัศน์
4.     มีการมอบอำนาจให้อย่างกว้างขวาง
5.     มีการบริหารจัดการโดยมอบหน้าที่ให้  เพื่อผลการปฏิบัติงานในระยะสั้นที่ดีเลิศ
6.     ตัดการติดต่อภายในระหว่างกันที่ไม่จำเป็นออก
7.     มีวัฒนธรรมขององค์การที่สามารถปรับตัวได้ 
ลักษณะขององค์การในอนาคต
-  องค์การจะไม่มีโครงสร้างที่เป็นเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างกันมากขึ้น
-  จะมีลักษณะเป็นองค์การแบบข้ามชาติ
-  องค์การจะมีลักษณะคลุมเครือ และมีความยืดหยุ่นมากขึ้น
รูปแบบขององค์การแห่งอนาคต
-
องค์การเสมือนจริง คือองค์การที่มีเครือข่ายชั่วคราว

-  สถานที่ทำงานที่เป็นทางเลือก หมายถึงการเปลี่ยนแปลงรูปแบบขององค์การให้ลักษณะเดิม เป็นการทำงานในลักษณะที่ให้งานมาหาคน
-  องค์การแบบ
Cellular ซึ่งหมายถึงองค์การที่มีชีวิตและสามารถปรับตัวได้เปรียบเสมือนเซล ซึ่งเซลต่าง ๆ ในสิ่งมีชีวิตจะทำหน้าที่เพื่อการดำรงอยู่และสามารถทำหน้าที่ได้ด้วยตัวเอง

                ตัวอย่าง  ของธุรกิจที่มีลักษณะเป็นเซล เช่น Technical  and  Computer  Graphics  of  Sydney , Australia (TCG) 

 

 

 

 

นางสาวจุฑามณี ขัดตา เลขที่ 4 กจ 2/1

สรุป บทที่ 9 การบริหารจัดการแห่งอนาคต

ลักษณะของธุรกิจแห่งอนาคต มี 8 ลักษณะ

1. อาณาเขตที่เลือนหาย

2. เกิดพันธมิตรขนาดใหญ่

3. ปราศจากความเป็นมิตรแท้และศัตรูที่ถาวร

4. นักบริหารกับนักลงทุนจะผูกติดกันมากขึ้น

5. ใส่ใจสังคมร่วมถึงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

6. โครงสร้างองค์การต้องกลายพันธุ์

7. เกิดจุดยึดเหนี่ยวในลักษณะที่เป็นวัฒนธรรมองค์การ

8. ความพึ่งพอใจคือจุดหมายที่สำคัญ

นักบริหารยุคใหม่ในอนาคตจะต้องเตรียมตัวให้พร้อมและสมควรจะเสริมสร้างให้มีในตัวคนๆเดี่ยวอย่างน้อยๆ ใน 3ลักษณะ

1. การเป็นนักบริหาร

2. การเป็นผู้นำ

3. การเป็นผู้ประกอบการ

บัญญัติสิบประการของบริษัทแห่งอนาคต

1. ผู้บริหารต้องรู้วิธีบริหารจัดการในองค์การของตน

2. ความสามารถในการตัดสินใจที่ดี

3. การใส่ใจกับลูกค้าเป็นสำคัญ

4. ต้องพิทักษ์รักษาผู้มีฝีมือไว้กับบริษัทให้นานเท่านาน

5. นักจัดการแห่งอนาคตต้องเป็นผู้ประสานสิบทิศที่ดี

6. บริษัทแห่งอนาคตต้องมีโครงสร้างที่เป็นเหมือน ตัวต่อเลโก้

7. ในเมื่อผู้บริหารจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนกลยุทธ์เพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในโลกปัจจุบัน

8. ถ้าจะทำให้หน่วยกิจกรรมอิสระ สามารถตัดสินใจได้ด้วยตนเอง

9. ส่งเสริมให้มีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารระหว่างกิจกรรมอิสระอย่างโปร่งใส่

10. บริษัทแห่งอนาคตต้องมีผู้นำที่ความสามารถสร้างการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดี

การบริหารจัดการเพื่อสร้างประสิทธิภาพเชิงการแข่งขันแห่งอนาคต

1. Satisfactions

2. Speed

3. Strategy

4. Structure

5. System

6. Staff

7. Skills

8. Styles

9. Shared Value

ลักษณะขององค์การที่จะสบความสำเร็จในยุคแห่งอนาคต

1. มีความฉับพลันอยู่ตลอดเวลา

2. มีการทำงานเป็นทีม

3. มีบุคคลที่สามารถสร้างสรรค์และสามารถสื่อสารวิสัยทัศน์

4. มีการมอบอำนาจให้อำนาจให้อย่างกว้างขวาง

5. มีการบริหารจัดการโดยมอบหน้าทีให้

6. ตัดการติดต่อภายในระหว่างกันที่ไม่จำเป็น

7. มีวัฒนธรรมขององค์การที่สามารถปรับตัวได้

ลักษณะขององค์การในอนาคต

1. องค์การจะไม่มีโครงสร้างที่เป็นเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างกันมาก

2. จะมีลักษณะเป็นองค์การแบบข้ามชาติ

3. องค์การจะลักษณะคลุมเครือ

รูปแบบขององค์การแห่งอนาคต

1. องค์การเสมือนจริง

2. สถานที่ทำงานที่เป็นทางเลือก

3. องค์การแบบ Cellular

นายวรพล ลีโชติจารุวงศ์ กจ.2/1 เลขที่ 31

สรุปบทที่ 9  เรื่องการบริหารจัดการแห่งอนาคต

         การบริหารในสหัสวรรษใหม่จึงไม่ง่ายเหมือนแต่เดิมอีกต่อไป เพราะจะต้องประสบกับการท้าทายของการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจที่รออยู่ข้างหน้า การแข่งขันกันในระดับโลก  คุณภาพของสินค้าและการบริการต้องได้มาตรฐานสากลเป็นที่เชื่อถือได้ การบริหารจัดการยุคใหม่ต้องมีแนวทางการขาย  การสินชื่อและการบริหารความเสียงควบคู่กันไป

ลักษณะของธุรกิจแห่งอนาคต

  1. อาณาเขตที่เลือนหาย
  2. เกิดพันธมิตรขนาดใหญ่
  3. ปราศจากมิตรแท้และศัตรูถาวร
  4. นักบริหารกับนักลงทุนจะผูกติดกันมากขึ้น
  5. ใส่ใจสังคมรวมถึงความรับผิดชอบต่อสังคม
  6. โครงสร้างองค์การต้องกลายพันธุ์
  7. เกิดจุดยึดเหนี่ยวในลักษณะที่เป็นวัฒนธรรมองค์การ
  8. ความพึงพอใจ

ดังนั้นสิ่งที่นักบริหารยุคใหม่ในอนาคตจะต้องเตรียมตัวให้พร้อมและควรจะเสริมสร้างให้มีในตัวคน ๆ เดียวอย่างน้อย ๆ ใน 3 ลักษณะดังนี้

  1. การเป็นนักบริหาร  เป็นนักบริหารจัดการหรือบริหารทรัพยากรต่างๆในองค์กร
  2. การเป็นผู้นำ  ต้องมีวิสัยทัศน์ที่ดีมองการไกล
  3. การเป็นนักประกอบการ  ต้องเป็นคนคิดเร็วทำเร็ว

บัญญัติสิบประการของบริษัทแห่งอนาคต

ประการที่หนึ่ง  ผู้บริหารต้องรู้วิธีบริหารจัดการความรู้ในองค์การของตน

ประการที่สอง  มีความสามารถในการตัดสินใจที่ดี

ประการที่สาม  การใส่ใจกับลูกค้าเป็นสำคัญ

ประการที่สี่  ต้องพิทักรักษาผู้ที่มีฝีมือไว้กับบริษัท

ประการที่ห้า  ต้องเป็นผู้ประสานสิบทิศที่ดี

ประการที่หก  ต้องมีโครงสร้างที่เป็นหมือนตัวต่อเลโก้

ประการที่เจ็ด  ต้องปรับเปลี่ยนกลยุทธ์เพื่อตอบสนองความเปลี่ยนแปลง

ประการที่แปด  ทำให้หน่วยกิจกรรมอิสระ  สามารถตัดสินใจได้ด้วยตนเอง

ประการที่เก้า  ส่งเสริมให้มีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร

ประการสุดท้าย  ต้องมีผู้นำที่มีความสามารถสร้างการเปลี่ยนแปลง

การบริหารจัดการเพื่อสร้างประสิทธิภาพเชิงการแข่งขันแห่งอนาคต

  1. Satisfactions หรือ ความพึงพอใจของลูกค้า
  2. Speed หรือ ความว่องไว
  3. Strategy คือ ต้องมีการว่างตำแหน่งที่ตั้งทางธุรกิจ
  4. Structure คื่อ การปรับโครงสร้างองค์การ
  5. System คือ การจัดระบบการทำงานต่างๆ
  6. Staff คือ การบริหารให้เกิดความพร้อมในคุณภาพ
  7. Skills คือ การที่พนักงานมีทักษะความรู้ที่ทันสมัย
  8. Styles คือ เกี่ยวข้องกับตัวผู้บริหารวิสัยทัศน์
  9. Shared Value คือ การมีค่านิยมร่วมเดียวกัน

ลักษณะขององค์การที่จะประสบความสำเร็จในยุคแห่งอนาคต

  1. มีความฉับพลันอยู่ตลอดเวลา
  2. มีการทำงานเป็นทีมของผู้บริหารระดับสูง
  3. มีบุคคลที่สามารถสร้างสรรค์และสามารถสื่อสารวิสัยทัศน์
  4. มีการมอบอำนาจให้อย่างกว้างขวาง
  5. มีการบริหารจัดการโดยมอบหน้าที่ให้ เพื่อผลการปฏิบัติงานในระยะสั้นที่ดีเลิศ
  6. ตัดการติดต่อภายในระหว่างกันที่ไม่จะเป็นออก
  7. มีวัฒนธรรมขององค์การที่สามารถปรับตัวได้

รูปแบบขององค์การแห่งอนาคต

  1. องค์การเสมือนจริง
  2. สถานที่ทำงานที่เป้นทางเลือก
  3. องค์การแบบ Cellular

น.ส. กาญจนา เจตะวัน เลขที่ 1 กจ. 2/1

สรุปบทที่  9 

การบริหารจัดการแห่งอนาคต

 

                ในการนำพาองค์กรธุรกิจของตนให้อยู่รอดและสร้างให้เข้มแข็งมากขึ้น   อีกทั้งยังตองเผชิญหน้ากับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ  ผู้บริหารจึงควรคิดหาทางปรับเปลี่ยนกลยุทธ์และวิธีดำเนินธุรกิจ  เพื่อให้เกิดความเจริญรุ่งเรือง  ปัจจุบันอิทธิพลของเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทมากขึ้นในการดำเนินดำเนินธุรกิจ  และทำให้เกิดองค์กรธุรกิจใหม่ๆ มากขึ้น  เช่น  E – Commerce  เป็นต้น  การบริหารงานในปัจจุบันจึงต้องมีการศึกษาถึงเรื่องของอนาคตเพื่อรับกับการเปลี่ยนแปลง

ลักษณะของธุรกิจในอนาคต

        1.ปัจจุบันเทคโนโลยีด้านข่าวสารได้แพร่กระจายอย่างรวดเร็วจึงทำให้เกิด  อาณาเขตที่เลือนหาย

        2.ความเจริญทำให้ธุรกิจต่างๆประสานงานกันตอบสนองความต้องการของสังคมเกิดพันธมิตรขนาดใหญ่
        3. ปราศจากมิตรแท้และศัตรูที่ถาวร

        4. โอกาสการขยายตัวเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วทำให้  นักบริหารกับนักลงทุนจะผู้ติดกันมากขึ้น

        5. ให้การสนับสนุนและการมีภาพลักษณ์ที่ดีโดย  ใส่ใจสังคมรวมถึงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

        6.  เนื่องจากการดำเนินธุรกิจเปลี่ยนแปลงไปทำให้  โครงสร้างองค์กรต้องกลายพันธ์

        7. เกิดการยึดเหนี่ยวในลักษณะที่เป็นวัฒนธรรมองค์การ

       8. ความพอใจ คือ จุดหมายที่สำคัญที่สุด

 

                จากลักษณะของธุรกิจแห่งอนาคตที่เปลี่ยนไป   ดังนั้น  สิ่งที่นักบริหารยุคใหม่จะต้องเตรียมตัวแบ่งเป็น  3  ลักษณะ  ดังนี้

 

                1.  การเป็นนักบริหาร  (Manager)

                2.  การเป็นผู้นำ  (Leader)

                3.  การเป็นนักประกอบการ  (Entrepreneur)

 

บัญญัติสิบประการของบริษัทแห่งอนาคต

                ประการที่  1     ผู้บริหารต้องรู้วิธีบริหารจัดการความรู้ในองค์การของตน

                ประการที่  2    ผู้บริหารที่ดีควรมีความสารถในการตัดสินใจอย่างมีประสิทธิภาพ

                ประการที่  3    การให้ความสำคัญและใส่ใจลูกค้า

                ประการที่  4   ต้องมีการรักษาผู้ที่มีความรู้และความสามารถให้อยู่กับองค์การนานที่สุด

                ประการที่  5   นักจัดการแห่งอนาคตต้องเป็นผู้ประสาน10 ทิศที่ดี

                ประการที่  6   บริษัทแห่งอนาคตต้องมีโครงสร้างเหมือน  ตัวต่อเลโก้

                ประการที่  7   บริษัทต้องมีการปรับเปลี่ยนกลยุทธ์เพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา

                ประการที่  8   ต้องสามารถตัดสินใจได้ด้วยตนเอง  และไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง

                ประการที่  9   ส่งเสริมให้มีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารระหว่างหน่วยงานอย่างโปร่งใสและกว้างขวาง

                ประการที่  10  บริษัทแห่งอนาคตต้องมีผู้นำที่มีความสามารถสร้างการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีและเหมาะสมกับสภาพการณ์และสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในขณะนั้น

 

การบริหารจัดการเพื่อสร้างประสิทธิภาพเชิงการแข่งขันแห่งอนาคต

เพื่อให้องค์การธุรกิจมีความทันสมัยสามารถรองรับและตอบสนองแรงกดดันใหม่ ๆ  ได้คือ

                1.  Satisfactions    หรือ     ความพึงพอใจของลูกค้า   คือ  ปัจจัยหลักที่ธุรกิจต้องยึดถือปฏิบัติ

                2.  Speed    หรือ     ความไว   คือ  ปัจจัยสภาพแวดล้อมใหม่  และประสิทธิอันเกิดจากเทคโนโลยีสมัยใหม่

                3.  Strategy      หรือ     ต้องมีการวางตำแหน่งที่ตั้งทางธุรกิจใหม่  คือ  มีการทบทวนวัตถุประสงค์

                4.  Structure     คือ     การปรับโครางสร้างองค์การให้เป็นแบบแนวราบ

                5.  System    คือ    การจัดระบบงานต่าง ๆ  ที่ใช้ผลิตและให้บริการตอบสนองแก่ลูกค้า

                6.  Staff    คือ   การบริหารให้เกิดความพร้อมในด้านคุณภาพของทรัพยากรมนุษย์

                7.  Skills   คือ  การให้ทักษรและความรู้ใหม่ ๆ  แก่พนักงาน

                8.  Styles   คือ   การพัฒนาตัวของผู้บริหารให้ก้าวหน้าและทันสมัย

                9.  Shared Value   คือ  การมีค่านิยมร่วม  หรือ  การมีวัฒนธรรมในองค์การที่ดี

 

ลักษณะขององค์การที่จะประสบความสำเร็จในยุคแห่งอนาคต

องค์การจะประสบความสำเร็จประกอบด้วยลักษณะสำคัญ  7  ประการ   ได้แก่

                1.  มีความฉับพลันอยู่ตลอดเวลา

                2.  มีการทำงานเป็นทีมของผู้บริหารระดับสูง

                3.  มีบุคคลที่สามารถสร้างสรรค์และสามารถสื่อสารวิสัยทัศน์

                4.  มีการมอบอำนาจให้อย่างกว้างขวาง

                5.  มีการบริหารจัดการโดยมอบหน้าที่ให้  เพื่อผลการปฏิบัติงานในระยะสั้นที่ดี

                6.  ตัดการติดต่อภายในระหว่างกันที่ไม่จำเป็นออก

                7.  มีวัฒนธรรมขององค์การที่สามารถปรับตัวได้

 

ลักษณะขององค์การในอนาคต

                1.  องค์การจะไม่มีโครงสร้างที่เป็นเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างกันมากขึ้น

                2.  จะมีลักษณะเป็นองค์การแบบข้ามชาติ  มีการดำเนินธุรกิจในประเทศต่าง ๆ โดยมีความเป็นจ้าของร่วมกัน

                3.  องค์กรจะมีลักษณะคลุมเครือ  และมีความยืดหยุ่นมากขึ้น

 

รูปแบบขององค์การแห่งอนาคต

                1.  องค์การเสมือนจริง  (Virtual  Organization)  คือ  องค์การที่มีเครือข่ายชั่วคราวกับผู้จัดจำหน่ายวัตถุดิบและลูกค้า ซึ่งมีความสัมพันธ์ระหว่างกันโดยใช้เทคโนโลยี

                2.  สถานที่ทำงานที่เป็นทางเลือก  (Alternative  Workplace  หรือ  AW)   การเปลี่ยนแปลงรูปแบบขององค์การในลักษณะเดิม  เป็นการทำงานในลักษณะที่ให้งานมาหาคนแทนที่จะให้คนไปหางาน

                3.  องค์การแบบ  Cellular  หมายถึง  องค์การที่มีชีวิตและสามารถปรับตัวได้เปรียบเสมือนเซล  เพื่อจะทำหน้าที่ในการดำรงอยู่และสามารถทำหน้าที่ได้ด้วยตนอง  ธุรกิจที่มีลักษณะแบบเซล  ได้แก่  Technical and Computer Graphics of  Sydney, Australia

 

 

นางสาวนภาพร วงค์สถาน เลขที่ 8 กจ.2/1

สรุป บทที่ 9 การบริหารจัดการแห่งอนาคต

ลักษณะของธุรกิจแห่งอนาคต

1.อาณาเขตที่เลือนหาย

2.เกิดพันธมิตรขนาดใหญ่

3.ปราศจากความเป็นมิตรแท้และศัตรูที่ถาวร

4.นักบริหารกับนักลงทุนจะผูกติดกันมากขึ้น

5.ใส่ใจสังคมรวมถึงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

6.โครงสร้างองค์การต้องกลายพันธุ์

7.เกิดจุดยึดเหนี่ยวในลักษณะที่เป็นวัฒนธรรมองค์การ

8.ความพึงพอใจคือจุดหมายที่สำคัญ

นักบริหารยุคใหม่ในอนาคตจะต้องเตรียมตัวให้พร้อมและควรจะเสริมสร้างให้มีในตัวคน ๆ เดียว อย่างน้อย 3 ลักษณะ ดังนี้

1.การเป็นนักบริหาร

2.การเป็นผู้นำ

3.การเป็นนักประกอบการ

บัญญัติสิบประการของบริษัทแห่งอนาคต

1.ผู้บริหารต้องรู้วิธีบริหารจัดการความรู้ในองค์การของตน

2.ความสามารถในการตัดสินใจที่ดี

3.การใส่ใจกับลูกค้าเป็นสำคัญ

4.ต้องพิทักษ์รักษาผู้มีฝีมือไว้กับบริษัทให้นานเท่าที่จะนานได้

5.นักจัดการแห่งอนาคตต้องเป็นผู้ประสานสิบทิศที่ดี

6.บริษัทแห่งอนคตต้องมีโครงสร้างที่เป็นเหมือน ตัวต่อเลโก้

7.ต้องปรับเปลี่ยนกลยุทธ์เพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในโลกปัจจุบันอยู่ตลอดเวลา การสื่อสารระหว่างหน่วยกิจกรรมจึงเป็นเรื่องสำคัญ

8.ต้องมีกติกากลางในการทำงานที่ชัดเจน

9.ส่งเสริมให้มีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารระหว่างหน่วยกิจกรรมอิสระอย่างโปร่งใสและกว้างขวาง

10.ต้องมีผู้นำที่มีความสามารถสร้างการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีที่เหมาะสมกับสภาพการณ์และสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในขณะนั้น

การบริหารจัดการเพื่อสร้างประสิทธิภาพเชิงการแข่งขันแห่งอนาคต

satisfactions = ความพึงพอใจของลูกค้า

speed = ความไว

strategy = การปรับทิศทางใหม่

structure = การปรับโครงสร้างองค์การ

system = การรื้อปรับระบบกระบวนการธุรกิจ

staff = การจัดคนทำงานให้เข้าสภาพงานใหม่

skills = การพัฒนาทักษะใหม่ ๆตลอดเวลา

styles = การเปลี่ยนสไตล์ผู้นำ

shared value = การมีค่านิยมร่วม

ลักษณะขององค์การที่จะประสบความสำเร็จในยุคแห่งอนาคต

1.มีความฉับพลันอยู่ตลอดเวลา

2.มีการทำงานเป็นทีมของผู้บริหารระดับสูง

3.มีบุคคลที่สามารถสร้างสรรค์และสามารถสื่อสารวิสัยทัศน์

4.มีการมอบอำนาจให้อย่างกว้างขวาง

5.มีการบริหารจัดการโดยมอบหน้าที่ให้ เพื่อผลการปฏิบัติงานในระยะสั้นที่ดีเลิศ

6.ตัดการติดต่อภายในระหว่างกันที่ไม่จำเป็นออก

7.มีวัฒนธรรมขององค์การที่สามารถปรับตัวได้

ลักษณะขององค์การในอนาคต

1.องค์การจะไม่มีโครงสร้างที่เป็นเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างกันมากขึ้น

2.จะเป็นลักษณะองค์การแบบข้ามชาติ

3.องค์การจะมีลักษณะคลุมเครือและมีความยืดหยุ่นมากขึ้น

รูปแบบขององค์การแห่งอนาคต

1.องค์การเสมือนจริง หมายถึง องค์การที่มีเครือข่ายชั่วคราว กับผู้จัดจำหน่ายวัตถุดิบและลูกค้า ซึ่งมีความสัมพันธุ์ระหว่างกันโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

2.สถานที่ทำงานเป็นทางเลือก หมายถึง การเปลี่ยนแปลงรูปแบบขององค์การในลักษณะดิม

3.องค์การแบบ cellular หมายถึงองค์การที่มีชีวิตและสามารถปรับตัวได้

น.ส.จริสา วงศ์คำ เลขที่ 3 กจ.2/1

                                     สรุปบทที่ 9

                     เรื่อง ... การบริหารจัดการแห่งอนาคต

1. ลักษณะของธุรกิจแห่งอนาคต  สภาพแวดล้อมของโลกทางธุรกิจแห่งอนาคตจะมีลักษณะแปรเปลี่ยนไปใน 8 ลักษณะ ดังนี้              

    (1)  อาณาเขตที่เลือนหาย คือ ปัจจุบันเทคโนโลยีด้านข่าวสารสารสนเทศได้แพร่กระจายอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง                    

    (2)  เกิดพันธมิตรขนาดใหญ่ ด้วยความเจริญที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วมีผลทำให้ธุรกิจต่างต้องเร่งหันหน้าเข้าจับมือประสานพลังกัน

    (3)  ปราศจากความเป็นมิตรแท้และศัตรูที่ถาวร

    (4)  นักบริหารกับการลงทุนจะผูกติดกันมากขึ้น

    (5)  ใส่ใจกับสังคมรวมถึงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

    (6)  โครงสร้างองค์การต้องกลายพันธุ์

    (7)  เกิดจุดยึดเหนี่ยวในลักษณะที่เป็นวัฒนธรรมองค์การสำหรับทุกฝ่าย

    (8)  ความพึงพอใจคือจุดหมายที่สำคัญ

     สิ่งที่นักบริหารยุคใหม่ในอนาคตจะต้องเตรียมให้พร้อมและควรจะเสริมสร้างให้มีในตัวคนๆเดียวอย่างน้อยๆ ใน 3 ลักษณะ ดังนี้

     (1) การเป็นนักบริหาร (Management)

     (2) การเป็นผู้นำ (Leader)

     (3) การเป็นนักประกอบการ (Enterpreneur)

2. บัญญัติสิบประการของบริษัทแห่งอนาคต

    ประการที่หนึ่ง  ผู้บริหารต้องรู้วิธีบริหารจัดการความรู้ในองค์การของตน เพราะแท้จริงแล้วบริษัท  คือ ผลรวมของสิ่งที่เกิดขึ้นจากความรู้ความสามารถความเข้าใจของผู้คนในบริษัทนั้น  กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ต้องสามารถเปลี่ยนแปลงความรู้ที่เป็นของสมาชิกแต่ละคนให้กลายเป็นฐานความรู้ของบริษัทให้ได้

    ประการที่สอง  คือ  ความสามารถในการตัดสินใจที่ดี

    ประการที่สาม  คือ  การใส่ใจกับลูกค้าเป็นสำคัญ

    ประการที่สี่  คือ  ต้องพิทักษ์รักษาผู้มีฝีมือไว้กับบริษัทให้นานเท่านาน 

    ประการที่ห้า  คือ  นักจัดการแห่งอนาคตต้องเป็นผู้ประสานสิบทิศที่ดี เพราะบริษัทที่จะประสบความสำเร็จในอนาคตเกิดจากการรวมกลุ่มของกิจกรรมต่างๆ มากกว่าเป็นบริษัทที่มีโครงสร้างแบบ Top-Down

   ประการที่หก  คือ   บริษัทแห่งอนาคตต้องมีโครงสร้างที่เป็นเหมือน ตัวต่อเลโก้ มีหน้าที่สำคัญแตกต่างกันและบริษัทในภาพรวมสามารถเรียบเรียงหน้าที่ๆสำคัญเหล่านั้นในรูปแบบต่างๆ

  ประการที่เจ็ด เมื่อผู้บริหารจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนกลยุทธ์เพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในโลกปัจจุบันอยู่ตลอดเวลา

  ประการที่แปด ถ้าจะทำให้หน่วยกิจกรรมอิสระ สามารถตัดสินใจได้ด้วยตนเองและทำงานประสานกันได้โดยไม่มีข้อขัดแย้ง

  ประการที่เก้า เป็นส่วนที่ขยายจากประการที่แปด กล่าวคือ ส่งเสริมการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารระหว่างหน่วยกิจกรรมอิสระอย่างโปร่งใสและกว้างขวาง

  ประการสุดท้าย  บริษัทแห่งอนาคตต้องมีผู้นำที่มีความสามารถสร้างการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีเหมาะสมกับสถานการณ์และสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในขณะนั้น

3. การบริหารจัดการเพื่อสร้างประสิทธิภาพเชิงการแข่งขันแห่งอนาคต

    1)  Satisfactions  ความพึงพอใจของลูกค้า คือ ปัจจัยหลักซึ่งธุรกิจและกิจการอื่นๆ ทั้งหลายต้องเข้าใจและยึดถือเป็นตัวตั้งและเป็นแรงกดดันตนเอง

    2)  Speed  ความไว  คือ ปัจจัยสภาพแวดล้อมใหม่ คือประสิทธิภาพอันเป็น "ความเร็ว" จากเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ ไอที

    3)  Strategy คือ ต้องมีการวางตำแหน่งที่ตั้งทางธุรกิจใหม่

    4)  Structure  คือ การปรับโครงสร้างองค์การให้เป็นแบบแบนราบ

    5)  System  คือ การจัดระบบการทำงานต่างๆ ที่ใช้ผลิตและให้บริการตอบสนองแก่ลูกค้าเสียใหม่

    6)  Staff  คือ การต้องบริหารให้เกิดความพร้อมในด้านคุณภาพของทรัพยากรมนุษย์

    7)  Skills  คือ การต้องให้แน่ใจได้ตลอดเวลาว่าพนักงานได้มีทักษะและความรู้ที่ทันสมัยสามารถปรับตัวตามทัน

    8)  Styles  คือ เกี่ยวข้องกับตัว "ผู้นำบริหาร" ที่จะต้องพัฒนาตนเองให้ก้าวหน้าทันสมัยทันกับการเปลี่ยนแปลง

    9)  shared Value คือ "การมีค่านิยมร่วม" เดียวกัน หรือมีวัฒนธรรมองค์การที่ดี

4.  ลักษณะขององค์การที่ประสบความสำเร็จในยุคแห่งอนาคต

    1)  มีความฉับพลันอยู่ตลอดเวลา (A Persistent Sense of Urgency)

    2)  มีการทำงานเป็นทีมของผู้บริหารระดับสูง (Teamwork)

    3)  มีบุคคลที่สามารถสร้างสรรค์และสามารถสื่อสารวิสัยทัศน์

    4)  มีการมอบอำนาจให้อย่างกว้างขวาง (Broad-based Empowerment)

    5)  มีการบริหารจัดการโดยมอบหน้าที่ให้ เพื่อผลการปฏิบัติงานในระยะสั้นที่ดีเลิศ (Delegated Management for Excellent short-term Performance)

    6)  ตัดการติดต่อภายในระหว่างกันที่ไม่จำเป็นออก (No Unnecessany inter-dependence)

    7)  มีวัฒนธรรมขององค์การที่สามารถปรับตัวได้ (An Adaptive Corporate Culture)

5.  ลักษณะขององค์การในอนาคต มี 3 ลักษณะ ดังต่อไปนี้

    1)  องค์การจะไม่มีโครงสร้างที่เป็นเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างกันมากขึ้น

    2)  จะมีลักษณะเป็นองค์การแบบข้ามชาติ

    3)  องค์การจะมีลักษณะคลุมเครือ

6.  รูปแบบขององค์การแห่งอนาคต   ขอยกตัวอย่างรูปแบบขององค์การในยุคใหม่ ที่คาดว่าจะเป็นที่เอื้ออำนวยต่อการเปลี่ยนแปลงในอนาคตอันใกล้ เช่น

     1)  องค์การเสมือนจริง หมายถึง องค์การที่มีเครือข่ายชั่วคราว กับผู้จัดจำหน่ายวัตถุดิบและลูกค้า

     2)  สถานที่ทำงานที่เป็นทางเลือก หมายถึง การเปลี่ยนแปลงรูปแบบขององค์การในลักษณะเดิม  เป็นการทำงานในลักษณะที่ให้งานมาหาคน แทนที่คนจะเดินทางมาหางาน

     3)  องค์การแบบ Cellular หมายถึง องค์การที่มีชีวิตและสามารถปรับตัวได้เสมือนเซล

 

นางสาวปิยะดา กันทา เลขที่ 12 กจ.2/1

สรุป  บทที่ 9 การบริหารจัดการแห่งอนาคต

1. ลักษณะของธุรกิจแห่งอนาคต

จากผลกระทบของความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีอย่างรวดเร็วส่งผลทำให้เกิดสภาพโลกาภิวัฒน์นั้น ทำให้สภาพแวดล้อมของโลกธุรกิจในอนาคตเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ผู้บริหารยุคใหม่จำเป็นต้องปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวอย่างเข้าใจ ซึ่งภาพของสภาพแวดล้อมของโลกธุรกิจแห่งอนาคตจะมีลักษณะแปรเปลี่ยนไปใน8 ลักษณะ ดังนี้

1. อาณาเขตที่เลือนหาย

2. เกิดพันธมิตรขนาดใหญ่

3. ปราศจากความเป็นมิตรแท้และศัตรูที่ถาวร

4. นักบริหารกับนักลงทุนจะผูกติดกันมากขึ้น

5. ใส่ใจสังคมรวมถึงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

6. โครงสร้างองค์การต้องกลายพันธุ์

7. เกิดจุดยึดเหนี่ยวในลักษณะที่เป็นวัฒนธรรมองค์การสำหรับทุก ๆ ฝ่าย

8. ความพิงพอใจคือจุดหมายที่สำคัญ

สิ่งที่นักบริหารยุคใหม่ในอนาคตจะต้องเตรียมตัวให้พร้อมและควรจะเสริมสร้างให้มีในตัวคน ๆ เดียวอย่างน้อย ๆ ใน 3 ลักษณะดังนี้

1.การเป็นนักบริหาร (Manager) โดยเฉพาะในบทบาทของการเป็นนักจัดการหรือบริหารทรัพยากรต่าง ๆ ในองค์การให้เกิดประสิทธิภาพ

2.การเป็นผู้นำ (Leader) คือต้องเป็นนักบริหารที่มีวิสัยทัศน์ที่ดี มองให้กว้างให้ไกล

3.การเป็นนักประกอบการ (Entrepreneur) คือเป็นคนคิดเร็ว ทำเร็ว โดยไม่ปล่อยให้โอกาสอันดีหลุดลอยไปได้ง่าย ๆ

ดังนั้น จะเห็นได้ว่าเมื่อโลกยุคใหม่ที่ทุกอย่างปรับเลี่ยนไปอย่างรวดเร็วและเต็มไปด้วยการแข่งขันที่รุนแรง นักบริหารยุคใหม่จึงต้องทำการปรับตนเองให้พร้อมในการปฏิบัติงาน

2. บัญญัติสิบประการของบริษัทแห่งอนาคต

ประการที่หนึ่ง     ผู้บริหารต้องรู้วิธีบริหารจัดการความรู้ในองค์การของตน เพราะแท้จริงแล้วบริษัทคือ ผลรวมของสิ่งที่เกิดขึ้นจากความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจของผู้คนในบริษัทนั้นคุณค่าของบริษัทจึงขึ้นอยู่กับความรู้และความคิดใหม่ ๆ ของคนในบริษัท

ประการที่สอง      คือความสามารถในการตัดสินใจที่ดี ซึ่งเป็นคุณสมบัติสำคัญสำหรับนักจัดการที่ดีตั้งแต่เดิมแล้ว

ประการที่สาม      คือการใส่ใจกับลูกค้าเป็นสำคัญ

ประการที่สี่           คือต้องพิทักษ์รักษาผู้มีฝีมือไว้กับบริษัทให้นานเท่าที่จะนานได้ซึ่งเป็นศิลปะที่สำคัญของนักจัดการที่ดีทุกยุคทุกสมัยแต่ที่สำคัญก็คือ บริษัทแห่งอนาคตต้องสามารถแยกแยะได้ว่า ใครเป็นผู้มีฝีมือตัวจริงในบริษัทของตน

ประการที่ห้า         คือนักจัดการแห่งอนาคตต้องเป็นผู้ประสานสิบทิศที่ดี              

ประการที่หก        บริษัทแห่งอนาคตต้องมีโครงสร้างที่เป็นเหมือน ตัวต่อเลโก้  ที่แต่ละกลุ่มภายในบริษัทมีหน้าที่สำคัญแตกต่างกันและบริษัทในภาพรวมสามารถเรียบเรียงหน้าที่ที่สำคัญเหล่านั้นในรูปแบบต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ของบริษัทในขณะนั้น

ประการที่เจ็ด       นักบริหารแห่งอนาคตต้องมีความสามารถในการทำให้เกิดการสื่อสารทั้งในแนวดิ่งและแนวนอนภายในบริษัท

ประการที่แปด      บริษัทต้องมีมาตรฐานการทำงานในแต่ละหน่วยกิจกรรมอิสระและมีมาตรฐานการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างหน่วยกิจกรรมอิสระเหล่านั้นที่ชัดเจน

ประการที่เก้า        ส่งเสริมให้มีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารระหว่างหน่วยกิจกรรมอิสระอย่างโปร่งใสและกว้างขวาง

ประการสุดท้าย    บริษัทแห่งอนาคตต้องมีผู้นำที่มีความสามารถสร้างการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีที่เหมาะสมกับสภาพการณ์และสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในขณะนั้น

3. การบริหารจัดการเพื่อสร้างประสิทธิภาพเชิงการแข่งขันแห่งอนาคต

ต้องมีการวางแผนการบริหารองค์การธุรกิจให้สำเร็จได้ด้วยกรอบการบริหารแบบ 9S’

3.1 Satisfactions หรือ ความพึงพอใจของลูกค้า

3.2 Speed หรือ ความไว

3.3 Strategy คือต้องมีการวางตำแหน่งที่ตั้งทางธุรกิจใหม่

3.4 Structure คือการปรับโครงสร้างองค์การให้เป็นแบบแบนราบ

3.5 System การจัดระบบทำงานต่าง ๆ ใหม่

3.6 Staff   การต้องบริหารให้เกิดความพร้อมในด้านคุณภาพของทรัพยากรมนุษย์

3.7 Skills คือการต้องให้แน่ใจได้ตลอดเวลาว่าพนักงานได้มีทักษะและความรู้ที่ทันสมัยสามารถปรับตัวตามทัน

3.8 Styles คือผู้นำบริหารจะต้องพัฒนาตนเองให้ก้าวหน้าทันสมัยทันกับการเปลี่ยนแปลง

3.9 Shared Value คือ การมีค่านิยมร่วม

4. ลักษณะขององค์การที่จะประสบความสำเร็จในยุคแห่งอนาคต

4.1 มีความฉับพลันอยู่ตลอดเวลา

4.2 มีการทำงานเป็นทีมของผู้บริหารระดับสูง

4.3 มีบุคคลที่มีความสามารถสร้างสรรค์และสามารถสื่อสารวิสัยทัศน์

4.4 มีการมอบอำนาจให้อย่างกว้างขวาง

4.5 มีการบริหารจัดการโดยมอบหน้าที่ให้ เพื่อผลการปฏิบัติงานในระยะสั้นที่ดีเลิศ

4.6 ตัดการติดต่อภายในระหว่างกันที่ไม่จำเป็นออก

4.7 มีวัฒนธรรมขององค์การที่สามารถปรับตัวได้

5.ลักษณะขององค์การในอนาคต

5.1 องค์การจะไม่มีโครงสร้างที่เป็นเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างกันมากขึ้น

5.2 จะมีลักษณะเป็นองค์การแบบข้ามชาติ

5.3 องค์การจะมีลักษณะคลุมเครือ

6. รูปแบบขององค์การแห่งอนาคต

6.1 องค์การเสมือนจริง (Virtual Organization) องค์การที่มีเครือข่ายชั่วคราวกับผู้จัดจำหน่ายวัตถุดิบและลูกค้า

6.2 สถานที่ทำงานที่เป็นทางเลือก (Altemative Workplace) การเปลี่ยนแปลงรูปแบบขององค์การในลักษณะเดิมเป็นการทำงานในลักษณะที่ให้งานมาหาคน

6.3 องค์การแบบ Cellular ซึ่งหมายถึงองค์การที่มีชีวิตและสามารถปรับตัวได้เปรียบเสมือนเซล

ดังนั้น  จะเห็นได้ว่ารูปแบบองค์การธุรกิจในยุคแห่งอนาคต จะปรับเปลี่ยนไปตามกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกในรูปแบบที่จะไม่ยึดติดกับตัวโครงสร้างและความเป็นตัวตนขององค์การมากนัก แต่กลับจะเน้นหนักและมุ่งถึงจิตวิญญาณขององค์การที่เปิดกว้างในการประสานประโยชน์ร่วมกัน เพื่อสร้างศักยภาพเชิงการแข่งขันบนการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมตลอดเวลา

 

 

นางสาวภาวนา สุนันตา เลขที่ 15 กจ.2/1

สรุปบทที่ 9

การบริหารจัดการแห่งอนาคต

การบริหารธุรกิจในสหัสสวรรษใหม่จึงไม่ง่ายเหมือนแต่เดิมอีกต่อไป เพราะจะต้องประสบกับการท้าทายของการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจที่รออยู่ข้างหน้า การแข่งขันกันในระดับโลก คุณภาพของสินค้าและบริการจะตองได้มาตรฐานสากลเป็นที่เชื่อถือได้ การบริหารจัดการยุคใหม่นี้จะเป็นแนวทางการบริหารการขาย การบริหารสินเชื่อ และการบริหารความเสี่ยงควบคู่กันไป กระแสการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจึงเป็นเรื่องที่ผู้บริหารจำเป็นต้องรู้ทิศทางและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของโลก และจะต้องบริหารธุรกิจของตนด้วยความรอบคอบในทุกๆ ด้านด้วยวิสัยทัศน์ที่ทันสมัย พร้อมจะเผชิญกับการปลี่ยนแปลงที่ท้าทายด้วยการปรับกลยุทธ์และวิธีการบริหารธุรกิจให้สอดคล้องกับกระแสการเปลี่ยนแปลงนั้น

ลักษณะของธุรกิจแห่งอนาคต

1.อาณาเขตที่เลือนหาย กล่าวคือ ปัจจุบันด้วยเทคโนโลยีด้านข่าวสารสารสนเทศได้แพร่กระจายอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง

2.เกิดพันธมิตรขนาดใหญ่

3.ปราศจากความเป็นมิตรแท้และศัตรูที่ถาวร ภายใต้ความเปลี่ยนแปลงแบบพลิกโฉมและโอกาสที่เปิดกว้างอย่างไร้พรมแดน

4.นักบริหารกับนักลงจะผูกติดกันมากขึ้น ด้วยนวัตกรรมการเลื่อนไหลของเงินทุนที่จะเข้าไปตอบสนองนักประกอบการ

5.ใส่ใจสังคมรวมถึงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

6.โครงสร้างองค์การต้องกลายพันธุ์ ทั้งนี้เพราะรูปแบบการดำเนินธุรกิจยุคปัจจุบันเปลี่ยนไป

7.เกิดจุดยึดเหนี่ยวในลักษณะที่เป็นวัฒนธรรมองค์การ

8.ความหึงพอใจคือจุดหมายที่สำคัญ

นักบริหารยุคใหม่ในอนาคตจะต้องเตรียมตัวให้พร้อมและควรจะเสริมสร้างให้มีตัวคนๆ เดียวอย่างน้อย ใน 3 ลักษณะนี้

1.การเป็นนักบริหาร

2.การเป็นผู้นำ

3.การเป็นนักประกอบการ

บัญญัติสิบสองประการของบริษัทแห่งอนาคต

ประการที่หนึ่ง ผู้บริหารต้องรู้วิธีบริหารจัดการความรู้ในองค์การของตน เพราะแท้จริงแล้วบริษัท คือ ผลรวมของสิ่งที่เกิดขึ้นจากความรู้ความสามารถความเข้าใจของผู้คนในบริษัท

ประการที่สอง คือ ความสามารถในการตัดสินใจที่ดี ซึ่งเป็นคุณสมบัติสำคัญสำหรับนักจัดการที่ดีตั้งแต่เดิมแล้ว นักจัดการที่ดีไม่ว่าจะยุคใดคือผู้ที่สามารถตัดสินใจได้ดีในสถานการณ์ต่างๆ

ประการที่สาม คือ การใส่ใจกับลูกค้าเป็นสำคัญ ซึ่งเรื่องที่ต้องให้ความสำคัญเป็นพิเศษคือ ต้องพยายามรักษาลูกค้าเดิมเอาไว้และสร้างประโยชน์สูงสุดจากลูกค้ารายเดิมเป็นสำคัญ

ประการที่สี่ คือต้องพิทักษ์รักษาผู้มีฝีมือไว้กับบริษัทให้นานเท่าที่จะนานได้ ซึ่งเป็นศิลปะที่สำคัญของนักจัดการที่ดีในยุคทุกสมัย แต่ที่สำคัญก็คือ บริษัทแห่งอนาคตต้องสามารถแยกแยะได้ว่า ใครเป็นผู้มีฝีมือตัวจริงในบริษัทของตน

ประการที่ห้า คือ นักจัดการแห่งอนาคตต้องเป็นผู้ประสานสิบทิศที่ดี เพราะบริษัทที่จะประสบความสำเร็จในอนาคตเกิดจากการรวมกลุ่มของกิจกรรมต่างๆ มากกว่าเป็นบริษัทที่มีโครงสร้างแบบ Top-Down

ประการที่หก บริษัทแห่งอนาคตต้องมีโครงสร้างที่เป็นเหมือน ตัวต่อเลโก้ ที่แต่ละกลุ่มภายในบริษัทมีหน้าที่สำคัญแตกต่างกันและบริษัทในภาพรวมสามารถเรียบเรียงหน้าที่ที่สำคัญเหล่านั้นในรูปแบบต่างๆ

ประการที่เจ็ด ในเมื่อผู้บริหารจำเป็นต้องปรับเลี่ยนกลยุทธ์เพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในโลกปัจจุบันอยู่ตลอดเวลา

ประการที่แปด ถ้าจะทำให้หน่วยกิจกรรมอิสระ สามารถตัดสินใจได้ด้วยตนเองและทำงานประสานกันได้โดยไม่มีข้อขัดแย้ง ต้องมีมาตรฐานการทำงานในแต่ละหน่วยกิจกรรมอิสระและมีมาตรฐานการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างหน่วยกิจกรรมอิสระเหล่านั้นที่ชัดเจน

ประการที่เก้า เป็นส่วนขยายจากประการที่แล้ว กล่าวคือ ส่งเสริมให้มีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารระหว่างหน่วยกิจกรรมอิสระอย่างโปร่งใสและกว้างขวาง

ประการสุดท้าย บริษัทแห่งอนาคตต้องมีผู้นำที่มีความสามรถสร้างการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีที่เหมาะสมกับสภาพสถานการณ์และสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในขณะนั้น

การบริหารจัดการเพื่อสร้างประสิทธิภาพเชิงการแข่งขันแห่งอนาคต

1.Satisfaction หรือ ความพึงพอใจของลูกค้า

2.Speed หรือ ความไว

3.Strategy คือต้องมีการวางตำแหน่งที่ตั้งทางธุรกิจใหม่

4.Structure คือ การปรับโครงสร้างองค์การให้เป็นแบบแบนราบ

5.System คือ การจัดระบบการทำงานต่างๆ

6.Staff คือ การต้องบริหารให้เกิดความพร้อมในด้าน คุณภาพของทรัพยากรมนุษย์

7.Skills คือ การต้องให้แน่ใจได้ตลอดเวลาว่าพนักงานได้มีทักษะและ ความรู้ที่ ทันสมัยสามารถปรับตัวตามทัน

8.Styles คือ เกี่ยวข้องกับตัว “ผู้บริหาร” โดยมีวิสัยทัศน์ มองเห็นการเปลี่ยนแปลง คือ “นักบริหารทางยุทธ์ศาสตร์”

9.Shared Value คือ “การมีค่านิยมร่วม” เดียวกัน หรือมีวัฒนธรรมองค์การซึ่งทุกฝ่ายมีจุดมุ่งหมายร่วม

ลักษณะขององค์การที่จะประสบความสำเร็จในยุคแห่งอนาคต

1.มีความฉับพลันอยู่ตลอดเวลา

2.มีการทำงานเป็นทีมของผู้บริหารระดับสูง

3.มีบุคคลที่สามรถสร้างสรรค์และสามารถสื่อสารวิสัยทัศน์

4.มีการบริหารจัดการโดยมอบหน้าที่ให้ เพื่อผลการปฏิบัติงานในระยะสั้นที่ดีเลิศ

5.มีการมอบอำนาจให้อย่างกว้างขวาง

6.ตัดการติดต่อภายในระหว่างกันที่ไม่จำเป็นออก

7.มีวัฒนธรรมขององค์การที่สามารถปรับตัวได้

ลักษณะขององค์การในอนาคต

1.องค์การจะไม่มีโครงสร้างที่เป็นเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างกันมากขึ้น

2.จะมีลักษณะเป็นองค์การแบบข้ามชาติ

3.องค์การจะมีลักษณะคลุมเครือ

รูปแบบขององค์การแห่งอนาคต

1.องค์การเสมือนจริง

2.สถานที่ทำงานที่เป็นทางเลือก

3.องค์การแบบ Cellular

นางสาวเสาวนีย์ มีสอน เลขที่ 26 กจ. 2/1

สรุป บทที่ 9

การบริหารจัดการแห่งอนาคต

1.ลักษณะของธุรกิจแห่งอนาคต 8 ลักษณะ ดังนี้

1)อาณาเขตที่เลือนหาย

2)เกิดพันธมิตรขนาดใหญ่

3)ปราศจากความเป็นมิตรแท้และศัตรูที่ถาวร

4)นักบริหารกับนักลงทุนจะผูกติดกันมากขึ้น

5)ใส่ใจสังคมรวมถึงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

6)โครงสร้างองค์การต้องกลายพันธุ์ เพราะรูปแบบการดำเนินธุรกิจ

7)เกิดจุดยึดเหนี่ยวในลักษณะที่เป็นวัฒนธรรมองค์การ

8)ความพึงพอใจ

สิ่งที่นักบริหารยุคใหม่ในอนาคตจะต้องเตรียมตัวให้พร้อมและควรจะเสริมสร้างให้มี ดัง 3 ลักษณะ

ดังนี้ 1) การเป็นนักบริหาร (Manager)

2) การเป็นผู้นำ (Leader)

3) การเป็นนักประกอบการ (Entrepreneur)

2.บัญญัติสิบประการของบริษัทแห่งอนาคต

ประการที่ 1 ผู้บริหารต้องรู้วิธีบริหารจัดการความรู้ในองค์การ

ประการที่ 2 ความสามระในการตัดสินใจที่ดี

ประการที่ 3 การใส่ใจลูกค้า

ประการที่ 4 พิทักษ์รักษาผู้มีฝีมือไว้กับบริษัทให้นานๆ

ประการที่ 5 นักจัดการแห่งอนาคตต้องเป็นผู้ประสานที่ดี

ประการที่ 6 บริษัทแห่งอนาคตต้องมีโครงสร้างที่เป็นเหมือน ตัวต่อเลโก้

ประการที่ 7 ผู้บริหารจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนกลยุทธ์เพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว

ประการที่ 8 สามารถตัดสินใจได้ด้วยตนเองและทำงานประสานกันได้โดยไม่มีข้อขัดแย้ง

ประการที่ 9 ส่งเสริมให้มีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารระหว่างหน่วยกิจกรรมอิสระอย่างโปร่งใสและกว้างขวาง

ประการที่ 10 บริษัทแห่งอนาคตต้องมีผู้นำที่มีความสามรถสร้างการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีที่เหมาะสมกับสภาพการณ์และสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้น

3.การบริหารจัดการเพื่อสร้างประสิทธิภาพเชิงการแข่งขันแห่งอนาคต

โดยมีกรอบการบริหารแบบ 9S ดังนี้

1)Satisfactions หรือ ความพึงพอใจของลูกค้า

2)Speed หรือ ความว่องไว

3)Strategy คือ การวางตำแหน่งที่ตั้งทางธุรกิจใหม่

4)Structure คือ การปรับโครงสร้างองค์การให้เป็นแบบแนวราบ

5)System คือ การจัดระบบการทำงานต่างๆ

6)Staff คือ การต้องบริหารให้เกิดความพร้อมในด้านคุณภาพของทรัพยากรมนุษย์

7)Skill คือ การมีทักษะและความรู้ที่ทันสมัยของพนักงาน

8)Styles คือ ผู้นำต้องพัฒนาตนเองให้ก้าวหน้าทันต่อสมัยทันต่อการเปลี่ยนแปลง

9)Shared Value คือ การมีค่านิยมร่วม

4.ลักษณะขององค์การที่จะประสบความสำเร็จในยุคแห่งอนาคต

มีลักษณะ 7 ประการ

1)มีความฉับพลันอยู่ตลอดเวลา

2)มีการทำงานเป็นทีมของผู้บริหารระดับสูง

3)มีบุคคลที่สามารถสร้างสรรค์และสามารถสื่อสารวิสัยทัศน์

4)มีการมอบอำนาจให้อย่างกว้างขวาง

5)มีการบริหารจัดการโดยมอบหน้าที่ให้ เพื่อผลการปฏิบัติงานในระยะสั้นที่ดีเลิศ

6)ตัดการติดต่อภายในระหว่างกันที่ไม่จำเป็นออก

7)มีวัฒนธรรมขององค์การที่สามารถปรับตัวได้

5.ลักษณะขององค์การในอนาคต มีรูปร่างที่เป็นไปได้ใน 3 ลักษณะ ดังต่อไปนี้

1)องค์การจะไม่มีโครงสร้างที่เป็นเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างกัน

2)เป็นองค์การแบบข้ามชาติ (Multinational Business)

3)องค์การมีลักษณะคลุมเครือ (Ambiguity) และมีความยืดหยุ่น

6.รูปแบบขององค์การแห่งอนาคต เช่น

1)องค์การเสมือนจริง (Virtual Organization)

2)สถานที่ทำงานที่เป็นทางเลือก (Alternative Workplace หรือ AW)

3)องค์การแบบ Cellular

นางสาว ณัฏฐา จันทร์ต้ะ กจ.2/1 เลขที่ 7

สรุปบทที่ 9
การบริหารจัดการแห่งอนาคต

                การบริหารธุรกิจในสหัสวรรษใหม่นี้อิทธิพลของเทคโนโลยีจะเข้ามีบทบาทและมีส่วนสำคัญในชีวิตประจำวันของผู้คนมากิ่งขึ้น การดำเนินธุรกิจและการบริหารกิจการต่างๆ ผู้บริหารจำเป็นต้องรู้ทิศทางและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของโลก และจะต้องบริหารธุรกิจของตนด้วยความรอบคอบในทุกๆ ด้านด้วยวิสัยทัศน์ที่ทันสมัย พร้อมเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงที่ท้าทายด้วยการปรับกลยุทธ์และวิธีการบริหารธุรกิจให้สอดคล้องกับกระแสการเปลี่ยนแปลงนั้น

ลักษณะของธุรกิจแห่งอนาคต
                มีลักษณะแปรเปลี่ยนไปใน8 ลักษณะ ดังนี้
                1.  อาณาเขตที่เลือนหาย
                2.  เกิดพันธมิตรขนาดใหญ่
               
3.  ปราศจากความเป็นมิตรแท้และศัตรูที่ถาวร
               
4.  นักบริหารกับนักลงทุนจะผูกติดกันมากขึ้น
               
5.  ใส่ใจสังคมรวมถึงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
               
6.  โครงสร้างองค์การต้องกลายพันธุ์
               
7.  เกิดจุดยึดเหนี่ยวในลักษณะที่เป็นวัฒนธรรมองค์การ
               
8.  ความพึงพอใจ

บัญญัติ 10 ประการของบริษัทในอนาคต

ประการที่หนึ่ง   ผู้บริหารต้องรู้วิธีบริหารจัดการความรู้ในองค์การของตน
ประการที่สอง   ความสามารถในการตัดสินใจที่ดี ซึ่งเป็นคุณสมบัติสำคัญสำหรับนักจัดการที่ดีประการที่สาม   การใส่ใจกับลูกค้าเป็นสำคัญ ซึ่งเรื่องที่ต้องให้ความสำคัญเป็นพิเศษ
ประการที่สี่       ต้องพิทักษ์รักษาผู้มีฝีมือไว้กับบริษัทให้นานเท่าที่จะนานได้
ประการที่ห้า     นักจัดการแห่งอนาคตต้องเป็นผู้ประสานสิบทิศที่ดี

ประการที่หก    บริษัทแห่งอนาคตต้องมีโครงสร้างที่เป็นเหมือน ตัวต่อเลโก้
ประการที่เจ็ด  
ในเมื่อผู้บริหารจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนกลยุทธ์เพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงที่   เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในโลกปัจจุบันอยู่ตลอดเวลา
ประการที่แปด   ถ้าจะทำให้หน่วยกิจกรรมอิสระ สามารถตัดสินใจได้ด้วยตนเองและทำงานประสานกันได้โดยไม่มีข้อขัดแย้ง
ประการที่เก้า     ส่งเสริมให้มีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารระหว่างหน่วยกิจกรรมอิสระอย่างโปร่งใสและกว้างขวาง
ประการที่สิบ     บริษัทแห่งอนาคตต้องมีผู้นำที่มีความสามารถสร้างการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดี

การบริหารจัดการเพื่อสร้างประสิทธิภาพเชิงการแข่งขันแห่งอนาคต
                ธุรกิจที่มีความสามารถในการปรับตัวและพัฒนาความสามารถในด้านต่างๆ เพื่อเป็นองค์การที่มีศักยภาพ การบริหารองค์การธุรกิจให้สำเร็จได้ด้วยกรอบการบริการแบบ 9S เพื่อให้องคาการธุรกิจมีความทันสมัยสามารถรองรับและตอบสนองแรงกดดันใหม่ ๆ ได้คือ
1.  Satisfactions ความพึงพอใจของลูกค้า
2.  Speed ความไว
3  Strategy  ต้องมีการวางตำแหน่งที่ตั้งทางธุรกิจใหม่
4.  Structure  การปรับโครงสร้างองค์การให้เป็นแบบแบนราบ
5.  System  การจัดระบบการทำงานต่างๆ
6.  Staff  การบริหารให้เกิดความพร้อมในด้านคุณภาพของทรัพยากรมนุษย์
7.  Skills  การต้องให้แน่ใจได้ตลอดเวลาว่าพนักงานได้มีทักษะและความรู้ที่ทันสมัยสามารถปรับตัวได้ทัน
8.  Styles  เกี่ยวข้องกับตัว ผู้บริหาร ที่จะต้องพัฒนาตนเองให้ก้าวหน้าทันสมัยทันกับการเปลี่ยนแปลง
9.  Shared  Value  การมีค่านิยมร่วม 

ลักษณะขององค์การที่จะประสบความสำเร็จในยุคแห่งอนาคต
1.  มีความฉับพลันอยู่ตลอดเวลา
2.  มีการทำงานเป็นทีมของผู้บริหารระดับสูง
3.  มีบุคคลที่สามารถสร้างสรรค์และสามารถสื่อสารวิสัยทัศน์
4.  มีการมอบอำนาจให้อย่างกว้างขวาง
5.  มีการบริหารจัดการโดยมอบหน้าที่ให้ เพื่อผลการปฏิบัติงานในระยะสั้นที่ดีเลิศ
6.  ตัดการติดต่อภายในระหว่างกันที่ไม่จำเป็นออก
7.  มีวัฒนธรรมขององค์การที่สามารถปรับตัวได้

ลักษณะขององค์การในอนาคต
1.  องค์การจะไม่มีโครงสร้างที่เป็นเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างกันมากขึ้น
2.  จะมีลักษณะเป็นองค์การแบบข้ามชาติ
3.  องค์การจะมีลักษณะคลุมเครือ

รูปแบบขององค์การแห่งอนาคต
1.  องค์การเหมือนจริง
2.  สถานที่ทำงานที่เป็นทางเลือก
3.  องค์การแบบ Cellular

 



 

 

 

 

นางสาวปนัดดา ชิญญะรุ่งเรือง กจ. 2/1 เลขที่ 10

สรุป บทที่ 9

การบริหารจัดการแห่งอนาคต

 

ลักษณะของธุรกิจแห่งอนาคต

1.       อาณาเขตที่เลือนหาย

2.       เกิดพันธมิตรขนาดใหญ่

3.       ปราศจากความเป็นมิตรแท้และศัตรูที่ถาวร

4.       นักบริหารกับนักลงทุนจะผูกติดกันมากขึ้น

5.       ใส่ใจสังคมรวมถึงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

6.       โครงสร้างองค์กรต้องกลายพันธุ์

7.       เกิดจุดยึดเหนี่ยวในลักษณะที่เป็นวัฒนธรรมองค์การ

8.       ความพึงพอใจคือจุดหมายที่สำคัญ

 

สิ่งที่นักบริหารยุคใหม่ต้องเตรียมตัวให้พร้อม

-          การเป็นนักบริหาร  โดยเฉพาะบทบาทของการเป็นนักจัดการ

-          การเป็นผู้นำ  ต้องเป็นนักบริหารที่มีวิสัยทัศน์ที่ดี มองให้กว้าง มองให้ไกล

-          การเป็นนักประกอบการ  ต้องเป็นคนที่คิดเร็ว  ทะเร็ว  โดยไม่ปล่อยให้โอกาสอันดีหลุดลอยไปได้ง่าย ๆ

 

บัญญัติ 10 ประการของบริษัทแห่งอนาคต

1.       ผู้บริหารต้องรู้วิธีบริหารจัดการความรู้ในองค์การของตน

2.       ความสามารถในการตัดสินใจที่ดี

3.       การใส่ใจกับลูกค้าเป็นสำคัญ

4.       ต้องพิทักษ์รักษาผู้มีฝีมือไว้กับบริษัทให้ได้นานที่สุด

5.       ต้องเป็นผู้ประสานสิบทิศที่ดี

6.       บริษัทในอนาคตต้องมีโครงสร้างที่เป็นเหมือน  ตัวต่อเลโก้

7.       การติดต่อสื่อสารเป็นเรื่องสำคัญ

8.       สามารถตัดสินใจได้ด้วยตนเองและทำงานประสานกันได้เมื่อมีข้อขัดแย้ง

9.       ส่งเสริมให้มีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารระหว่างกิจกรรมอิสระอย่างโปร่งสันและกว้างขวาง

10.   บริษัทแห่งอนาคตต้องมีผู้นำที่มีความสามารถสร้างการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดี

 

รูปแบบขององค์การแห่งอนาคต

                การเปลี่ยนแปลงองค์การในยุคปัจจุบัน  มักจะอยู่ในรูปแบบการปรับปรุงผลการปฏิบัติงานสิ่งที่สำคัญนอกเหนือจากนั้นคือ  องค์การจะต้องการความกระฉับกระเฉงและคล่องตัวเพื่อที่จะสามารถปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสมกับสังคมยุคใหม่

 

 

                ในโลกของธุรกิจแห่งอนาคต  จะมีสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปในลักษณะต่าง ๆ จึงทำให้สิ่งที่ผู้บริหารองค์การพึงต้องใช้ศาสตร์และศิลปะการบริหารจัดการเพื่อที่จะทำให้องค์การอยู่รอดได้  และสิ่งทีสำคัญในการแข่งขันที่จะทำให้องค์การมีประสิทธิภาพและมีการพัฒนาในด้านต่าง ๆ ในอนาคตได้คือ  ต้องมีการวางแผนในการบริหารงาน  ทั้งนี้ผู้บริหารที่มีวิสัยทัศน์ที่ดีในอนาคตก็ต้องทำความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะขององค์การและรูปแบบขององค์การในอนาคตว่าจะมีลักษณะเปลี่ยนไปเช่นไร  เพื่อที่จะได้เปลี่ยนแปลงแนวทางในการบริหารจัดการให้สอดคล้องกับองค์การที่เปลี่ยนไปตามยุคสมัย  ตามความต้องการและตามสถานการณ์ของการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ

นางสาวพจวรรณ แสนคติ กจ.2/1 เลขที่30

บทที่ 9

การบริหารจัดการแห่งอนาคต

การบริหารธุรกิจในสหัสวรรษใหม่จึงไม่ง่ายเหมือนแต่เดิมอีกต่อไป เพราะจะต้องประสบกับการท้าทายของการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจที่รออยู่ข้างหน้า การแข่งขันกันในระดับโลก คุณภาพของสินค้าและบริการจะต้องได้มาตราฐานสากลเป็นที่เชื่อถือได้ การบริหารจัดการยุคใหม่นี้จะเป็นแนวทางการบริหารการขาย การบริหารสินเชื่อ และการบริหารความเสี่ยงควบคู่กันไป กระแสการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจึงเป็นเรื่องที่ผู้บริหารจำเป็นต้องรู้ทิศทางและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของโลก และจะต้องบริหารธุรกิจของตนด้วยความรอบคอบในทุก ๆ ด้านด้วย

ลักษณะของธุรกิจแห่งอนาคต

1.อาณาเขตที่เลือนหาย

2.เกิดพันธมิตรขนาดใหญ่

3.ปราศจากความเป็นมิตรแท้แลศัตรูที่ถาวร

4.นักบริหารกับนักลงทุนจะผูกติดกันมากขึ้น

5.ใส่ใจสังคมรวมถึงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

6.โครงสร้างองค์การต้องกลายพันธุ์

7.เกิดจุดยืดเหนี่ยวในลักษณะที่เป็นวัฒนธรรมองค์กร

8.ความถึงพอใจคือจุดหมายสำคัญ

จากลักษณะของธุรกิจแห่งอนาคตที่ปรับเปลี่ยนไป จึงเป็นสิ่งที่น่าคิดต่อไปว่า นักบริหารของโลกยุคโลกาภิวัฒน์ควรจะเป็นนักบริหารในรูปแบบใด นักบริหารยุคใหม่ในอนาคตจะต้องเตรียมตัวให้พร้อมและควรจะเสริมสร้างให้มีในตัวคน ๆ เดียว อย่างน้อย ๆ ใน 3 ลักษณะ

1.การเป็นนักบริหาร

2.การเป็นผู้นำ

3.การเป็นนักประกอบการ

การบริหารจัดการเพื่อสร้างประสิทธิภาพเชิงการแข่งขันแห่งอนาคต

เพื่อเป็นองค์การที่มีศักยภาพที่จะใช้เผชิญกับการเปลี่ยนแปลงและการแข่งขันได้เพื่อให้อยู่รอดและเจริญเติบโตได้อย่างยั่งยืนในอนาคต ต้องมีการวางแผนการบริหารองค์การธุรกิจให้สำเร็จได้ด้วยกรอบการบริหารแบบ 9S เพื่อให้องค์การธุรกิจมีควาททันสมัยสามารถรองรับและตอบสนองแรงกดดันใหม่ ๆ ได้คือ

1)Satisfactionsหรือ ความพึงพอใจของลูกค้า

2)Speedหรือ ความว่องไว

3)Strategyหรือ การวางตำแหน่งที่ตั้งทางธุรกิจใหม่

4)Structureหรือ การปรับโครงสร้างองค์การให้เป็นแบบแนวราบ

5)Systemหรือ การจัดระบบการทำงานต่างๆ

6)Staffหรือ การต้องบริหารให้เกิดความพร้อมในด้านคุณภาพของทรัพยากรมนุษย์

7)Skillหรือ การมีทักษะและความรู้ที่ทันสมัยของพนักงาน

8)Stylesหรือ ผู้นำต้องพัฒนาตนเองให้ก้าวหน้าทันต่อสมัยทันต่อการเปลี่ยนแปลง

9)Shared Valueหรือ การมีค่านิยมร่วม

ลักษณะขององค์การที่จะประสบความสำเร็จในยุคแห่งอนาคต

1.มีความฉับพลันอยู่ตลอดเวลา

2.ทีการทำงานเป็นทีมของผู้บริหารระดับสูง

3.มีบุคคลที่สามารถสร้างสรรค์และสามารถสื่อสารวิสัยทัศน์

4.มีการมอบอำนาจให้อย่างกว้างขวาง

5.มีการบริหารจัดการโดยมอบหน้าที่ให้ เพื่อผลการปฏิบัติงานในระยะสั้นที่ดีเลิศ

6.ตัดการติดต่อภายในระหว่างกันที่จำเป็นออก

7.มีวัฒนธรรมของงองค์การที่สามารถปรับตัวได้

นส.อารียา แจ้งสิน กจ 2/1 เลขที่ 27

บทที่  9

การบริหารจัดการแห่งอนาคต

     การบริหารธุรกิจในสหัสวรรษใหม่นี้อิทธิพลของเทคโนโลยีจะเข้ามีบทบาทและมีส่วนสำคัญในชีวิตประจำวันของผู้คนมากิ่งขึ้น การดำเนินธุรกิจและการบริหารกิจการต่างๆ ผู้บริหารจำเป็นต้องรู้ทิศทางและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของโลก และจะต้องบริหารธุรกิจของตนด้วยความรอบคอบในทุกๆ ด้านด้วยวิสัยทัศน์ที่ทันสมัย พร้อมเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงที่ท้าทายด้วยการปรับกลยุทธ์และวิธีการบริหารธุรกิจให้สอดคล้องกับกระแสการเปลี่ยนแปลงนั้น

ลักษณะของธุรกิจแห่งอนาคต 
1. อาณาเขตที่เลือนหาย
2. เกิดพันธมิตรขนาดใหญ่
3. ปราศจากความเป็นมิตรแท้และศัตรูที่ถาวร
4. นักบริหารกับนักลงทุนจะผูกติดกันมากขึ้น
5. ใส่ใจสังคมรวมถึงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
6. โครงสร้างองค์การต้องกลายพันธ์
7. เกิดจุดยึดเหนี่ยวในลักษณะที่เป็นวัฒนธรรมองค์การ
8. ความพึงพอใจคือจุดหมายที่สำคัญ


บัญญัติ  10  ประการของบริษัทแห่งอนาคต
                ประการที่หนึ่ง ผู้บริหารต้องรู้วิธีบริหารจัดการความรู้ในองค์การของตน  เพราะที่แท้จริงแล้วบริษัท   คือ  ผลรวมของสิ่งที่เกิดขึ้นจากความรู้  ความสามารถ  ความเข้าใจของผู้คนบริษัทนั้น  คุณค่าของบริษัทจึงขึ้นอยู่กับความรู้และความคิดใหม่ ๆ ของคนในบริษัท
               ประการที่สอง ผู้บริหารจะต้องมีความสามารถในการตัดสินใจที่ดี  ซึ่งเป็นคุณสมบัติสำคัญสำหรับนักจัดการที่ดีตั้งแต่เดิมแล้ว
                ประการที่สาม   การใส่ใจกับลูกค้าเป็นสำคัญ  ซึ่งเรื่องที่ตั้งให้ความสำคัญเป็นพิเศษ  คือ  ต้องพยายามรักษาลูกค้าเดิมเอาไว้  และสร้างประโยชน์สูงสุดจากลูกค้ารายเดิมเป็นสำคัญ
                ประการที่สี่  ต้องพิทักษ์รักษาผู้มีฝีมือไว้กับบริษัทให้นานเท่าที่จะนานได้
                ประการที่ห้า นักจัดการแห่งอนาคตต้องเป็นผู้ประสานสิทธิที่ดี
                ประการที่หก  บริษัทแห่งอนาคตต้องมีโครงสร้างที่เป็นเสมือนตัวต่อ  เลโก้   ที่แต่ละกลุ่มภายในบริษัทมีหน้าที่แตกต่างกัน  และบริษัทในภาครวมสามารถเรียบเรียงหน้าที่สำคัญเหล่านั้น  ในรูปแบบต่าง ๆ ให้สอดคล้องกันกลยุทธ์ของบริษัทในขณะนั้น
                ประการที่เจ็ด ในเมื่อผู้บริษัทจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนกลยุทธ์เพื่อตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในโลกปัจจุบันอยู่ตลอดเวลา
                ประการที่แปด  ถ้าจะทำให้หน่วยกิจกรรมอิสระ  สามารถตัดสินใจได้ด้วยตนเอง  และทำงานประสานกันโดยไม่มีข้อขัดแย้ง  สิ่งที่สำคัญก็คือ  ต้องที่กติกากลางในการทำงานที่ชัดเจน
                ประการที่เก้า  เป็นส่วนขยายจากข้อที่แล้ว  คือ  ส่งเสริมให้มีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารระหว่างหน่วยกิจกรรมอิสระอย่างโปร่งใสและกว้างขวาง
                ประการที่สิบ  บริษัทแห่งอนาคตต้องมีผู้นำที่มีความสามารถ  สร้างการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีที่เหมาะสมกับสภาพการ  และสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในขณะนั้น


ลักษณะขององค์การที่จะประสบความสำเร็จในยุคแห่งอนาคต
องค์การแห่งอนาคตจำเป็นต้องมีลักษณะสำคัญ  7  ประการ  ดังนี้
1.    มีความฉับพลันอยู่ตลอดเวลา
2.    มีการทำงานเป็นทีมของผู้บริหารระดับสูง
3.    มีบุคคลที่สามารถสร้างสรรค์และสามารถสื่อสารวิสัยทัศน์
4.     มีการมอบอำนาจให้อย่างกว้างขวาง
5.      มีการบริหารจัดการโดยมอบหน้าที่ให้  เพื่อผลการปฏิบัติงานในระยะสั้นที่ดีเลิศ
6.      ตัดการติดต่อภายในระหว่างกันที่ไม่จำเป็นออก
7.      มีวัฒนธรรมขององค์การที่สามารถปรับตัวได้


ลักษณะขององค์การในอนาคต
1.   องค์การจะไม่มีโครงสร้างที่เป็นเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างกันมากขึ้น
2.   จะมีลักษณะเป้ฯองค์การแบบข้ามชาติ
3.   องค์การจะมีลักษณะคลุมเครือและมีความยืดหยุ่นมากขึ้น


รูปแบบขององค์การแห่งอนาคต
1.   องค์การเสมือนจริง
2.   สถานที่ทำงานที่เป็นทางเลือก
3.   องค์การแบบ   Cellular 

 

นางสาวเบญจมาศ เขื่อนแก้ว กจ.2/1 เลขที่ 9

บทที่ 9

การบริหารจัดการแห่งอนาคต

1.               ลักษณะของธุรกิจแห่งอนาคต
- อาณาเขตที่เลือนหาย คือ ปัจจุบันเทคโนโลยีด้านข่าวสารสารสนเทศได้แพร่กระจายอย่างรวดเร็ว
-เกิดพันธมิตรขนาดใหญ่ ด้วยความเจริญที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วมีผลทำให้ธุรกิจต่างต้องเร่งหันหน้าเข้าจับมือประสานพลังกัน
-ปราศจากความเป็นมิตรแท้และศัตรูที่ถาวร ภายใต้สภาพการเปลี่ยนแปลงแบบพลิกโฉมและโอกาสที่เปิดกว้างอย่างไร้พรมแดน ทำให้การแข่งขันระหว่างธุรกิจเป็นไปอย่างรุนแรงมากขึ้น
-นักบริหารกับนักลงทุนจะผูกติดกันมากขึ้น ด้วยนวัตกรรมการเลื่อนไหลของเงินทุนที่จะเข้าไปตอบสนองนักประกอบการ โอกาสขยายตัว จะเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว
-ใส่ใจสังคมรวมถึงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
-โครงสร้างองค์การต้องกลายพันธุ์
-เกิดจุดยึดเหนี่ยวในลักษณะที่เป็นวัฒนธรรมองค์การสำหรับทุก ๆ ฝ่าย จะใช้ยึดถือเป็นแบบในการปฏิบัติงานที่สอดคล้องเป็นเอกภาพและมีคุณค่าในความสำเร็จขององค์การ
-ความพิงพอใจคือจุดหมายที่สำคัญ เน้นปัจจัยที่สำคัญและมีคุณค่า

นักบริหารยุคใหม่ในอนาคตต้องเตรียมตัวให้พร้อมและควรส่งเสริมสร้างให้มีในตัวคน ๆ เดียวอย่างน้อย ๆ 3 ลักษณะ คือ

1.                การเป็นนักบริหาร

2.                การเป็นผู้นำ

3.                การเป็นนักประกอบการ

 

 

2.                บัญญัติสิบประการของบริษัทแห่งอนาคต

ประการที่หนึ่ง  ผู้บริหารต้องรู้วิธีบริหารจัดการความรู้ในองค์การของตน เพราะบริษัทคือผลรวมของสิ่งที่เกิดขึ้นจากความรู้ความสามารถความเข้าใจของผู้คนในบริษัทนั้น

ประการที่สอง  คือ ความสามารถในการตัดสินใจที่ดี นักจัดการที่ดีไม่ว่าจะเป็นยุคใดคือผู้ที่สามารถตัดสินใจได้ดีในสถานการณ์ต่าง ๆ

ประการที่สาม  คือ การใส่ใจกับลูกค้าเป็นสำคัญ ซึ่งเรื่องที่ต้องให้ความสำคัญเป็นพิเศษคือ ต้องพยายามรักษาลูกค้าเดิมเอาไว้และสร้างประโยชน์สูงสุดจากลูกค้ารายเดิมเป็นสำคัญ

ประการที่สี่  คือ ต้องพิทักษ์รักษาผู้มีฝีมือไว้กับบริษัทให้นานเท่าที่จะนานได้ ซึ่งเป็นศิลปะที่สำคัญของนักจัดการที่ดีในทุกยุคทุกสมัย

ประการที่ห้า  คือ นักจัดการแห่งอนาคตต้องเป็นผู้ประสานสิบทิศที่ดี เพราะบริษัทที่จะประสบความสำเร็จในอนาคตเกิดจากการรวมกลุ่มของกิจกรรมต่าง ๆ มากกว่าเป็นบริษัทที่มีโครงสร้างแบบ Top-Down

ประการที่หก  บริษัทแห่งอนาคตต้องมีโครงสร้างที่เป็นเหมือน ตัวต่อเลโก้ ที่แต่ละกลุ่มภายในบริษัทมีหน้าที่สำคัญแตกต่างกันและบริษัทในภาพรวมสามารถเรียบเรียงหน้าที่ที่สำคัญเหล่านั้นในรูปแบบต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ของบริษัทในขณะนั้น

ประการที่เจ็ด  ในเมื่อผู้บริหารจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนกลยุทธ์เพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในโลกปัจจุบันอยู่ตลอดเวลา

ประการที่แปด  ถ้าจะทำให้หน่อยกิจกรรมอิสระ สามารถตัดสินใจได้ด้วยตนเองและทำงานประสานกันได้โดยไม่มีข้อขัดแย้ง

ประการที่เก้า  เป็นส่วนขยายจากประการที่แล้ว กล่าวคือ  ส่งเสริมให้มีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารระหว่างหน่วยกิจกรรมอิสระอย่างโปร่งใสและกว้างขวาง

ประการสุดท้าย  บริษัทแห่งอนาคตต้องมีผู้นำที่มีความสามารถสร้างการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีที่เหมาะสม

3.                การบริหารจัดการเพื่อสร้างประสิทธิภาพเชิงการแข่งขันแห่งอนาคต

ต้องมีการวางแผนการบริหารองค์การธุรกิจให้สำเร็จได้ด้วยกรอบการบริหารแบบ 9S’
1.  Satisfactions หรือ ความพึงพอใจของลูกค้า
2.  Speed หรือ ความไว
3.  Strategy คือต้องมีการวางตำแหน่งที่ตั้งทางธุรกิจใหม่
4.  Structure คือการปรับโครงสร้างองค์การให้เป็นแบบแบนราบ
5.  System การจัดระบบทำงานต่าง ๆ ใหม่
6.  Staff   การต้องบริหารให้เกิดความพร้อมในด้านคุณภาพของทรัพยากรมนุษย์
7.  Skills คือการต้องให้แน่ใจได้ตลอดเวลาว่าพนักงานได้มีทักษะและความรู้ที่ทันสมัยสามารถปรับตัวตามทัน
8.  Styles คือผู้นำบริหารจะต้องพัฒนาตนเองให้ก้าวหน้าทันสมัยทันกับการเปลี่ยนแปลง
9.  Shared Value คือ การมีค่านิยมร่วม

4.                ลักษณะขององค์การที่จะประสบความสำเร็จในยุคแห่งอนาคต

1.มีความฉับพลันอยู่ตลอดเวลา

2.มีการทำงานเป็นทีมของผู้บริหารระดับสูง

3.มีบุคคลที่สามรถสร้างสรรค์และสามารถสื่อสารวิสัยทัศน์

4.มีการบริหารจัดการโดยมอบหน้าที่ให้ เพื่อผลการปฏิบัติงานในระยะสั้นที่ดีเลิศ

5.มีการมอบอำนาจให้อย่างกว้างขวาง

6.ตัดการติดต่อภายในระหว่างกันที่ไม่จำเป็นออก

7.มีวัฒนธรรมขององค์การที่สามารถปรับตัวได้

        5.   ลักษณะขององค์การในอนาคต

1.องค์การจะไม่มีโครงสร้างที่เป็นเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างกันมากขึ้น

2.จะมีลักษณะเป็นองค์การแบบข้ามชาติ

3.องค์การจะมีลักษณะคลุมเครือ

       6.  รูปแบบขององค์การแห่งอนาคต

1.องค์การเสมือนจริง

2.สถานที่ทำงานที่เป็นทางเลือก

3.องค์การแบบ Cellular

นางสาวศศินนท์ พรมวงศ์ ห้อง กจ.2/1 เลขที่ 21

สรุปบทที่ 9

การบริหารจัดการแห่งอนาคต

คุณสมบัติหลัก 5 ประการของผู้นำแห่งอนาคต

1.ต้องคิดถึงภาพรวมโลก (Thinking Globally) – การทำธุรกิจในอดีตต่างจากปัจจุบันและอนาคต ทุกสิ่งในโลกเชื่อมถึงกันหมดจากการพัฒนาการสื่อสาร ถ้าจำกันได้ ภาวะการเงินต้มยำกุ้งในบ้านเราส่งผลกระทบไปทั่วภูมิภาคและทั่วโลกอย่างรวดเร็ว และในอนาคตการเปลี่ยนแปลงของตลาดทั่วโลกจะมีความสำคัญต่อการทำธุรกิจในประเทศ ดังนั้น ผู้นำแห่งอนาคตต้องคิดถึงภาพรวมโลก ต้องศึกษาทำความเข้าใจเศรษฐศาสตร์มหภาค ต้องรู้ทันกฎหมายและการเมืองประเทศอื่นๆด้วย

มีสองปัจจัยที่ผู้นำยุคหน้าต้องคิดถึง คือ การเพิ่มขึ้นของการค้าระหว่างประเทศ และการบูรณาการด้านเทคโนโลยี ตัวอย่างที่เห็นชัดคือ สินค้าสมัยนี้ไม่ได้ผลิตจากประเทศเดียวอีกต่อไป วัตถุดิบและชิ้นส่วนถูกส่งมาจากประเทศต่างๆ เพื่อประกอบเป็นสินค้าชิ้นเดียว แต่ก็ยังคงมีราคาต้นทุนที่ถูกกว่า (จากความได้เปรียบทางการแข่งขัน Competitive Advantage ของแต่ละประเทศนั่นเอง) เพราะฉะนั้นสิ่งเดียวที่ผู้ผลิตต้องเรียนรู้ ก็คือเรื่องการบริหารจัดการการผลิตระดับโลก การบริหารการตลาด และการบริหารทีมขาย

นอกจากนี้ผู้นำแห่งอนาคตยังต้องคิดถึงการบูรณาการการใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ ทั้งภายในสำนักงานไปจนถึงการส่งออก อย่าลืมว่า สินค้าบางอย่างอาจผลิตในประเทศไทยแต่ส่งไปขายต่างประเทศ (เช่น กล้องถ่ายรูป รถยนต์) ทั้งนี้ เพราะเทคโนโลยีนั้นสามารถจะทะลายกำแพงไปสู่การทำธุรกิจระดับโลกได้ ดังนั้น ผู้นำที่ยังคิดแต่จะค้าขายในประเทศเท่านั้น อาจถูกกดดันจากตลาดระดับโลกได้ (เช่น ปัญหาเรื่องการขาดแคลนข้าวของตลาดโลก ส่งผลกระทบต่อชาวนาไทยโดยตรง รวมทั้งรัฐบาลก็ยังถูกกดดันจากตลาดต่างประเทศอีกด้วย ทั้งๆ ที่ไทยก็ผลิตข้าวเท่าเดิม)

2.ต้องเข้าใจความหลายหลายทางวัฒนธรรม (Appreciating Cultural Diversity) – จากการเปิดตลาดเสรี วัตถุดิบมาจากหลายแห่ง ธุรกิจอาจตั้งฐานการผลิตในต่างประเทศ หรือส่งสินค้าไปขายยังตลาดนอกบ้าน ดังนั้น ผู้นำแห่งอนาคตจึงต้องเข้าใจความหลากหลายทางวัฒนธรรมของทีมงานและประเทศที่เข้าไปดำเนินธุรกิจ ต้องเข้าใจทั้งระบบเศรษฐกิจ กฎหมาย สังคม วัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีด้วย และต้องเคารพความแตกต่างด้านนี้ของปัจเจกชน เพราะในมุมมองหนึ่ง คือการเปิดโอกาสทางการค้า

ผู้นำธุรกิจจากอเมริกาหรือยุโรปที่เข้ามาทำธุรกิจในประเทศไทย อาจต้องอ่านหลักพุทธศาสนา เพราะศาสนาคือปัจจัยสำคัญในการกำหนดพฤติกรรมของคน อาจจะต้องศึกษาเรื่องธรรมเนียมการให้ของขวัญ หรือการให้ความสำคัญกับเวลา (ชาวอเมริกาและยุโรปบางชาติจะตรงเวลา และถือว่าเวลาเป็นสิ่งมีค่า แต่ชาวไทยจะไม่ค่อยตรงเวลา ชอบมาสาย และไม่ให้ความสำคัญกับเวลา) ด้วยเหตุนี้ การมีความสามารถที่จะชักจูงใจคนจากหลายเชื้อชาติได้จึงเป็นสิ่งที่สำคัญมาก เพราะวิธีการจูงใจคนในวัฒนธรรมหนึ่งที่ได้ผลดีมาก อาจใช้ไม่ได้เลยกับคนในอีกวัฒนธรรมหนึ่ง หรือการยกย่องชมเชยพนักงานอาจต้องใช้วิธีที่แตกต่างกันไปตามวัฒนธรรมของแต่ละคน ดังนั้น ผู้นำที่มีจุดเด่นข้อนี้จึงเป็นทรัพยากรบุคคลที่มาค่าอย่างยิ่งขององค์กรในอนาคต

3.ต้องสามารถบริหารจัดการเทคโนโลยี (Demonstrating Technology Savvy) – ผู้นำยุคหน้าต้องสามารถบริหารจัดการ เข้าใจบทบาทของเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับองค์กรโดยอาศัยกลยุทธ์เพียง 4 อย่างเท่านั้น คือ

1) ต้องรู้ว่าการใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ อย่างชาญฉลาดนั้น สามารถช่วยองค์กรได้อย่างไรบ้าง

2) ต้องรู้จักคัดเลือก พัฒนา และจูงใจทีมงานที่เก่งเรื่องเทคโนโลยีให้อยู่กับองค์กรไปนานๆ

3) ต้องรู้วิธีการบริหารและการลงทุนในเทคโนโลยีใหม่ๆ

4) ต้องเป็นผู้นำตัวอย่างในแง่การกล้าใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ

ปัจจุบันนี้ หลายองค์กรเชื่อว่าเทคโนโลยีจะเป็นอีกปัจจัยหนึ่งในอนาคตที่สามารถเปลี่ยนวิธีการทำธุรกิจได้ (ตัวอย่างที่เห็นชัดเจนก็เช่น ธุรกิจออนไลน์ต่างๆ - ที่ทำให้ธุรกิจไม่จำเป็นต้องมีหน้าร้านก็ได้ ธุรกิจดาวน์โหลดเพลงหรือการโฆษณาบนโทรศัพท์มือถือ เป็นต้น)

4.ต้องสร้างหุ้นส่วนธุรกิจ (Building Partnerships) – เพื่อให้สามารถแข่งขันกับตลาดโลกได้และได้เปรียบคู่แข่งธุรกิจ ผู้นำแห่งอนาคตต้องทำใจให้ได้ว่าการปรับขนาดองค์กร ผ่าโครงสร้าง ลดจำนวนพนักงาน และจ้างธุรกิจอื่นทำงานที่ตนไม่ถนัด (outsourcing) นั้น ต่อไปจะถือเป็นเรื่องธรรมดามากๆ ผู้นำยุคหน้าต้องรู้จักสร้างหุ้นส่วนธุรกิจยิ่งมากยิ่งดี ในอนาคตคำว่าศัตรูคู่แข่งหรือคู่หู จะไม่ชัดเจนเท่าไหร่นัก ยิ่งในธุรกิจสำคัญๆ เช่น พลังงาน การสื่อสาร และยา องค์กรเดียวกันอาจเป็นทั้งลูกค้า เป็นผู้จัดส่ง เป็นหุ้นส่วน หรือคู่แข่งในเวลาเดียวกันก็ได้ (เพราะองค์กรเดียวอาจทำธุรกิจหลายอย่าง เช่น CP มีหุ้นในบริษัท ทรูคอร์ปปอเรชั่น บริษัท 7-11 ) ดังนั้น ผู้นำยุคหน้าจึงควรสร้างแนวคิดบวก สร้างความสัมพันธ์ระยะยาวและ แบบ “ชนะ-ชนะ” (win-win) กับองค์กรอื่นๆ ไว้จึงน่าจะเหมาะสมกว่า

5. ต้องแบ่งปันประสบการณ์ผู้นำ (Sharing Leadership) – ผู้นำในยุคหน้าไม่ได้เป็นแบบที่อยู่บนจุดยอดสุดของแผนผังโครงสร้างองค์กรที่ยึดติดขยับอะไรไม่ได้อีกต่อไปแล้ว ในอนาคตหุ้นส่วนธุรกิจจะหันมาร่วมมือกันทำงานมากขึ้น พนักงานและทีมงานจะเปลี่ยนแปลงไปในลักษณะที่มีความรู้มากขึ้น (knowledge workers) เพราะเดี๋ยวนี้สามารถหาข้อมูลในเรื่องต่างๆ ได้ทั้งง่ายและเร็ว การบริหารทีมงานที่มีความรู้ความสามารถจะเป็นเรื่องที่ยากขึ้น เพราะคนเก่งเหล่านี้จะอยู่กับองค์กรไม่นาน นอกจากว่าจะมีผู้นำที่เก่งกว่า ท้าทายกว่า และเปิดโอกาสให้มากกว่า ฉะนั้น การที่ผู้นำแห่งอนาคตเข้าใจศิลปะการบริหารทีมงานที่เก่งเลิศ (Talent Management) ให้มีประสิทธิผลสูงสุดต่อตัวผู้นำเอง และองค์กร การแบ่งปันถ่ายทอดความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ความสำเร็จของผู้นำเองต่อทีมงานเก่งๆ เหล่านั้น จะช่วยเพิ่มคุณค่าและมูลค่าให้ผู้นำแห่งอนาคตโดดเด่นกว่าผู้นำอื่นๆ อย่างชัดเจน

น.ส.เปรมกมล คำทราย เลขที่ 29 กจ.2/1

บทที่ 9

การบริหารจัดการแห่งอนาคต

ในสหัสวรรษใหม่นี้อิทธิพลของเทคโนดลยีจะเข้ามามีบทบาทและมีส่วนสำคัญในชีวิตประจำวันของผู้คนมากขึ้น การดำเนินธุรกิจและการบริหารกิจการต่างๆ จะมีการตำเอาเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาใช้กันอย่างกว้างขวาง สามารถเชื่อมโยงและย่อโลกให้สื่อสารถึงกันได้สะดวก เป็นเครื่องมือสำคัญในการดำเนินธุรกิจ ที่สำคัญจะเป็นช่องทางทำให้เกิดธุรกิจใหม่ๆ ดังนั้นการบริหารธุรกิจในสหัสวรรษใหม่จึงไม่ง่าย เพราะจะต้องประสบกับการท้าทายของการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ ธุรกิจจะต้องมีการบริหารธุรกิจของตนด้วยความรอบคอบในทุกๆ ด้านด้วยวิสัยทัศน์ที่ทันสมัย พร้อมจะเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงที่ท้าทายด้วยการปรับกลยุทธ์ และวิธีการบริหารธุรกิจวิธีการบริหารธุรกิจให้สอดคล้องกับกระแสการเปลี่ยนแปลงนั้น

 

ลักษณะของธุรกิจแห่งอนาคต

จากผลกระทบของความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีอย่างรวดเร็วส่งผลทำให้เกิดสภาพโลกาภิวัฒน์นั้น ทำให้สภาพแวดล้อมของโลกธุรกิจในอนาคตเปลี่ยนแปลง ผู้บริหารยุคใหม่จำเป็นต้องปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงอย่างเข้าใจ ซึ่งภาพของสภาพแวดล้อมของโลกธุรกิจแห่งอนาคตจะมีลักษณะแปรเปลี่ยนไปใน8 ลักษณะ ดังนี้

1. อาณาเขตที่เลือนหาย

2. เกิดพันธมิตรขนาดใหญ่

3. ปราศจากความเป็นมิตรแท้และศัตรูที่ถาวร

4. นักบริหารกับนักลงทุนจะผูกติดกันมากขึ้น

5. ใส่ใจสังคมรวมถึงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

6. โครงสร้างองค์การต้องกลายพันธุ์

7. เกิดจุดยึดเหนี่ยวในลักษณะที่เป็นวัฒนธรรมองค์การสำหรับทุก ๆ ฝ่าย

8. ความพิงพอใจคือจุดหมายที่สำคัญ

 

สิ่งที่นักบริหารยุคใหม่ในอนาคตจะต้องเตรียมตัวให้พร้อมและควรจะเสริมสร้างให้มีในตัวคน ๆ เดียวอย่างน้อย ๆ ใน 3 ลักษณะ

1.การเป็นนักบริหาร (Manager)

2.การเป็นผู้นำ (Leader)

3.การเป็นนักประกอบการ (Entrepreneur)

จะเห็นได้ว่าเมื่อโลกยุคใหม่ที่ทุกอย่างปรับเปลี่ยนไป นักบริหารธุรกิจยุคใหม่จะต้องมีการปรับเปลี่ยนตัวเองให้พร้อมเสมอใน 3 บทบาทให้มีฉับไวต่อการเปลี่ยนไปของสถานการณ์

 

บัญญัติสิบประการของบริษัทแห่งอนาคต

หนังสือเล่มหนึ่งชื่อว่า บริษัทแห่งอนาคต (The Company of the Future)” ที่เขียนโดยบรรณาธิการของ The Economist ซึ่งอ้างใน (บวร ปภัสราทร. 2545 : 12 ) ได้กล่าวถึงบัญญัติสิบประการแห่งการอยู่รอดของบริษัทแห่งอนาคตไว้ คือ

                ประการที่  1     ผู้บริหารต้องรู้วิธีบริหารจัดการความรู้ในองค์การของตน

                ประการที่  2    ผู้บริหารที่ดีควรมีความสารถในการตัดสินใจอย่างมีประสิทธิภาพ

                ประการที่  3    การให้ความสำคัญและใส่ใจลูกค้า

                ประการที่  4   ต้องมีการรักษาผู้ที่มีความรู้และความสามารถให้อยู่กับองค์การนานที่สุด

                ประการที่  5   นักจัดการแห่งอนาคตต้องเป็นผู้ประสาน10 ทิศที่ดี

                ประการที่  6   บริษัทแห่งอนาคตต้องมีโครงสร้างเหมือน  ตัวต่อเลโก้

                ประการที่  7   บริษัทต้องมีการปรับเปลี่ยนกลยุทธ์เพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา

                ประการที่  8   ต้องสามารถตัดสินใจได้ด้วยตนเอง  และไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง

                ประการที่  9   ส่งเสริมให้มีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารระหว่างหน่วยงานอย่างโปร่งใสและกว้างขวาง

                ประการที่  10  บริษัทแห่งอนาคตต้องมีผู้นำที่มีความสามารถสร้างการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีและเหมาะสมกับสภาพการณ์และสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในขณะนั้น

 

 การบริหารจัดการเพื่อสร้างประสิทธิภาพเชิงการแข่งขันแห่งอนาคต

                องค์การที่มีศักยภาพ(Comperencies) ที่จะต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงและการแข่งขันได้เพื่อให้อยู่รอดและเจริญเติบโตได้อย่างยั่งยืนในอนาคต จะต้องมีการวางแผนการบริหารองค์การธุรกิจให้สำเร็จได้ด้วยกรอบการบริหารแบบ 9S’ เพื่อให้องค์การธุรกิจมีความทันสมัยสามารถรองรับและตอบสนองแรงกดดันใหม่ ๆ  ได้คือ

                1.  Satisfactions    หรือ     ความพึงพอใจของลูกค้า   คือ  ปัจจัยหลักที่ธุรกิจต้องยึดถือปฏิบัติ

                2.  Speed    หรือ     ความไว   คือ  ปัจจัยสภาพแวดล้อมใหม่  และประสิทธิอันเกิดจากเทคโนโลยีสมัยใหม่

                3.  Strategy      หรือ     ต้องมีการวางตำแหน่งที่ตั้งทางธุรกิจใหม่  คือ  มีการทบทวนวัตถุประสงค์

                4.  Structure     คือ     การปรับโครางสร้างองค์การให้เป็นแบบแนวราบ

                5.  System    คือ    การจัดระบบงานต่าง ๆ  ที่ใช้ผลิตและให้บริการตอบสนองแก่ลูกค้า

                6.  Staff    คือ   การบริหารให้เกิดความพร้อมในด้านคุณภาพของทรัพยากรมนุษย์

                7.  Skills   คือ  การให้ทักษรและความรู้ใหม่ ๆ  แก่พนักงาน

                8.  Styles   คือ   การพัฒนาตัวของผู้บริหารให้ก้าวหน้าและทันสมัย

                9.  Shared Value   คือ  การมีค่านิยมร่วม  หรือ  การมีวัฒนธรรมในองค์การที่ดี

 

ลักษณะขององค์การที่จะประสบความสำเร็จในยุคแห่งอนาคต
         องค์การแห่งอนาคตจำเป็นต้องมีลักษณะสำคัญ  7  ประการ 
                1.    มีความฉับพลันอยู่ตลอดเวลา
                2.    มีการทำงานเป็นทีมของผู้บริหารระดับสูง
                3.    มีบุคคลที่สามารถสร้างสรรค์และสามารถสื่อสารวิสัยทัศน์
                4.     มีการมอบอำนาจให้อย่างกว้างขวาง
                5.     มีการบริหารจัดการโดยมอบหน้าที่ให้  เพื่อผลการปฏิบัติงานในระยะสั้นที่ดีเลิศ
                6.     ตัดการติดต่อภายในระหว่างกันที่ไม่จำเป็นออก
                7.     มีวัฒนธรรมขององค์การที่สามารถปรับตัวได้ 

 

ลักษณะขององค์การในอนาคต
1.   องค์การจะไม่มีโครงสร้างที่เป็นเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างกันมากขึ้น
2.   จะมีลักษณะเป็นองค์การแบบข้ามชาติ
3.   องค์การจะมีลักษณะคลุมเครือ และมีความยืดหยุ่นมากขึ้น

 

 รูปแบบขององค์การแห่งอนาคต

1.  องค์การเสมือนจริง (Virtual Organization) คือองค์การที่มีเครือข่ายชั่วคราว กับผู้จำหน่ายวัตถุดิบและลูกค้าซึ่งมีความสำพันธ์ระหว่างกันโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

2.  สถานที่ทำงานที่เป็นทางเลือก ( Alternative Workplace หรือ AW) คือการเปลี่ยนแปลงรูปแบบขององค์การในลักษณะเดิม เป็นการทำงานในลักษณะให้งานมาหาคนแทนที่จะให้คนไปหางาน

3.  องค์การแบบ Cellular คือองค์การที่มีชีวิตและสามารถปรับตัวได้เปรียบเสมือนเซล ซึ่งเซลต่างๆในสิ่งมีชีวิตจะทำหน้าที่เพื่อการดำรงและสามารถทำหน้าที่ได้ด้วยตนเอง

 

 

นางสาวศิวพร วิลาศ ห้อง กจ.2/1 เลขที่ 24

การบริหารจัดการแห่งอนาคต

การบริหารธุรกิจในสหัสวรรษใหม่นี้อิทธิพลของเทคโนโลยีจะเข้ามีบทบาทและมีส่วนสำคัญในชีวิตประจำวันของผู้คนมากิ่งขึ้น การดำเนินธุรกิจและการบริหารกิจการต่างๆ ผู้บริหารจำเป็นต้องรู้ทิศทางและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของโลก และจะต้องบริหารธุรกิจของตนด้วยความรอบคอบในทุกๆ ด้านด้วยวิสัยทัศน์ที่ทันสมัย พร้อมเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงที่ท้าทายด้วยการปรับกลยุทธ์และวิธีการบริหารธุรกิจให้สอดคล้องกับกระแสการเปลี่ยนแปลงนั้น

ลักษณะของธุรกิจแห่งอนาคต

1. อาณาเขตที่เลือนหาย

2. เกิดพันธมิตรขนาดใหญ่

3. ปราศจากความเป็นมิตรแท้และศัตรูที่ถาวร

4. นักบริหารกับนักลงทุนจะผูกติดกันมากขึ้น

5. ใส่ใจสังคมรวมถึงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

6. โครงสร้างองค์การต้องกลายพันธ์

7. เกิดจุดยึดเหนี่ยวในลักษณะที่เป็นวัฒนธรรมองค์การ

8. ความพึงพอใจคือจุดหมายที่สำคัญ

สิ่งที่นักบริหารยุคใหม่ในอนาคตจะต้องเตรียมตัวให้พร้อมและควรจะเสริมสร้างให้มีในตัวคน ๆ เดียวอย่างน้อย ๆ ใน 3 ลักษณะ

1.การเป็นนักบริหาร (Manager)

2.การเป็นผู้นำ (Leader)

3.การเป็นนักประกอบการ (Entrepreneur)

ณัฏฐ์ฑิกุล สมคำหล้า กจ.2/1 เลขที่ 6

บทที่ 9

การบริหารจัดการแห่งอนาคต

การบริหารธุรกิจในสหัสวรรษใหม่นี้อิทธิพลของเทคโนโลยีจะเข้ามีบทบาทและมีส่วนสำคัญในชีวิตประจำวันของผู้คนมากิ่งขึ้น การดำเนินธุรกิจและการบริหารกิจการต่างๆ ผู้บริหารจำเป็นต้องรู้ทิศทางและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของโลก และจะต้องบริหารธุรกิจของตนด้วยความรอบคอบในทุกๆ ด้านด้วยวิสัยทัศน์ที่ทันสมัย พร้อมเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงที่ท้าทายด้วยการปรับกลยุทธ์และวิธีการบริหารธุรกิจให้สอดคล้องกับกระแสการเปลี่ยนแปลงนั้น

ลักษณะของธุรกิจแห่งอนาคต

1. อาณาเขตที่เลือนหาย

2. เกิดพันธมิตรขนาดใหญ่

3. ปราศจากความเป็นมิตรแท้และศัตรูที่ถาวร

4. นักบริหารกับนักลงทุนจะผูกติดกันมากขึ้น

5. ใส่ใจสังคมรวมถึงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

6. โครงสร้างองค์การต้องกลายพันธ์

7. เกิดจุดยึดเหนี่ยวในลักษณะที่เป็นวัฒนธรรมองค์การ

8. ความพึงพอใจคือจุดหมายที่สำคัญ

บัญญัติ 10 ประการของบริษัทแห่งอนาคต

ประการที่หนึ่ง ผู้บริหารต้องรู้วิธีบริหารจัดการความรู้ในองค์การของตน เพราะที่แท้จริงแล้วบริษัท คือ ผลรวมของสิ่งที่เกิดขึ้นจากความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจของผู้คนบริษัทนั้น คุณค่าของบริษัทจึงขึ้นอยู่กับความรู้และความคิดใหม่ ๆ ของคนในบริษัท

ประการที่สอง ผู้บริหารจะต้องมีความสามารถในการตัดสินใจที่ดี ซึ่งเป็นคุณสมบัติสำคัญสำหรับนักจัดการที่ดีตั้งแต่เดิมแล้ว

ประการที่สาม การใส่ใจกับลูกค้าเป็นสำคัญ ซึ่งเรื่องที่ตั้งให้ความสำคัญเป็นพิเศษ คือ ต้องพยายามรักษาลูกค้าเดิมเอาไว้ และสร้างประโยชน์สูงสุดจากลูกค้ารายเดิมเป็นสำคัญ

ประการที่สี่ ต้องพิทักษ์รักษาผู้มีฝีมือไว้กับบริษัทให้นานเท่าที่จะนานได้

ประการที่ห้า นักจัดการแห่งอนาคตต้องเป็นผู้ประสานสิทธิที่ดี

ประการที่หก บริษัทแห่งอนาคตต้องมีโครงสร้างที่เป็นเสมือนตัวต่อ เลโก้ ที่แต่ละกลุ่มภายในบริษัทมีหน้าที่แตกต่างกัน และบริษัทในภาครวมสามารถเรียบเรียงหน้าที่สำคัญเหล่านั้น ในรูปแบบต่าง ๆ ให้สอดคล้องกันกลยุทธ์ของบริษัทในขณะนั้น

ประการที่เจ็ด ในเมื่อผู้บริษัทจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนกลยุทธ์เพื่อตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในโลกปัจจุบันอยู่ตลอดเวลา

ประการที่แปด ถ้าจะทำให้หน่วยกิจกรรมอิสระ สามารถตัดสินใจได้ด้วยตนเอง และทำงานประสานกันโดยไม่มีข้อขัดแย้ง สิ่งที่สำคัญก็คือ ต้องที่กติกากลางในการทำงานที่ชัดเจน

ประการที่เก้า เป็นส่วนขยายจากข้อที่แล้ว คือ ส่งเสริมให้มีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารระหว่างหน่วยกิจกรรมอิสระอย่างโปร่งใสและกว้างขวาง

ประการที่สิบ บริษัทแห่งอนาคตต้องมีผู้นำที่มีความสามารถ สร้างการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีที่เหมาะสมกับสภาพการ และสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในขณะนั้น

ลักษณะขององค์การที่จะประสบความสำเร็จในยุคแห่งอนาคต

องค์การแห่งอนาคตจำเป็นต้องมีลักษณะสำคัญ 7 ประการ ดังนี้

1. มีความฉับพลันอยู่ตลอดเวลา

2. มีการทำงานเป็นทีมของผู้บริหารระดับสูง

3. มีบุคคลที่สามารถสร้างสรรค์และสามารถสื่อสารวิสัยทัศน์

4. มีการมอบอำนาจให้อย่างกว้างขวาง

5. มีการบริหารจัดการโดยมอบหน้าที่ให้ เพื่อผลการปฏิบัติงานในระยะสั้นที่ดีเลิศ

6. ตัดการติดต่อภายในระหว่างกันที่ไม่จำเป็นออก

7. มีวัฒนธรรมขององค์การที่สามารถปรับตัวได้

ลักษณะขององค์การในอนาคต

1. องค์การจะไม่มีโครงสร้างที่เป็นเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างกันมากขึ้น

2. จะมีลักษณะเป้ฯองค์การแบบข้ามชาติ

3. องค์การจะมีลักษณะคลุมเครือและมีความยืดหยุ่นมากขึ้น

รูปแบบขององค์การแห่งอนาคต

1. องค์การเสมือนจริง

2. สถานที่ทำงานที่เป็นทางเลือก

3. องค์การแบบ Cellular

เรื่อง การบริหารจัดการแห่งอนาคต

ณัฏฐ์ฑิกุล สมคำหล้า กจ.2/1 เลขที่ 6

นางสาวลลิตา คิดอ่าน เลขที่ 17 กจ.2/1

สรุปบทที่ 9

การบริหารจัดการแห่งอนาคต

ลักษณะธุรกิจแห่งอนาคต

1. อาณาเขตที่เลือนหาย

2. เกิดพันธมิตรขนาดใหญ่

3. ปราศจากมิตรแท้และศัตรูที่ถาวร

4. นักบริหารกับนักลงทุนผูกติกันมากขึ้น

5. ใส่ใจและรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

6. โครงสร้างองค์กรต้องกลายพันธ์

7. เกิดจุดยึดเหนี่ยวในลักษณะที่เป็นวัฒนธรรมองค์การ

8. ความพึงพอใจ

ควรจะเสริมสร้างอย่างน้อย 3 อย่าง ดังนี้

1. การเป็นนักบริหาร

2. การเป็นผู้นำ

3. การเป็นนักประกอบการ

บัญญัติ 10 ประการของบริษัทแห่งอนาคต

1. ผู้บริหารต้องรู้วิธีบริหารจัดการความรู้ในองค์การของตน

2. ความสามารถในการตัดสินใจที่ดี

3. การใส่ใจกับลูกค้าเป็นสำคัญ

4. ต้องรักษาพนักงานไว้กับองค์การให้นานที่สุด

5. ต้องเป็นผู้ประสานสิบทิศที่ดี

6. ต้องมีโครงสร้างที่เป็นเหมือนตัวต่อโลโก้

7. ต้องปรับเปลี่ยนกลยุทธ์เพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลง

8. สามารถตัดสินใจด้วยตนเอง

9. ส่งเสริมให้มีการเปิดเผยข้อมูลต่าง ๆ อย่างเปิดเผย

10. สามารถเปลี่ยนแปลงกับสถานการณ์และสิ่งแวดล้อมที่ดี

การบริหารจัดการเพื่อสร้างประสิทธิภาพเชิงการแข่งขันในอนาคต

1. Satisfactions คือ ความพึงพอใจของลูกค้า

2. Speed คือ ความไว

3. Strategy คือ ต้องมีการวางตำแหน่งทางธุรกิจใหม่

4. Structure คือ การปรับโครงสร้างองค์การ

5. System คือ การจัดระบบการทำงานต่าง ๆ

6. Staff คือ การบริหารให้เกิดความพร้อมในด้านคุณภาพทรัพยากรมนุษย์

7. Skills คือ การมีทักษะและความรู้ที่ทันสมัย

8. Styles คือ ผู้บริหารต้องพัฒนาตนเองให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง

9. Shared Value คือ การมีค่านิยมร่วม

ลักษณะขององค์การที่จะประสบความสำเร็จในยุคแห่งอนาคต

1. มีความฉับพลันอยู่ตลอดเวลา

2. มีการทำงานเป็นทีมของผู้บริหารระดับสูง

3. มีบุคคลที่สามารถสร้างสรรค์และสามารถสื่อสารวิสัยทัศน์

4. มีการมอบอำนาจให้อย่างกว้างขวาง

5. มีการบริหารจัดการโดยมอบหน้าที่ให้

6. มีการติดต่อภายในระหว่างกัน

ลักษณะขององค์การอนาคต

1. องค์การจะไม่มีโครงสร้างที่เป็นเรื่องถึงความสัมพันธ์ระหว่างกันมากขึ้น

2. จะมีลักษณะเป็นองค์การแบบข้ามชาติ

3. องค์การจะมีลักษณะคลุมเครือ

รูปแบบขององค์การในอนาคต

1. องค์การเสมือนจริง

2. สถานที่ทำงานที่เป็นทางเลือก

3. องค์การแบบ Cellular

น.ส.รัชดาภรณ์ ตื้อยศ กจ.2/1 เลขที่ 16

สรุปบทที่ 9 เรื่อง การบริหารจัดการแห่งอนาคต

 

                การดำเนินธุรกิจและการบริหารกิจการต่างๆ จะมีการนำเอาเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาใช้กันอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ตซึ่งเป็นระบบสารสนเทศที่มีความรวดเร็ว สามารถเชื่อมโยงและย่อโลกให้สื่อสารถึงกันได้สะดวกเพียงปลายนิ้วสัมผัส (นาโนเทคโนโลยี)และจะเป็นเครื่องมือสำคัญอันทรงพลังในการดำเนินธุรกิจและการค้า

 

ลักษณะของธุรกิจแห่งอนาคร

1. อาณาเขตที่เลือนหาย

2. เกิดพันธมิตรขนาดใหญ่

3. ปราศจากความเป็นมิตรแท้และศัตรูที่ถาวร

4. นักบริหารกับนักลงทุนจะผูกตดกันมากขึ้น

5. ใส่ใจสังคมรวมถึงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

6. โครงสร้างองค์การต้องกลายพันธุ์ ทั้งนี้เพราะรูปแบบการดำเนินธุรกิจยุคปัจจุบันเปลี่ยนไป

7. เกิดจุดยึดเหนี่ยวในลักษณะที่เป็นวัฒนธรรมองค์การ

8. ความพึงพอใจคือจุดหมายที่สำคัญ

 

สิ่งที่นักบริหารยุคใหม่ในอนาคตจะต้องเตรียาตัวให้พร้อมและควรจะเสริมสร้างให้มีในตัวคนๆเดียวอย่างน้อยๆใน 3 ลักษณะ ดังนี้

1. การเป็นนักบริหาร (Manager) โดยเฉพาะในบทบาทของการเป็นนักจัดการหรือบริหารทรัพยากรต่างๆ ในองค์การให้เกิดประสิทธิภาพ

2. การเป็นผู้นำ (Leader) คือ ต้องเป็นนักบริหารที่มีวิสัยทัศน์ที่ดี

3. การเป็นนักประกอบการ (Entrepreneur) คือต้องเป็นคนที่คิดเร็ว ทำเร็ว โดยไม่ปล่อยให้โอกาสอันดีหลุดลอยไปได้ง่ายๆ

 

บัญญัติสิบประการของบริษัทแห่งอนาคต

ประการที่หนึ่ง ผู้บริหารต้องรู้วิธีการบริหารจัดการความรู้ในองค์การของตน

ประการที่สอง คือ ความสามารถในการตัดสินใจที่ดี

ประการที่สาม คือ การใส่ใจกับลูกค้าเป็นสำคัญ

ประการที่สี่ คือ ต้องพิทักษ์รักษาผู้มีฝีมือไว้กับบริษัทให้นานเท่าที่จะนานได้

ประการที่ห้า คือ นักจัดการแห่งอนาคตต้องเป็นผู้ประสานสิบทิศที่ดี

ประการที่หก บริษัทแห่งอนาคตต้องมีโครงสร้างที่เป็นเหมือน ตัวต่อเลโก้

ประการที่เจ็ด ในเมื่อผู้บริหารจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนกลยุทธ์เพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง

ประการที่แปด ต้องมีกติกากลางในการทำงานที่ชัดเจ

ประการที่เก้า ส่งเสริมให้มีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารระหว่างหน่วยกิจกรรมอิสระอย่างโปร่งใส

ประการที่สิบ บริษัทแห่งอนาคตต้องมีผู้นำที่มีความสามารถในการสร้างการเปลี่ยนแปลงในที่ดี

 

การบริหารจัดการเพื่อสร้างประสิทธิภาพเชิงการแข่งขันแห่งอนาคต

1. satisfactions คือ ความพึงพอใจของลูกค้า

2. Speed หรือ ความไว

3. Strategy คือ ต้องมีการวางตำแหน่งที่ตั้งทางธุรกิจใหม่

4. Structure คือการปรับโครงสร้างองค์การให้เป็นแบบแบนราบ

5. System คือ การจัดระบบการทำงานต่างๆ

6. Staff คือ การต้องบริหารให้เกิดความพร้อมในด้านคุณภาพของทรัพยากรมนุษย์

7. Skills คือ การต้องให้แน่ใจได้ตลอดเวลาว่าพนักงานได้มีทักษะและความรู้ที่ทันสมัย

8. Style คือ เกี่ยวข้องกับตัว ผู้นำบริหาร ที่จะต้องพัฒนาตนเองให้ก้าวหน้าทันสมัย

9. Shared Value คือ การมีค่านิยมร่วมเดียวกัน

 

ลักษณะขององค์การที่จะประสบความสำเร็จในยุคอนาคต

1. มีความฉับพลันอยู่ตลอดเวลา

2. มีการทำงานเป็นทีมของผู้บริหารระดับสูง

3. มีบุคคลที่สามารถสร้างสรรค์และสามารถสื่อสารวิสัยทัศน์

4. มีการมอบอำนาจให้อย่างกว้างขวาง

5. มีการบริหารจัดการโดยมอบหน้าที่ให้ เพื่อผลการปฏิบัติในระยะสั้นที่ดีเลิศ

6. ตัดการติดต่อภายในระหว่างกันที่ไม่จำเป็นออก

7. มีวัฒนธรรมขององค์การที่สามารถปรับตัวได้

 

ลักษณะขององค์กรในอนาคต

1. องค์การจะไม่มีโครงสร้างที่เป็นเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างกันมากขึ้น

2. จะมีลักษณะเป็นองค์การแบบข้ามชาติ

3. องค์การจะมีลักษณะคลุมเครือ

 

รูปแบบขององค์การแห่งอนาคต

1. องค์การเสมือนจริง  คือ องค์การที่มีเครือข่ายชั่วคราวกับผู้จัดจำหน่ายวัตถุดิบและลูกค้า

2. สถานที่ทำงานที่เป็นทางเลือก คือ การเปลี่ยนแปลงรูปแบบขององค์การในลักษณะเดิม

3. องค์การแบบ Cellular คือ องค์การที่มีชีวิตและสามารถปรับตัวได้เปรียบเสมือนเซล

 

*****************************************

น.ส.วราภรณ์ แก้วศักดิ์ กจ.2/1 เลขที่ 32

สรุปบทที่ 9 เรื่อง การบริหารจัดการแห่งอนาคต

 

ลักษณะของธุรกิจแห่งอนาคต

1. อาณาเขตที่เลือนหาย

2. เกิดพันธมิตรขนาดใหญ่

3. ปราศจากความเป็นมิตรแท้และศัตรูที่ถาวร

4. นักบริหารกับนักลงทุนจะผูกตดกันมากขึ้น

5. ใส่ใจสังคมรวมถึงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

6. โครงสร้างองค์การต้องกลายพันธุ์ ทั้งนี้เพราะรูปแบบการดำเนินธุรกิจยุคปัจจุบันเปลี่ยนไป

7. เกิดจุดยึดเหนี่ยวในลักษณะที่เป็นวัฒนธรรมองค์การ

8. ความพึงพอใจคือจุดหมายที่สำคัญ

 

บัญญัติสิบประการของบริษัทแห่งอนาคต

ประการที่หนึ่ง ผู้บริหารต้องรู้วิธีการบริหารจัดการความรู้ในองค์การของตน

ประการที่สอง คือ ความสามารถในการตัดสินใจที่ดี

ประการที่สาม คือ การใส่ใจกับลูกค้าเป็นสำคัญ

ประการที่สี่ คือ ต้องพิทักษ์รักษาผู้มีฝีมือไว้กับบริษัทให้นานเท่าที่จะนานได้

ประการที่ห้า คือ นักจัดการแห่งอนาคตต้องเป็นผู้ประสานสิบทิศที่ดี

ประการที่หก บริษัทแห่งอนาคตต้องมีโครงสร้างที่เป็นเหมือน ตัวต่อเลโก้

ประการที่เจ็ด ในเมื่อผู้บริหารจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนกลยุทธ์เพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง

ประการที่แปด ต้องมีกติกากลางในการทำงานที่ชัดเจ

ประการที่เก้า ส่งเสริมให้มีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารระหว่างหน่วยกิจกรรมอิสระอย่างโปร่งใส

ประการที่สิบ บริษัทแห่งอนาคตต้องมีผู้นำที่มีความสามารถในการสร้างการเปลี่ยนแปลงในที่ดี

 

การบริหารจัดการเพื่อสร้างประสิทธิภาพเชิงการแข่งขันแห่งอนาคต

1. satisfactions คือ ความพึงพอใจของลูกค้า

2. Speed หรือ ความไว

3. Strategy คือ ต้องมีการวางตำแหน่งที่ตั้งทางธุรกิจใหม่

4. Structure คือการปรับโครงสร้างองค์การให้เป็นแบบแบนราบ

5. System คือ การจัดระบบการทำงานต่างๆ

6. Staff คือ การต้องบริหารให้เกิดความพร้อมในด้านคุณภาพของทรัพยากรมนุษย์

7. Skills คือ การต้องให้แน่ใจได้ตลอดเวลาว่าพนักงานได้มีทักษะและความรู้ที่ทันสมัย

8. Style คือ เกี่ยวข้องกับตัว ผู้นำบริหาร ที่จะต้องพัฒนาตนเองให้ก้าวหน้าทันสมัย

9. Shared Value คือ การมีค่านิยมร่วมเดียวกัน

 

ลักษณะขององค์การที่จะประสบความสำเร็จในยุคอนาคต

1. มีความฉับพลันอยู่ตลอดเวลา

2. มีการทำงานเป็นทีมของผู้บริหารระดับสูง

3. มีบุคคลที่สามารถสร้างสรรค์และสามารถสื่อสารวิสัยทัศน์

4. มีการมอบอำนาจให้อย่างกว้างขวาง

5. มีการบริหารจัดการโดยมอบหน้าที่ให้ เพื่อผลการปฏิบัติในระยะสั้นที่ดีเลิศ

6. ตัดการติดต่อภายในระหว่างกันที่ไม่จำเป็นออก

7. มีวัฒนธรรมขององค์การที่สามารถปรับตัวได้

 

ลักษณะขององค์กรในอนาคต

1. องค์การจะไม่มีโครงสร้างที่เป็นเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างกันมากขึ้น

2. จะมีลักษณะเป็นองค์การแบบข้ามชาติ

3. องค์การจะมีลักษณะคลุมเครือ

 

รูปแบบขององค์การแห่งอนาคต

1. องค์การเสมือนจริง  คือ องค์การที่มีเครือข่ายชั่วคราวกับผู้จัดจำหน่ายวัตถุดิบและลูกค้า

2. สถานที่ทำงานที่เป็นทางเลือก คือ การเปลี่ยนแปลงรูปแบบขององค์การในลักษณะเดิม

3. องค์การแบบ Cellular คือ องค์การที่มีชีวิตและสามารถปรับตัวได้เปรียบเสมือนเซล

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท