กจ.2 สรุปบทที่ 8 เรื่อง จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ


กจ.2 สรุปบทที่ 8 เรื่อง จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ


ความเห็น (23)

ไม่มีความเห็น


คำตอบ (1)

ladda pinta
เขียนเมื่อ
not yet answered


ความเห็น (23)
นางสาวพรพิมล อินแสง กจ 2 เลขที่ 14

สรุปบทที่ 8

เรื่องจริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

สรุปเนื้อหาของบทที่ 8 เรื่องจริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ ก็ได้มีผู้ให้ความหมายของจริยธรรมต่างๆกันมากมาย แต่จะสรุปได้ดังนี้ จริยธรรมหมายถึงการประมวลกฎเกณฑ์และมาตรฐานความถูกต้องของความประพฤติ และการกระทำของบุคคลแต่ละคน เป็นข้อกำหนดศีลธรรมหรือจริยธรรมที่สมาชิกในกลุ่มวิชาชีพนั้น ๆ จัดทำขึ้น จรรยาบรรณมีหลายแนวทางเช่น

1. Teleology แนวคิดนี้มุ่งพิจารณาถึงความต้องการของประชาชนในสังคมเป็นสำคัญ

2. Deontology เป็นแนวคิดที่มุ่งเน้นสรุปสิ่งที่พึงกระทำจากความสำนึกในความผิดชอบชั่วดีของมนุษย์มากกว่าจะสรุปผลจากที่เกิดขึ้นเมื่อทำไปแล้ว

3. Cultural Relativism เป็นแนวคิดที่พิจารณาข้อสรุปทางจรรยาบรรณของสังคมต่าง ๆ โดยพิจารณาร่วมกับความแตกต่างทางวัฒนธรรม

4. Universalism เป็นแนวคิดที่พิจารณาแนวทางปฏิบัติที่จะถือว่าเป็นการไร้จริยธรรมจากการมองสังคมโดยเสมอภาค

กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรมทีพึงจะกล่าวถึง คือ สถาบันครอบครัว โรงเรียน เพื่อน สื่อสารมวลชน สถาบันทางสังคมและศาสนา ดังนั้นความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจมีเหตุผลอยู่หลายประการคือ เพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขัน การเพิ่มผลผลิต ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย กฎหมายข้อบังคับจากภาครัฐ ธุรกิจที่มีจริยธรรม

จรรยาบรรณถือเป็นการแสดงความรับผิดชอบระดับจริยธรรมซึ่งสูงกว่าระดับกฎหมายจรรยาบรรณจึงแตกต่างจากกฎหมายตรงที่กฎหมายเป็นการร่างขึ้นเพื่อใช้บังคับกับทุกคนในสังคม และหากฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามจะมีบทลงโทษกำกับ แต่จรรยาบรรณเป็นการร่างและใช้ของคนเฉพาะกลุ่มในสาขาวิชาชีพเดียวกัน เพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติของบุคลากรร่วมอาชีพ

ดังนั้นเรื่องของจริยธรรมในการบริหารจัดการจึงมีความสำคัญมากขึ้นและเป็นความจำเป็นที่ผู้มีส่วนได้เสียทุกคนจะต้องตระหนักถึงความสำคัญและจะต้องพัฒนาเรื่องนี้ควบคู่ไปกับการพัฒนาทางด้านธุรกิจด้วย

นางสาวสุพิชญา ต๊ะนันนกลาง กจ.2 เลขที่ 22 (51591251024-2)

สรุปความรู้ที่ได้จากการเรียนบทที่ 8

จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

จริยธรรม ในทางธุรกิจ หมายถึง ความสามารถที่จะสะท้อนถึงค่านิยมในกระบวนการตัดสินใจของธุรกิจ เพื่อกำหนดว่าค่านิยมและการตัดสินใจมีผลกระทบอย่างไรต่อผู้มีส่วนร่วมได้เสียส่วน อานันท์ ปันยารชุน ได้ให้คำจำกัดความว่า จริยธรรมทางธุรกิจ คือ การผสมผสานระหว่างเศรษฐกิจและจริยธรรมเพื่อส่งเสริมนโยบายและการปฏิบัติของภาคธุรกิจในการสร้างความสำเร็จในการประกอบการอย่างมีความรับผิดชอบ มีความยั่งยืนวัดผลในระยะยาวในขณะเดียวกันก็ช่วยสร้างความสมดุลระหว่างผู้มีส่วนได้เสียในกิจการนั้นๆ อันได้แก่ ผู้ลงทุน ลูกจ้าง ลูกค้า ชุมชน ตลอดจนสภาพสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุล

แนวความคิดที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ เช่น

1.Teleology ได้แก่ ความสำคัญของปัจเจกบุคคลซึ่งประเมินค่าความถูกต้องหรือพฤติกรรมที่ยอมรับได้จากผลที่จะก่อให้เกิดกับบุคคลและความสำคัญต่อกลุ่มบุคคล

2.Deontology คำนึงถึงสิทธิส่วนบุคคลและพฤติกรรมการแสดงออกของบุคคล

3.Cultural Relativism วัฒนธรรมสังคมที่มีแนวการปฏิบัติ

4.Universalism เป็นแนวคิดที่พิจารณาแนวทางปฏิบัติที่จะถือว่าเป็นการไร้จริยธรรมจากการมองสังคมโดยเสมอภาค

กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม

1.สถาบันครอบครัว

2.สถาบันการศึกษา

3.กลุ่มเพื่อน

4.สื่อสารมวลชน

5.สถาบันทางสังคมและศาสนา

ความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ

1.เพื่อความสามมารถในการแข่งขัน

2.การเพิ่มผลผลิต

3.รักษาความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย

4.กฎหมาย ข้อบังคับจากภาครัฐ

5.ธุรกิจที่มีจริยธรรม จะสามารถช่วยป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่ชุมชนและสิ่งแวดล้อม

6.ธุรกิจที่มีจริยธรรม ย่อมก่อให้เกิดความสบายใจ ความสุขในการทำงาน และจะช่วยดึงดูดให้คนเข้ามาทำงานกับบริษัท

ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ

1.ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว

2.ธุรกิจมุ่งเน้นจุดมุ่งหมายของกิจการเป็นหลัก

3.การแข่งขันทางธุรกิจที่มุ่งรายได้และกำไรมากเกินไป

4.ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม

วิกฤติทางด้านจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1.กลุ่มบุคคลต่างๆ ในสังคมที่เป็นตัวผลักดันทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลง

2.ความพยายามสร้างความมั่งคั่งทางธุรกิจ

3.โลกาภิวัตน์ที่แพร่กระจายทั้งถูมิภาคแต่ประชากรปรับตัวไม่ทันกับความเปลี่ยนแปลง

4.ค่านิยมของคนเน้นวัตถุมากยิ่งขึ้น

5.ค่านิยมเอเชียที่เน้นการทำงานมากขึ้น

4 E

1.Education การศึกษา

2.Environment สิ่งแวดล้อม

3.Energy Conservation การอนุรักษ์พลังงาน

4.Employee Engagement การส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วมในสังคม

Red Ocen : การทำอะไรก็ได้ที่จะทำให้ชนะคู่ต่อสู้ สู้จนต้องแพ้ทั้ง 2 ฝ่าย

Blue Ocen : ทะเลสีคราม คือไม่แย่งลูกค้า พยายามทำให้สินค้ามีความโดด เด่นแตกต่างจากคู่แข่งโดยใช่เทคโนโลยีที่ทันสมัยเข้ามาช่วยพัฒนาสินค้าให้มีประสิทธิภาพตลอดเวลา

While Ocen : เป็นแนวคิดของธุรกิจที่มุ่งทำ CSR นำธุรกิจที่มีความรับผิดชอบต่อสังคมที่ไม่มีคู่แข่งมากนัก เน้นมีจริยธรรมคุณธรรม

นางสาวนริสรา เพ็ญสิทธิ์ กจ 2 เลขที่ 9

สรุปบทที่ 8 เรื่องจริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

จริยธรรม คือ การประมวลกฎเกณฑ์ ความถูกต้องของความประพฤติและการกระทำของบุคคล

จริยธรรมทางธุรกิจ หมายถึง ความสามารถที่จะสะท้อนถึงค่านิยม ในกระบวนการตัดสินใจของธุรกิจ เพื่อกำหนดว่าค่านิยมและการตัดสินใจมีผลกระทบอย่างไรต่อผู้มีส่วนได้เสีย

อานันท์ ปันยารชุน ได้ให้คำจำกัดความว่า จริยธรรมทางธุรกิจ คือ การผสมผสานระหว่างเศรษฐกิจและจริยธรรม โดยมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมนโยบายและการปฏิบัติของภาคธุรกิจในการสร้างความสำเร็จในการประกอบการอย่างมีความรับผิดชอบ มีความยั่งยืน

แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับจรรยาบรรณมีหลายแนวทาง เช่น

- Teleology แนวคิดนี้มุ่งพิจารณาถึงความต้องการของประชาชนในสังคมเป็นสำคัญ

- Deontology เป็นแนวคิดที่มุ่งเน้นสรุปสิ่งที่พึงกระทำจากความสำนึกในความผิดชอบชั่วดีของมนุษย์

- Cultural Relativism เป็นแนวคิดที่พิจารณาข้อสรุปทางจรรยาบรรณของสังคมต่างๆโดยพิจารณาร่วมกับความแตกต่างทางวัฒนธรรม

- Universalism เป็นแนวคิดที่พิจารณาแนวทางปฏิบัติที่จะถือว่าเป็นการไร้จริยธรรมจากการมองสังคมโดยเสมอภาค

ผู้ทำหน้าที่ในการขัดเกลาทางสังคม

1. ครอบครัว

2. โรงเรียน

3. กลุ่มเพื่อน

4. สื่อมวลชน

5. สถาบันทางสังคมและศาสนา

ความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ

1. เพื่อความสามารถในการแข่งขัน

2. การเพิ่มผลผลิต

3. ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

4. กฎหมาย ข้อบังคับจากภาครัฐ

5. ป้องกันการเกิดอันตรายแก่ชุมชน(ห่วงใยด้านสิ่งแวดล้อม)

6. ช่วยปกป้องผู้ที่ทำงานอยู่ในธุรกิจนั้นๆ

ปัญหาจริยธรรมในการดำเนินธุรกิจ

1.ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว

2. คำนึงถึงจุดมุ่งหมายของธุรกิจเป็นหลัก

3. การแข่งขันทางธุรกิจที่มุ่งรายได้และกำไรมากเกินไป

4. ปัญหาความขัดแย้งทางวัฒนธรรม

วิกฤติจริยธรรมในการดำเนินธุรกิจ

1. โลกาภิวัตน์ที่แพร่กระจายทั่วภูมิภาคแต่ประชากรปรับตัวไม่ทันกับความเปลี่ยนแปลง

2. ความพยายามสร้างความมั่งคั่งทางธุรกิจ

3. กลุ่มบุคคลต่างๆ ในสังคมที่เป็นตัวผลลักดันทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลง

4. เน้นค่านิยมของคน เน้นวัตถุมากขึ้น

5. ค่านิยมเอเชีย ที่เน้นการทำงานมมากขึ้น

แนวทางแก้ไขปัญหาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1. Ethics Committee ตั้งคณะกรรมการจริยธรรม

2. ใช้วิธีการฝึกอบรมทางจริยธรรม

3. การให้รางวัลแก่ผู้ที่ปฏิบัติตามจริยธรรม

4. Good Corporate Governance การจัดการให้มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดีหรือบรรษัทภิบาล

การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม

1. ความรับผิดชอบต่อสุขภาพและสวัสดิภาพของบุคคล

2. ความรับผิดชอบด้านคุณภาพและบริการ

3. ความรับผิดชอบต่อข้อมูลข่าวสาร

4. ความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม

5. ความรับผิดชอบด้านศาสนาและวัฒนธรรม

6. ความรับผิดชอบด้านสิทธิมนุษยชน

หลักการของธุรกิจกับความรับผิดชอบต่อสังคม

1. ธุรกิจจะประสบความสำเร็จอย่างยั่งยืนได้ สังคมจะต้องมั่นคง หากธุรกิจดำเนินการในลักษณะที่ธุรกิจรุ่งเรืองจากการเอาเปรียบสังคม จนสังคมอยู่ไม่ได้ ในที่สุดธุรกิจก็จะอ่อนแอลงหรือล่มสลายไป

2. ธุรกิจกับสังคม จำเป็นต้องอยู่ด้วยกัน

ระดับความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจ

1. Economic responsibility

2. Legal responsibility ตามกฎหมายต้องทำ

3. Ethical responsibility จริยธรรมของธุรกิจโดยที่ในส่วนของจริยธรรมคือตัวของบุคคลของพนักงาน

4. Discretionary responsibility ความรับผิดชอบต่อสังคมโดยที่ตัวขององค์กรหรือผุ้บริหารมีจิตสำนึกอยากทำจริงๆ

5.ระดับความรับผิดชอบต่อสังคมทั้งหมดทั่วโลกทั้งประเทศ

4 E

1. Education – การศึกษา

2. Environment – สิ่งแวดล้อม

3. Energy Conservation – การอนุรักษ์พลังงาน

4. Employee Engagement – การส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วมในสังคม

ตัวอย่างความมีจริยธรรมและจรรยาบรรณของธุรกิจ

- บริดสโตน ร่วมสนับสนุนโดยการศึกษาธรรมชาติและระบบนิเวศเกษตรแห่งแรก จ. ปทุมธานี

--------------------------------------------------------

นางสาวนพมาศ ทิวากรพันธ์ กจ.2 เลขที่8

สรุปบทที่ 8

จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

 

                จริยธรรมทางธุรกิจหมายถึงการผสมผสานระหว่างเศรษฐกิจและจริยธรรม โดยมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการสร้างความสำเร็จในการประกอบการอย่างมีความรับผิดชอบ มีความยั่งยืน มีผลในระยะยาว

                การแข่งขันทางการตลาดที่เกี่ยวกับจริยธรรมทางเศรษฐกิจ การใช้บลูโอเชี่ยนการพยายามทำให้สินค้าแตกต่าง การมีนวัตกรรมใหม่ๆ อยู่เสมอ ทำให้เกิดการพัฒนาสินค้า แต่ถ้าเกิดการแข่งขันจะเป็นแบบเรดโอเชี่ยนอาจทำให้ธุรกิจไม่เจริญก้าวหน้า มีการแข่งขันสูง แต่ในปัจจุบันมีการ CSR มาใช้ การมีความรับผิดชอบต่อสังคม มีคุณธรรม จริยธรรม มีการแข่งขันแต่ยังมีความร่วมมือกันในการรับผิดชอบต่อสังคม เรียกว่าไวท์โอเชี่ยน

                ระดับของจริยธรรม

1.Teleology           ความสำคัญของปัจเจคบุคคลและความสำคัญต่อกลุ่มบุคคล      

2.Deontology       คำนึงถึงสิทธิส่วนบุคคลและพฤติกรรมการแสดงออก

3.Cultural Relativism                          พิจารณาข้อสรุปทางจรรยาบรรณของสังคมต่างๆ

4.Universalism

                กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม

1.ครอบครัว ขัดเกลาเบื้องต้น แบบแผนทางจริยธรรม

2.สถาบันการศึกษา บุคลิกภาพและความเชื่อถือในด้านคุณธรรมและจริยธรรม

3.กลุ่มเพื่อน ความเป็นตัวของตัวเอง การรู้จักเอาตัวรอด การอยู่ร่วมกันในสังคม

4.สื่อสารมวลชน นำคุณธรรมมาสอดแทรก สร้างค่านิยม ความเชื่อ ทัศนคติและการเรียนรู้พฤติกรรมต่างๆ

5.สถาบันทางสังคมและศาสนา มีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิต ปลูกฝังให้คนเป็นคนดี

                ความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ

1.เพื่อความสามารถในการแข่งขัน อยู่ที่การตรงไปตรงมา การต่อรองที่ยุติธรรม ปราศจากการคิดทรยศ ตลอดจนการพิพาทเล็ก ๆน้อย ๆ และจบลงด้วยการฟ้องศาล

2.การเพิ่มผลผลิต

3.ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย

                ปัญหา

1.ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว

2.จุดมุ่งหมายของธุรกิจ(กำไร)

3.แรงกดดันเพื่อให้ได้มาเพื่อกำไร

4.ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม เป็นความแตกต่างในมาตรฐานทางจริยธรรม

                วิกฤติทางด้านจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1.กลุ่มบุคคลผลักดันให้เกิดความเปลี่ยนแปลง

2.พยายามสร้างความมั่งคั่งทางธุรกิจ

3.โลกาภิวัฒน์ที่แพร่กระจาย การปรับตัวการเปลี่ยนแปลง

4.เน้นวัตถุนิยมมากขึ้น

5.ค่านิยมคนเอเชียเน้นทำงาน

                แนวทางการแก้ไขปัญหา

1.ตั้งคณะกรรมการหรือเจ้าหน้าที่ทางจริยธรรม

2.ใช้วิธีฝึกอบรม

3.ให้รางวัลแก่ผู้มีจริยธรรม

4.จัดให้มีบรรษัทภิบาล

                ระดับความรับผิดชอบ

1.Economic responsibility สร้างภาพระยะสั้นทำเพื่อฉวยโอกาส

2.Legal responsibility ตามกฎหมาย ถูกบังคับว่าต้องทำ

3.Ethical responsibility จากตัวบุคคลในธุรกิจนั้นๆ พนักงานเริ่มรับผิดชอบต่อสังคม

4.Discretionary responsibility โดยที่องค์การอยากทำจริงๆ อยากทำโดยมีจิตสำนึก

5.ระดับความรับผิดชอบต่อสังคมทั้งหมด

                4E

1.Education การศึกษา ให้ทุน ให้นักศึกษามาฝึกงาน

2. Environment สิ่งแวดล้อม เช่นการลดโลกร้อน

3. Energy Conservation การอนุรักษ์พลังงาน ประหยัด น้ำ ไฟ

4. Employee Engagement มีส่วนร่วมในสังคม เช่นการให้เงินโบนัสพนักงานนำไปตอบแทนสังคม

 

นางสาวจินตนา เรือนงาม เลขที่ 5 กจ2

สรุปบทที่ 8 เรื่องจริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

     การบริหารจัดการอย่างมีจริยธรรมในปัจจุบันถือเป็นสิ่งสำคัญที่บรร ดากิจการทั้งหลาย ต้องเข้าไปเกี่ยวข้องเรื่องต่าง ๆ ในสังคม ไม่ว่าจะเป็นการเข้าไปมีส่วนร่วมในการกำหนดกฏเกณฑ์หรือวางระบบในการบริหารจัดการแก้ไขปัญหาของสังคม พนักงานและประชาชน ซึ่งถือได้ว่าเป็นความรับผิดชอบในการช่วยทำนุบำรุงในสังคม

จริยธรรมทางธุรกิจ คือ การทำธุรกิจอย่างมีจริยธรรม หมายถึง เป็นผู้ประกอบการไม่ว่าจะเป็นผู้ผลิตจำหน่าย หรือบริการด้วยยจริยวัตรที่ดีงาม มีคุณธรรม ซื่อตรง ยุติธรรม

แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับจรรยยาบรรณทางธุรกิจ

1. Teleology มุ่งถึงความต้องการของประชาชนในสังคมเป็นสำคัญ

2.Deontology มุ่งเน้นสรุปสิ่งที่พึงกระทำจากความสำนึกในความผิดชอบชั่วดีของมนุษย์มากกว่าจะสรุปจากผลที่เกิดขึ้นเมื่อได้ทำไปแล้ว

3.Cultural Relativism พิจารณาข้อสรุปทางจรรยาบรรณของสังคม

4.Universalism พิจารณาแนวทางปฏิบัติที่จะถือเป็นการไร้จริยธรรมจากการมองสังคมโดยเสมอภาค

กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม

ผู้ที่มีบทบาทและมีความสำคัญในกระบวนการเสริมสร้างจริยธรรมที่พึงจะกล่าวคือ

1.สถาบันครอบครัว เป็นหน่วยขัดเกลาที่สำคัญที่สุด

2.สถาบันการศึกษา มีอิทธิพลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพและความเชื่อ

3.กลุ่มเพื่อน มีอิทธิพลต่อเด็กมาก

4.สื่อมวลชน สามารถสร้างค่านิยมความเชื่อ ทัศนคติในการเรียนรูเ

5.สถาบันทางสังคมและครอบครัว มีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิต

ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ

1.ผลประโยชน์และความเห็นแห่ตัว อันเกิดจากความโลภกิเลส ตัณหา

2.จุดมุ่งหมายของธุรกิจกับค่านิยมส่วนบุคคล

3.แรงกดดันซึ่งทำให้ได้มาซึ่งกำไร

4.การขัดแย้งทางวัฒนธรรม อาจเกิดขึ้นได้เมื่อกิจการดำเนินธุรกิจในสังคมที่มีวัฒนธรรมแตกต่างไปจากสังคมของตน

การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม

1. ความรับผิดชอบต่อสุขภาพและสวัสดิการของบุคคล

2.ความรับผิดชอบด้านคุณภาพและบริการ

3.ความรับผิดชอบต่อข้อมูลข่าวสาร และการศึกษา

4.ความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม    5.ความรับผิดชอบด้านศาสนา

6.ความรับผิดชอบด้านสิทธิและมนุษยชน

จรรยาบรรณ

หมาถึง การประมวลความประพฤติปฏิบัติในหมู่คณะหรือกลุ่มประกอบวิชาชีพการงานแต่ละอย่างกำหนดขึ้นเพื่อรักษาและส่งเสริมชื่อเสียงและฐานะของสมาชิก อาจเขียนป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่ก็ได้

จรรยาบรรณถือเป็นการแสดงความรับผิดชอบระดับจริยธรรมซึ่งสูงกว่าระดับกฏหมาย ช่วยส่งเสริมและควบคุมมาตรฐานวิชาชีพนั้น ๆ ให้เหมาะสมและได้รับความเชื่อถือ ทำให้เกิดความภูมิใจในตนเองและวิชาชีพ ก่อให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีงาม ได้รับความไว้วางใจจากสังคม

ความแตกต่างระหว่าง ศีลธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณ

ลักษณะ

ความแตกต่าง

ศีลธรรม

จริยธรรม

จรรยาบรรณ

รากฐานที่มา

ศาสนา

ประเพณีและวัฒนธรรม

กลุ่มวิชาชีพกำหนดขึ้น

การบังคับใช้

ใช้เฉพาะคนในศาสนานั้น

ไม่มีการบังคับใช้  ขึ้นอยู่กับจิตสำนึก

ควบคุมความประพฤติเฉพาะกลุ่มคนในวิชาชีพเดียวกันเท่านั้น

ลักษณะการประพฤติปฏิบัติ

หลักคำสอนทางศาสนา : สอนให้เกรงกลัว และตระหนักถึง บาป บุญ คุณ โทษ

เป็นเรื่องของจิตใจที่ดีงามและความมีจิตสำนึก  แสดงออกมาทางความประพฤติที่ถูกต้อง ไม่ทำร้ายสังคม

เป็นกฎกติกาที่กลุ่มบุคคลในแต่ละวิชาชีพร่วมกันกำหนดขึ้นเพื่อเป็นหลักการและแนวทางให้ยึดถือปฏิบัติ  ใครฝ่าฝืนก็ไม่ถูกลงโทษ

ประโยชน์

ผู้ประพฤติธรรมย่อมเป็นสุข

สังคมสงบสุข   ไม่มีการเบียดเบียน  ประเทศชาติมั่นคง

มีประโยชน์ต่อผู้ประกอบอาชีพทุกวิชาชีพ  ผู้ใช้บริการ สังคม และประเทศชาติโดยรวม

ที่มา : www.nrru.ac.th/.../จริยธรรม/.../1%20ลักษณะทั่วไปของจริยธรรม.doc

จาก หนังสือเทคนิคการจัดการสมัยใหม่  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เขตพื้นที่ภาคพายัพ เชียงใหม่ โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์มานิตย์ มัลลวงค์

น.ส.วจีกานต์ ศรีธิพิงค์ กจ.2 เลขที่ 18

สรุป บทที่ 8 จริยธรรมกับการบริหารธุรกิจ

จริยธรรม หมายถึง ความประพฤติ ความถูกต้อง ความดีงามของคน เป็นมาตรฐานกฎเกณฑ์ที่มีการกำหนดให้คนประพฤติปฏิบัติภายในองค์การ

จริยธรรมทางธุรกิจ คือ การผสมผสานระหว่างเศรษฐกิจและจริยธรรม เพื่อส่งเสริมนโยบายและการปฏิบัติของภาคธุรกิจในการสร้างความสำเร็จในการประกอบกิจการอย่างมีความรับผิดชอบ มีความยั่งยืน มีผลในระยะยาว ในขณะเดียวกันก็ช่วยสร้างสมดุลระหว่างผู้มีส่วนได้เสียในกิจการนั้นๆ อันได้แก่ ผู้ลงทุน ลูกจ้าง ลูกค้า ชุมชน ตลอดจนสภาพแวดล่อมอย่างมีเหตุผล

แนวคิดที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ

1.Teleology แนวคิดนี้มุ่งพิจารณาถึงความต้องการของประชาชนในสังคมเป็นสำคัญ โดยสรุปจากการกระทำหรือพฤติกรรมที่ถูกต้องหรือยอมรับได้

2.Deontology เป็นแนวคิดที่มุ่งเน้นการกระทำของบุคคลที่แต่ละบุคคลแสดงออกมา

3.Cultural Relativism เป็นแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมที่มีแนวการปฏิบัติ โดยยอมรับความแตกต่างทางวัฒนธรรม

4.Universalism เป็นแนวคิดที่พิจารณาแนวทางปฏิบัติที่ถือว่าเป็นการไร้จริยธรรมจากการมองของสังคมโดยเสมอภาค

กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม

ผู้ที่มีบทบาทและมีความสำคัญในกระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม มีดังนี้

1.สถาบันครอบครัว ซึ่งถือเป็นหน่วยสำคัญที่สุด เพราะบุคคลได้รับการอบรมจากครอบครัวตลอดเวลา

2.สถาบันการศึกษา มีอิทธิพลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพ ความเชื่อในด้านคุณธรรมและจริยธรรม

3.กลุ่มเพื่อน มีอิทธิพลต่อเด็กมาก เพราะจะช่วยให้เด็กได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ

4.สื่อสารมวลชน สามารถสร้างค่านิยม ความเชื่อ ทัศนคติ และการเรียนรู้พฤติกรรมต่างๆ

5.สถาบันทางสังคมและศาสนา ทำให้บุคคลมีพฤติกรรม บุคลิกภาพ ที่แตกต่างไปจากที่เคยเรียนรู้

ความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ

1.เพื่อความสมารถในการแข่งขัน ซึ่งถ้าเราไม่มีคุณธรรมจริยธรรมคู่แข่งอาจจะยกมาแข่งขันเราได้

2.การเพิ่มผลผลิต การใช้จริยธรรมในธุรกิจจะช่วยสร้างให้ผลผลิตสูงขึ้น

3.ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย จริยธรรมจะทำให้กิจการมีความเข้มแข็งและส่งผลประโยชน์แก่ผู้มีส่วนได้เสีย

4.กฎหมายข้อบังคับจากภาครัฐ การบริหารจัดการของธุรกิจทีมีจริยธรรมจะช่วยให้รัฐลดวามจำเป็นในการออกกฎระเบียบ ข้อบังคับที่มากเกินความจำเป็น

5.ธุรกิจที่มีจริยธรรม จะสมารถช่วยป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่ชุมชนและสิ่งแวดล้อม

ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ

ปัจจัยหรือสาเหตุที่นำไปสู่ปัญหาทางจริยธรรมในทางธุรกิจ มีประเด็นสำคัญดังต่อไปนี้

1.ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว ก่อให้เกิดปัญหาทางจริยธรรม ซึ่งถือว่าเป็นสิ่งอันตรายต่อสังคม

2.คำนึงถึงจุดมุ่งหมายของธุรกิจเป็นหลัก

3.การแข่งขันทางธุรกิจที่มุ่งรายได้และกำไรมากเกินไป ทำให้มองข้ามในเรื่องของคุณธรรมและจริยธรรม

4.ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม

วิกฤตทางด้านจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

-ค่านิยมของคนเน้นที่วัตถุมากยิ่งขึ้น

-กลุ่มบุคคลต่างๆ ในสังคมเป็นตัวผลักดันทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง

-ความพยายามสร้างความมั่งคั่งทางธุรกิจ

-โลกาภิวัตน์ที่กระจายทั่วภูมิภาค แต่ประชากรปรับตัวไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง

-ค่านิยมเอเชีย เน้นที่การทำงานมากขึ้น

แนวทางการแก้ไขปัญหาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1.ตั้งคณะกรรมการจริยธรรม 2.ใช้วิธีการฝึกอบรมทางจริยธรรม

3.การให้รางวัลแก่ผู้ที่ปฏิบัติตามจริยธรรม 4.จัดการให้มีระบบการกำกับดูแลที่ดี

ธุรกิจกับความรับผิดชอบต่อสังคม เป็นเครื่องมือที่ใช้ควบคุมลัทธิทุนนิยมที่มุ่งกำไรสูงสุด จนหย่อนคุณธรรม เป็นกลไกควบคุมธุรกิจขนาดใหญ่ ให้ประพฤติปฏิบัติตามหลักคุณธรรม ซึ่งธุรกิจจะประสบความสำเร็จอย่างยั่งยืนได้สังคมจะต้องมั่นคง หากธุรกิจที่รุ่งเรืองแล้วเอาเปรียบสังคมจนอยู่ไม่ได้ ในที่สุดธุรกิจก็จะล่มสลายไป ดังนั้นธุรกิจและสังคมจำเป็นต้องอยู่ร่วมกัน

นางสาวอัมพร กันทะวงค์ ปวส. 2 กจ. เลขที่ 28

สรุปบทที่ 8 จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ 
        อานันท์ ปันยารชุน ให้ความหมายของจริยธรรมทางธุรกิจว่า เป็นการผสมผสานระหว่างเศรษฐกิจและจริยธรรมเพื่อส่งเสริมนโยบายการปฏิบัติของภาคธุรกิจในการสร้างความสำเร็จในการประกอบการอย่างมีความรับผิดชอบอย่างยั่งยืน ซึ่งมีผลระยะยาวและช่วยสร้างความสมดุลระหว่างผู้มีส่วนได้เสียในกิจการนั้น ๆ
ระดับของจริยธรรม
        1. Teleology > Egoism > Utilitarianism เป็นเรื่องของจริยธรรมในระดับบุคคล
        2. Deontology เป็นสิทธิส่วนบุคคลและพฤติกรรมการแสดงออกของบุคคล
        3. Cultural Relativism เป็นจรรยาบรรณของสังคมต่าง ๆ โดยพิจารณาร่วมกับความแตกต่างทางวัฒนธรรม
        4. Universalism เป็นแนวคิดที่พิจารณาแนวทางปฏิบัติที่จะถือว่าเป็นการไร้จริยธรรมจากการมองสังคมโดยเสมอภาค
การเสริมสร้างจริยธรรมและผู้ที่มีหน้าที่ขัดเกลาทางสังคม
        1. ครอบครัว ถือเป็นหน่วยขัดเกลาที่สำคัญที่สุด
        2. โรงเรียน เป็นหน่วยขัดเกลาที่เป็นทางการและมีอิทธิพลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพและความเชื่อถือในด้านคุณธรรมและจริยธรรม  
        3. กลุ่มเพื่อน เป็นหน่วยที่มีอิทธิพลต่อเด็กมาก
        4. สื่อมวลชน เป็นหน่วยทีสำคัญในการปลูกฝังวัฒนธรรมใหม่ ๆ
        5. สถาบันทางศาสนาและสังคม เป็นหน่วยที่มีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตและความใกล้ชิดกับชุมชน
ความจำเป็นต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ
        1. เพิ่มความสามารถในการแข่งขัน
        2. เพิ่มผลผลิต
        3. รักษาความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย 
        4. กฎหมายข้อบังคับของรัฐ
        5. ป้องกันการเกิดอันตรายแก่ชุมชน
        6. ช่วยป้องกันผู้ที่ทำงานอยู่ในธุรกิจนั้น ๆ
ปัญหาจริยธรรมในการดำเนินธุรกิจ
        1. ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว
        2. คำนึงถึงจุดมุ่งหมายของธุรกิจเป็นหลัก
        3. การแข่งขันทางธุรกิจที่มุ่งรายได้และกำไรมากเกินไป
        4. ปัญหาความขัดแย้งทางวัฒนธรรม
วิกฤตจริยธรรมในการดำเนินธุรกิจ
        1. กลุ่มบุคคลต่าง ๆ ในสังคมที่เป็นตัวผลักดันทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง 
        2. พยายามสร้างความมั่งคั่งทางธุรกิจ
        3. โลกาภิวัตน์ที่แพร่กระจายทั่วภูมิภาคแก่ประขากร ปรับตัวไม่ทันกับความเปลี่ยนแปลง
        4. ค่านิยมของคนเน้นวัตถุมากขึ้น
        5. ค่านิยมเอเชียที่เน้นการทำงานมากขึ้น
แนวทางแก้ไขปัญหาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ
        1. Ethics Committee ตั้งคณะกรรมการจริยธรรม
        2. การฝึกอบรมทางจริยธรรม
        3. ให้รางวัลแก่องค์กรที่ปฏิบัติตามจริยธรรม.
        4. Good Corporate Governance ให้มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดีหรือบรรษัทบริบาล
        ธุรกิจกับความรับผิดชอบต่อสังคม CSR (Corporate Social Responsibility) หรือ บรรษัทบริบาล เริ่มจากเครื่องมือของทางตะวันตกสำหรับใช้ควบคุม
หลักการของธุรกิจกับความรับผิดชอบต่อสังคม
        1. ธุรกิจจะอยู่ได้จะต้องอยู่ร่วมกันอย่างเกื้อกูล เอื้อประโยชน์ซึ่งกันและกัน ช่วยกันลดจุดอ่อนต่อกัน 
        2. ถ้าสังคมอยู่ไม่ได้ธุรกิจก็จะอยู่ไม่ได้เช่นกัน
ระดับความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์การธุรกิจ
        1. Economic Responsibility ทำเพื่อสร้างภาพ เอาผลประโยชน์
        2. Legal Responsibility ทำตามกฎหมายบังคับ ต้องทำ
        3. Ethical Responsibility จริยธรรมทางธุรกิจที่เกิดจากตัวบุคคล 
        4. Discretionary Responsibility ความรับผิดชอบโดยที่องค์กรหรือผู้บริหารอยากทำจริง ๆ
        5. ระดับความรับผิดชอบต่อสังคมทั้งหมด
4 E ความรับผิดชอบต่อสังคมด้านต่าง ๆ
        1. Education การศึกษา การให้ทุน การฝึกงาน
        2. Environment  สิ่งแวดล้อม
        3. Energy Conservation  การอนุรักษ์พลังงาน
        4. Employee Engagement  การส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วมในสังคม

นางสาวอนุสรา คำปา เลขที่ 24 ห้อง กจ.2

บทที่8

จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

ความหมายและลักษณะของจริยธรรม

จรรยาบรรณทางการบริการ หมายถึง มาตรฐานการปฏิบัติต่างๆซึ่งเป็นที่ยอมรับและยึดมั่นกันอยู่ในวงการธุรกิจอุตสาหกรรม จึงนับว่ามีผลกระทบโดยตรงต่อการแสดงออกหรือการปฏิบัติทางการบริหารได้เสมอ

จรรยาบรรณ หมายถึง หลักความประพฤติ ส่วนจริยธรรม หมายถึง ธรรมของการปฏิบัติ จึงเป็นข้อกำหนดทางศีลธรรมหรือจริยธรรมที่สมาชิกในกลุ่มวิชาชีพนั้นๆจัดทำขึ้น

แนวคิดที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ

1.Teleology แนวคิดนี้มุ่งพิจารณาถึงความต้องการของประชาชนในสังคมเป็นสำคัญโดยสรุปว่าการกระทำหรือพฤติกรรมที่ถูกต้องหรือยอมรับได้

2.Deontology เป็นแนวคิดที่มุ่งเน้นสรุปสิ่งที่พึงกระทำจากความสำนึกในความผิดชอบชั่วดีของมนุษย์มากกว่าจะสรุปจากผลที่เกิดขึ้นเมื่อได้ทำไปแล้ว

3.Cultural Relativism เป็นแนวคิดที่พิจารณาข้อสรุปทางจรรยาบรรณของสังคมต่างๆโดยพิจารณาร่วมกับความแตกต่างทางวัฒนธรรมที่แตกต่างกันได้เนื่องจากทัศนคติของคนที่มาจากวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน

4.Universalism เป็นแนวคิดที่พิจารณาแนวทางปฏิบัติที่จะถือว่าเป็นการไร้จริยธรรมจากการมองสังคมโดยเสมอภาค การให้สินบนและการทุจริตของผู้มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวข้องปัจจัยนี้เกิดขึ้นทั่วโลกแล้วทั้งในประเทศที่พัฒนาแล้วและกำลังพัฒนา

กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม

1.สถาบันครอบครัว เป็นหน่วยที่ขัดเกลาที่สำคัญที่สุด การอบรมในวัยเด็กมีความสำคัญมากมีผลต่อการสร้างบุคลิกภาพ อารมณ์ ฯลฯ

2.สถาบันการศึกษา มีอิทธิพลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพและความเชื่อถือในด้านคุณธรรมและจริยธรรม

3.กลุ่มเพื่อน มีอิทธิพลต่อเด็กมากช่วยให้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ เช่น ความเป็นตัวของตัวเอง

4.สื่อสารมวลชน ได้แก่ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ เป็นต้น

5.สถาบันทางสังคมและทางศาสนา การเรียนรู้บรรทัดฐานใหม่ของคนในสังคม

ความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ

1.เพื่อความสามารถในการแข่งขัน จะอยู่ที่การตรงไปตรงมาและการต่อรองที่ยุติธรรม

2.การเพิ่มผลผลิต

3.ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย

4.กฎหมายและข้อบังคับจากภาครัฐ จริยธรรมจะช่วยลดความจำเป็นของภาครัฐในการออกกฎหมาย

5.ธุรกิจที่มีจริยธรรม จะสามารถช่วยป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่ชุมชนและสิ่งแวดล้อม

6.ธุรกิจที่มีจริยธรรม ย่อมก่อให้เกิดความสบายใจ ความสุขในการทำงาน

ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ

1.ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว

2.จุดมุ่งหมายของธุรกิจกับค่านิยมส่วนบุคคล

3.แรงกดดันเพื่อให้ได้มาซึ่งผลกำไร

4.ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม

วิกฤตจริยธรรมในการดำเนินธุรกิจ

1.กลุ่มบุคคลต่างๆในสังคมที่เป็นตัวผลักดันทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลง

2.ความพยายามสร้างความมั่นคงทางธุรกิจ

3.ค่านิยมของคนเน้นวัตถุมากขึ้น

4.โลกาภิวัฒน์ที่แพร่หลายประชาชนปรับตัวไม่ทัน

แนวทางการแก้ไขปัญหาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1.ตั้งคณะกรรมการจริยธรรมหรือเจ้าหน้าที่ทางจริยธรรม

2.ใช้วิธีการฝึกอบรมทางจริยธรรม

3.การให้รางวัลแก่ผู้ที่ปฏิบัติตามจริยธรรม

4.การจัดให้มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดีหรือบรรษัทภิบาล

การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม

1.ความรับผิดชอบต่อสุขภาพและสวัสดิภาพของบุคคล ไม่จำหน่ายสินค้าหรือบริการที่เป็นอันตราย

2.ความรับผิดชอบด้านคุณภาพและบริการ การจำหน่ายสินค้าที่มีคุณภาพ มาตรฐาน

3.ความรับผิดชอบต่อข้อมูลข่าวสารและการศึกษา ให้ความรู้เรื่องการใช้สินค้าแก่ผู้บริโภคอย่างถูกต้อง

4.ความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม คำนึงผลกระทบของการดำเนินกิจการต่อสิ่งแวดล้อมซึ่งปรับปรุงแก้ไขเมื่อเกิดความผิดพลาดได้อย่างทันท่วงที

5.ความรับผิดชอบด้านศาสนาและวัฒนธรรม ผลิตสินค้าและบริการโดยคำนึงถึงวัฒนธรรม ค่านิยม

6.ความรับผิดชอบด้านสิทธิมนุษยชน การคำนึงถึงสิทธิมนุษยชนของกลุ่มต่างๆ เช่น เด็ก สตรี คนพิการ

แนวปฏิบัติในการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม

1.เคารพกฎหมาย

2.พูดแต่ความจริง ไม่มีเจตนาบิดเบือน หลอกลวง

3.ทำในสิ่งที่ถูกต้องเท่านั้น “จงปฏิบัติต่อผู้อื่นให้เหมือนกับท่านปฏิบัติต่อตัวเอง”

4.เคารพผู้อื่น แสดงความเคารพต่อการกระทำความคิดและความเห็นของผู้อื่นทั้งต่อหน้าและลับหลัง

5.ไม่ทำร้ายหรือทำให้ผู้อื่นได้รับอันตราย

6.สร้างการมีส่วนร่วม เปิดโอกาสให้ผู้อื่นได้มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและความต้องการ

4 E

1. Education การศึกษา เช่นการให้ทุนต่างๆ

2. Environment สิ่งแวดล้อม เช่น การช่วยลดโลกร้อน

3. Energy Conservation อนุรักษ์พลังงาน

4. Employee Engagement การส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วมในสังคม

น.ส.ปรียาภรณ์ ปวงขัน เลขที่13 กจ.2

สรุปเนื้อหาบทที่ 8

เรื่องจริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

ท่านอานันท์ ปันยารชุนได้ให้คำจำกัดความว่า จริยธรรมทางธุรกิจ คือการผสมผสานระหว่างเศรษฐกิจและจริยธรรมโดยมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมนโยบายและการปฏิบัติของภาคธุรกิจในการสร้างความสำเร็จในการประกอบการอย่างมีความรับผิดชอบและมีความยั่งยืน

แนวคิดเกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ

แนวความคิดที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ

1.Teleology ได้แก่ ความสำคัญของปัจเจกบุคคลและความสำคัญต่อกลุ่มบุคคล

2.Deontology เป็นแนวคิดที่คำนึงถึงสิทธิส่วนบุคคลและพฤติกรรมของบุคคล

3.Cultural Relativism เป็นแนวคิดที่คำนึงถึงวัฒนธรรมสังคมที่มีแนวการปฏิบัติ

4.Universalism เป็นแนวคิดที่พิจารณาแนวทางปฏิบัติที่จะถือว่าเป็นการไร้จริยธรรมจากการมองสังคมโดยเสมอภาค

กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม

1.สถาบันครอบครัว

2.สถาบันการศึกษา

3.กลุ่มเพื่อน

4.สื่อสารมวลชน

5.สถาบันทางสังคมและศาสนา

ความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ

1.เพื่อความสามมารถในการแข่งขัน

2.การเพิ่มผลผลิต

3.รักษาความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย

4.กฎหมาย ข้อบังคับจากภาครัฐ

5.ธุรกิจที่มีจริยธรรม ช่วยป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่ชุมชนและสิ่งแวดล้อม

6.ธุรกิจที่มีจริยธรรม ก่อให้เกิดความสบายใจ ความสุขในการทำงาน

ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ

1.ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว

2.จุดมุ่งหมายของธุรกิจกับค่านิยมส่วนบุคคล

3.แรงกดดันเพื่อให้ได้มาซึ่งผลกำไร

4.ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม

วิกฤติทางด้านจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1.กลุ่มบุคคลต่างๆ ในสังคมที่เป็นตัวผลักดันทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลง

2.ความพยายามสร้างความมั่งคั่งทางธุรกิจ

3.โลกาภิวัตน์ที่แพร่กระจายทั้งถูมิภาคแต่ประชากรปรับตัวไม่ทันกับความเปลี่ยนแปลง

4.ค่านิยมของคนเน้นวัตถุมากยิ่งขึ้น

5.ค่านิยมเอเชียที่เน้นการทำงานมากขึ้น

4 E

1.Education การศึกษา

2.Environment สิ่งแวดล้อม

3.Energy Conservation การอนุรักษ์พลังงาน

4.Employee Engagement การส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วมในสังคม

นางสาว ปวีณา แสนจิต กจ.2 เลขที่14

สรุปบทที่ 8

จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

                อานันท์  ปันยารชุน ได้ให้คำจำกัดความว่า จริยธรรมทางธุรกิจ คือ การผสมผสานระหว่างเศรษฐกิจและจริยธรรม โดยมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมนโยบายและการปฏิบัติของภาคธุรกิจในการสร้างความสำเร็จในการประกอบการอย่างมีความรับผิดชอบ มีความมั่นคง

                แนวคิดเกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ

1.             Teleology แนวคิดนี้มุ่งพิจารณาถึงความต้องการของประชาชนในสังคมเป็นสำคัญ

2.             Deontology แนวคิดที่มุ่งเน้นสรุปสิ่งที่พึงกระทำจากความสำนึกในความผิดชอบชั่วดีของมนุษย์

3.             Cultural Relativism เป็นแนวคิดที่พิจารณาข้อสรุปทางจรรยาบรรณของสังคมต่าง ๆ โดยพิจารณาร่วมกับความแตกต่างทางวัฒนธรรม

4.             Universalism เป็นแนวคิดที่พิจารณาแนวทางปฏิบัติที่จะถือว่าเป็นการไร้จริยธรรมจากการมองสังคมเสมอภาค

กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม

1.             สถาบันครอบครัว

2.             สถาบันการศึกษา

3.             กลุ่มเพื่อน

4.             สื่อสารมวลชน

5.             สถาบันทางสังคมและศาสนา

ความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ

1.             เพื่อความสามารถในการแข่งขัน

2.             การเพิ่มผลผลิต

3.             ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย

4.             กฎหมายข้อบังคับจากภัครัฐ

5.             ธุรกิจที่มีจริยธรรม

การพัฒนาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1.             อำนาจอันชอบธรรม

2.             ความเชื่อมั่น

3.             ความพร้อมที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง

4.             การวางแผนพัฒนาที่ดี

5.             ผลประโยชน์ส่วนร่วม

6.             การปฏิบัติที่สม่ำเสมอ

7.             การควบคุมอย่างต่อเนื่อง

ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ

1.             ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว

2.             จัดมุ่งหมายทางธุรกิจกับค่านิยมส่วยบุคคล

3.             แรงกดดันเพื่อให้ได้มาซึ่งผลกำไร

4.             ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม

วิกฤติทางด้านจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1.             กลุ่มบุคคลต่าง ๆ ในสังคมที่เป็นตัวผลักดันทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลง

2.             ความพยายามสร้างความมั่งคั่งทางธุรกิจ

3.             โลกาภิวัฒน์ที่แพร่กระจายทั่วภูมิภาคแต่ล่ะประชากร

4.             ปรับตัวไม่ทันกับความเปลี่ยนแปลง

5.             ค่านิยมของคนเน้นวัตถุมากยิ่งขึ้น

6.             ค่านิยมเอเชียที่เน้นการทำงานมากขึ้น

แนวทางการแก้ไขปัญหาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1.             ตั้งคณะกรรมการจริยธรรม

2.             ใช้วิธีฝึกอบรมทางจริยธรรม

3.             การให้รางวัลแก้ผู้ที่ปฏิบัติตามจริยธรรม

4.             การจัดให้มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดีหรือบรรษัทภิบาล

การแสดงความรับผิดชอบทางสังคม

1.             ความรับผิดชอบต่อสุขภาพและสวัสดิการของบุคคล

2.             ความรับผิดชอบด้านคุณภาพและบริการ

3.             ความรับผิดชอบต่อข้อมูลข่าวสารและการศึกษา

4.             ความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม

5.             ความรับผิดชอบด้านศาสนาและวัฒนธรรม

6.             ความรับผิดชอบด้านสิทธิมนุษยชน

ความรับผิดชอบต่อส่งคมสำหรับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

1.             ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลัก ได้แก่ ผู้ที่มีปฏิสัมพันธ์ในการดำเนินงานโดยตรงกับองค์การ

2.             ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียรอง ได้แก่ ผู้รับผลกระทบจากนโยบายหรือการดำเนินงานขององค์การ

แนวทางปฏิบัติในการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม

1.             เคารพกฎหมาย

2.             พูดแต้ความจริง

3.             ทำในสิ่งที่ถูกต้องเท่านั้น

4.             เคารพผู้อื่น

5.             ไม่ทำร้ายหรือไม้ทำให้ผู้อื่นได้รับอันตราย

นางสาวเกวลิน ตินยอด เลขที่ 4 กจ.2

บทที่ 8

จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ  (Business  Ethics  and  Social  Responsibility)

                   ในปัจจุบันการบริหารจัดการธุรกิจขององค์กรต่าง ๆ ไม่สามารถกระทำบนพื้นฐานของการแสวงหาผลประโยชน์เฉพาะในส่วนของผู้ประกอบการแต่เพียงฝ่ายเดียวได้อีกต่อไป  หากแต่การดำเนินงานต่าง ๆ นั้น จะมีผลกระทบถึงผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholders) ทั้งหมดที่มีส่วนเกี่ยวข้อง

ความหมายและลักษณะของจริยธรรม

                อานันท์    ปันยารชุน  ได้ให้คำจำกัดความว่า  จริยธรรมทางธุรกิจคือ  การผสมผสานระหว่างเศรษฐกิจและจริยธรรม  โดยมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมนโยบายและการปฏิบัติของภาคธุรกิจในการสร้างความสำเร็จในการประกอบการอย่างมีความรับผิดชอบ  มีความยั่งยืน  มีผลในระยะยาวในขณะเดียวกันก็ช่วยสร้างความสมดุลระหว่างผู้มีส่วนได้เสียในกิจการนั้น ๆ อันได้แก่ ผู้ลงทุน  ลูกจ้าง  ลูกค้า  ชุมชน  ตลอดจนสภาพสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุล

แนวคิดเกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ  (The  Concept  of  Business  Ethic)  มีหลายแนวทางเช่น

$ Teleology  แนวคิดนี้มุ่งพิจารณาถึงความต้องการของประชาชนในสังคมเป็นสำคัญ

$  Deontology  เป็นแนวคิดที่มุ่งเน้นสรุปสิทธิส่วนบุคคลและพฤติกรรมการแสดงออกมากกว่าของบุคคล

$  Cultural  Relativism  เป็นแนวคิดที่พิจารณาข้อสรุปทางจรรยาบรรณของสังคมต่าง ๆ

$  Universalism  เป็นแนวคิดที่พิจารณาแนวทางปฏิบัติที่จะถือว่าเป็นการไร้จริยธรรมจากการมองสังคม

กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม  ที่พึงจะกล่าวถึง  คือ

P  สถาบันครอบครัว  ซึ่งถือว่าเป็นหน่วยขัดเกลาสำคัญที่สุด  เช่น  คอยอบรมสั่งสอน  ถ่ายทอดวัฒนธรรม  ฯลฯ

P  สถาบันการศึกษา เป็นหน่วยขัดเกลาที่เป็นทางการและมีอิทธิพลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพความเชื่อถือ

P  กลุ่มเพื่อน  จะถือว่าเป็นหน่วยที่มีอิทธิพลต่อเด็กมาก  เช่น  ความเป็นตัวของตัวเอง  ความเป็นผู้นำ

P  สื่อสารมวลชน  อันได้แก่  โทรทัศน์  วิทยุ  ภาพยนตร์

P  สถาบันทางสังคมและศาสนา  เป็นหน่วยที่มีบทบาทมีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตและความใกล้ชิดสังคม

ความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ

!  เพื่อความสามารถในการแข่งขัน                                          !  การเพิ่มผลผลิต

!  รักษาความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย                                   !  รักษากฎหมาย  ข้อบังคับจากภาครัฐ

!  ช่วยป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่ชุมชนและสิ่งแวดล้อม         !  ช่วยปกป้องผู้ที่ทำงานอยู่ในรูปธุรกิจนั้น ๆ

การพัฒนาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ   ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบที่สำคัญต่าง ๆ ดังนี้

'  อำนาจอันชอบธรรม                                             ' ความเชื่อมั่น

'  ความพร้อมที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง                          ' การว่างแผนพัฒนาที่ดี

'  ผลประโยชน์ร่วม                                                 ' การปฏิบัติสม่ำเสมอ

'  การควบคุมอย่างต่อเนื่อง

ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ  มีประเด็นสำคัญที่ต้องพิจารณาดังต่อไปนี้

"  ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว                                    "  คำนึงถึงจุดมุ่งหมายของกิจการเป็นหลัก

"  การแข่งขันทางธุรกิจที่มุ่งรายได้และกำไรมากเกินไป         " ปัญหาความขัดแย้งทางวัฒนธรรม

วิกฤตทางด้านจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

Q  กลุ่มบุคคลต่าง ๆ ในสังคมที่เป็นตัวผลักดันทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง

Q  ความพยายามสร้างความมั่งคั่งทางธุรกิจ

Q  โลกาภิวัฒน์ที่แพร่กระจายทั่วภูมิภาค  ปรับตัวไม่ทันกับความเปลี่ยนแปลง

Q  ค่านิยมของคนเป็นวัตถุมากยิ่งขึ้น

Q  ค่านิยมเอเชียที่เป็นการทำงานมากขึ้น

แนวทางการแก้ไขปัญหาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

@  ตั้งคณะกรรมการจริยธรรม                           @  ใช้วิธีการฝึกอบรมทางจริยธรรม

@  การให้รางวัลแก่ผู้ที่ปฏิบัติตามจริยธรรม          @   การจัดให้มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดีหรือบรรษัทภิบาล

ระดับความรับผิดชอบ

J  Economic responsibility สร้างภาพระยะสั้น

J  Legal responsibility ตามกฎหมาย ถูกบังคับว่าต้องทำ

J  Ethical responsibility จากตัวบุคคลในธุรกิจนั้นๆ พนักงานเริ่มรับผิดชอบต่อสังคม

J  Discretionary responsibility โดยที่องค์กรจะทำจริง  มีจิตสำนึก

J  ระดับความรับผิดชอบต่อสังคมทั้งหมด

4 E

Education  การศึกษา  ดูแลเรื่องทุน

Environment  สิ่งแวดล้อม

Energy  Conservation  การอนุรักษ์พลังงาน

Employee  Engagement  การส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วมในสังคม

นางสาวกาญจนา พูนแสนชัย กจ 2 เลขที่ 2

บทที่ 8 จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

จริยธรรมคือ ความถูกต้องของความประพฤติและการกระทำของแต่ละบุคคล

หรือ เป็นมาตรฐานหรือกฎเกณฑ์ที่กำหนดให้คน ในองค์การปฏิบัติตนได้

อย่างเหมาะสม

อานันท์ ปันยารชุน

ได้ให้คำจำกัดความของคำว่า จริยธรรมทางธุรกิจ ว่าคือการผสมผสานระหว่างเศรษฐกิจและจริยธรรม โดยมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมนโยบายและการปฏิบัติของภาคธุรกิจ ในการสร้างความสำเร็จในการประกอบการ อย่างมีความรับผิดชอบ มีความยั่งยืน มีผลในระยะยาว ในขณะเดียวกันก็สร้างความสมดุลระหว่างผู้มีส่วนได้เสียในกิจกรรมนั้น ๆ อันได้แก่ ผู้ลงทุน ลูกจ้าง ลูกค้า ชุมชน ตลอดจนสภาพแวดล้อมอย่างสมดุล

ระดับของจริยธรรม มีอยู่ 4 ระดับด้วยกัน

1. Teleology ระดับบุคคล

2. Deontology การแสดงออกของบุคคล

3. Cultural Relativism วัฒนธรรมสังคม

4. Universalism unethical ระดับสากล

การเสริมสร้างจริยธรรมและผู้มีหน้าที่ขัดเกลาสังคม

1.ครอบครัว

2.โรงเรียน

3.กลุ่มเพื่อน

4.สื่อมลชน

5.สถาบันทางศาสนาและสังคม

ความจำเป็นของจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ

1.เพื่อความสามารถในการแข่งขัน

2.เพื่อเพิ่มผลผลิต

3.รักษาความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย

4.กฎหมายและข้อบังคับของรัฐบาล

5.ป้องกันการเกิดอันตรายแก่ชุมชน (ห่วงใยต่อสิ่งแวดล้อม)

6.ช่วยป้องกันผู้ที่ทำงานอยู่ในธุรกิจนั้นๆ

ปัญหาจริยธรรมในการดำเนินธุรกิจ

-ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว

-คำนึงถึงจุดมุ่งหมายของธุรกิจเป็นหลัก (กำไร)

-การแข่งขันทางธุรกิจที่มุ่งรายได้และผลกำไรมากเกินไป

-ปัญหาความขัดแย้งทางวัฒนธรรม

วิกฤตจริยธรรมในการดำเนินธุรกิจ

-กลุ่มบุคคลต่างๆ ในสังคมที่เป็นตัวผลักดันทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลง

-ความพยายามสร้างความมั่นคั่งทางธุรกิจ

-โลกาวิวัฒน์ที่แพร่กระจายทั่วภูมิภาคแต่ประชากรปรับตัวไม่ทันกับการเปลี่ยนแปลง

-ค่านิยมของคนเน้นวัตถุมากยิ่งขึ้น

-ค่านิยมของชาวเอเชีย ที่เน้นการทำงานมากขึ้น

แนวทางการแก้ไขปัญหาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1.Ethics Committee

2.ฝึกอบรมทางจริยธรรม

3.จัดกิจกรรมเพื่อเชื่อมความสัมพันธ์ของคนในองค์กร

CRS ธุรกิจกับความรับผิดชอบต่อสังคม

เป็นเครื่องมือที่โลกตะวันตกคิดขึ้นใช้ควบคุมถ่วงดุลลัทธินิยม

หลักการของธุรกิจกับความรับผิดชอบ

-ธุรกิจจะประสบความสำเร็จได้อย่างมั่นคงหากธุรกิจไม่เอาเปรียบสังคม จนสังคมอยู่ไม่ได้

-ธุรกิจกับสังคมจะต้องอยู่ร่วมกัน ช่วยกันลดจุดอ่อน

-ความรับผิดชอบต่อสังคมทั้งหมด

ระดับความรับผิดชอบต่อสังคม

Economic responsibility ทางเศรษฐกิจ

Leal responsibility ทางกฎหมาย

Ethical responsibility ทางธุรกิจ

Discretionary responsibility องค์กรที่ตั้งในใจทำจริง มีจิตสำนึกที่ดี

4 E

- Education การศึกษา

- Environment สิ่งแวดล้อม

- Energy Conservation การอนุรักษ์พลังงาน

- Employee Engagemet การส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วมในสังคม

นางสาวกาญจนา พูนแสนชัย กจ 2 เลขที่ 2

บทที่ 8 จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

จริยธรรมคือ ความถูกต้องของความประพฤติและการกระทำของแต่ละบุคคล

หรือ เป็นมาตรฐานหรือกฎเกณฑ์ที่กำหนดให้คน ในองค์การปฏิบัติตนได้

อย่างเหมาะสม

อานันท์ ปันยารชุน ได้ให้คำจำกัดความของคำว่า จริยธรรมทางธุรกิจ ว่าคือการผสมผสานระหว่างเศรษฐกิจและจริยธรรม โดยมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมนโยบายและการปฏิบัติของภาคธุรกิจ ในการสร้างความสำเร็จในการประกอบการ อย่างมีความรับผิดชอบ มีความยั่งยืน มีผลในระยะยาว ในขณะเดียวกันก็สร้างความสมดุลระหว่างผู้มีส่วนได้เสียในกิจกรรมนั้น ๆ อันได้แก่ ผู้ลงทุน ลูกจ้าง ลูกค้า ชุมชน ตลอดจนสภาพแวดล้อมอย่างสมดุล

ระดับของจริยธรรม มีอยู่ 4 ระดับด้วยกัน

1. Teleology ระดับบุคคล

2. Deontology การแสดงออกของบุคคล

3. Cultural Relativism วัฒนธรรมสังคม

4. Universalism unethical ระดับสากล

การเสริมสร้างจริยธรรมและผู้มีหน้าที่ขัดเกลาสังคม

1.ครอบครัว

2.โรงเรียน

3.กลุ่มเพื่อน

4.สื่อมลชน

5.สถาบันทางศาสนาและสังคม

ความจำเป็นของจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ

1.เพื่อความสามารถในการแข่งขัน

2.เพื่อเพิ่มผลผลิต

3.รักษาความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย

4.กฎหมายและข้อบังคับของรัฐบาล

5.ป้องกันการเกิดอันตรายแก่ชุมชน (ห่วงใยต่อสิ่งแวดล้อม)

6.ช่วยป้องกันผู้ที่ทำงานอยู่ในธุรกิจนั้นๆ

ปัญหาจริยธรรมในการดำเนินธุรกิจ

-ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว

-คำนึงถึงจุดมุ่งหมายของธุรกิจเป็นหลัก (กำไร)

-การแข่งขันทางธุรกิจที่มุ่งรายได้และผลกำไรมากเกินไป

-ปัญหาความขัดแย้งทางวัฒนธรรม

วิกฤตจริยธรรมในการดำเนินธุรกิจ

-กลุ่มบุคคลต่างๆ ในสังคมที่เป็นตัวผลักดันทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลง

-ความพยายามสร้างความมั่นคั่งทางธุรกิจ

-โลกาวิวัฒน์ที่แพร่กระจายทั่วภูมิภาคแต่ประชากรปรับตัวไม่ทันกับการเปลี่ยนแปลง

-ค่านิยมของคนเน้นวัตถุมากยิ่งขึ้น

-ค่านิยมของชาวเอเชีย ที่เน้นการทำงานมากขึ้น

แนวทางการแก้ไขปัญหาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1.Ethics Committee

2.ฝึกอบรมทางจริยธรรม

3.จัดกิจกรรมเพื่อเชื่อมความสัมพันธ์ของคนในองค์กร

CRS ธุรกิจกับความรับผิดชอบต่อสังคม

เป็นเครื่องมือที่โลกตะวันตกคิดขึ้นใช้ควบคุมถ่วงดุลลัทธินิยม

หลักการของธุรกิจกับความรับผิดชอบ

-ธุรกิจจะประสบความสำเร็จได้อย่างมั่นคงหากธุรกิจไม่เอาเปรียบสังคม จนสังคมอยู่ไม่ได้

-ธุรกิจกับสังคมจะต้องอยู่ร่วมกัน ช่วยกันลดจุดอ่อน

-ความรับผิดชอบต่อสังคมทั้งหมด

ระดับความรับผิดชอบต่อสังคม

Economic responsibility ทางเศรษฐกิจ

Leal responsibility ทางกฎหมาย

Ethical responsibility ทางธุรกิจ

Discretionary responsibility องค์กรที่ตั้งในใจทำจริง มีจิตสำนึกที่ดี

4 E

- Education การศึกษา

- Environment สิ่งแวดล้อม

- Energy Conservation การอนุรักษ์พลังงาน

- Employee Engagemet การส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วมในสังคม

นางสาว สุมาลี ยศศรัทธา กจ.2 เลขที่ 23

สรุป บทที่ 8

เรื่อง จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

ความหมายและลักษณะของจริยธรรม

          อานันท์ ปันยารชุน ได้ให้คำจำกัดความของคำว่า จริยธรรมทางธุรกิจ คือ การผสมผสานระหว่างเศรษฐกิจและจริยธรรม โดยมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมนโยบายและการปฏิบัติของภาคธุรกิจ ในการสร้างความสำเร็จในการประกอบการอย่างมีความรับผิดชอบ มีความยั่งยืน มีผลในระยะยาว ในขณะเดียวกันก็สร้างความสมดุลระหว่างผู้มีส่วนได้เสียในกิจกรรมนั้น ๆ อันได้แก่ ผู้ลงทุน ลูกจ้าง ลูกค้า ชุมชน ตลอดจนสภาพแวดล้อมอย่างสมดุล

แนวคิดที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ

  • Teleology
  • Deontology
  • Cultural Relativism
  • Universalism

กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม

  • สถาบันครอบครัว
  • สถาบันการศึกษา
  • กลุ่มเพื่อน
  • สื่อสารมวลชน
  • สถาบันทางสังคมและศาสนา

ความจำเป้นที่ต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ

  • เพื่อคววามสามารถในการแข่งขัน
  • การเพิ่มผลผลิต
  • ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย
  • กฎหมาย ข้อบังคับจากภาครัฐ
  • ธุรกิจที่มีจริยธรรม

การพัฒนาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

  • อำนาจอันชอบธรรม
  • ความเชื่อมั่น
  • ความพร้อมที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง
  • การวางแผนพัฒนาที่ดี
  • ผลประโยชน์ร่วม
  • การปฏิบัติที่สม่ำเสมอ
  • การควบคุมอย่างต่อเนื่อง

ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ

  • ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว
  • จุดมุ่งหมายของธุรกิจกับค่านิยมส่วนบุคคล
  • แรงกดดันเพื่อให้ได้มาซึ่งผลกำไร
  • ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม

วิกฤตจริยธรรมในการดำเนินธุรกิจ

  • กลุ่มบุคคลต่างๆ ในสังคมที่เป็นตัวผลักดันทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลง
  • ความพยายามสร้างความมั่นคั่งทางธุรกิจ
  • โลกาวิวัฒน์ที่แพร่กระจายทั่วภูมิภาคแต่ประชากรปรับตัวไม่ทันกับการเปลี่ยนแปลง
  • ค่านิยมของคนเน้นวัตถุมากยิ่งขึ้น
  • ค่านิยมของชาวเอเชีย ที่เน้นการทำงานมากขึ้น

ระดับความรับผิดชอบต่อสังคม

  • Economic responsibility ทางเศรษฐกิจ
  • Leal responsibility ทางกฎหมาย
  • Ethical responsibility ทางธุรกิจ
  • Discretionary responsibility องค์กรที่ตั้งในใจทำจริง มีจิตสำนึกที่ดี

การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม

  • ความรับผิดชอบต่อสุขภาพและสวัสดิภาพของบุคคล
  • ความรับผิดชอบด้านคุณภาพและบริการ
  • ความรับผิดชอบต่อข้อมูลข่าวสาร และการศึกษา
  • ความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม
  • ความรับผิดชอบด้านศาสนาและวัฒนธรรม
  • ความรับผิดชอบด้านสิทธิมนุษยชน

4 E

  •  Education การศึกษา
  •  Environment สิ่งแวดล้อม
  •  Energy Conservation การอนุรักษ์พลังงาน
  •  Employee Engagemet การส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วมในสังคม
นางสาวสิดานันทน์ ใจชุ่ม กจ.2 รหัส 51591251061-4

บทที่ 8 จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

จริยธรรม หมายถึง ความสามารถที่จะสะท้อนถึงค่านิยม(Values) ในกระบวนการตัดสินใจของธุรกิจ

อานันท์ ปันยารชุน ให้ความหมายว่า จริยธรรมทางธุรกิจหมายถึง การผสมผสานระหว่างเศรษฐกิจและริยะธรรม โดนมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมนโยบายและการปฏิบัติของภาคธุรกิจในการสร้างความสำเร็จในการประกอบการอย่างมีความรับผิดชอบ มีความยั่งยืน

แนวคิดที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ (The Concept of Business Ethic) มีหลายแนวทางเช่น

 1.Teleology ความสำคัญของปัจเจคบุคคลและความสำคัญต่อกลุ่มบุคคล

2.Deontology คำนึงถึงสิทธิส่วนบุคคลและพฤติกรรมการแสดงออก

3.Cultural Relativism พิจารณาข้อสรุปทางจรรยาบรรณของสังคมต่างๆ

4.Universalism แนวทางปฏิบัติที่จะถือว่าเป็นการไร้จริยธรรมจากการมองสังคมโดยเสมอภาค

กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม

1.ครอบครัว ขัดเกลาเบื้องต้น แบบแผนทางจริยธรรม

2.สถาบันการศึกษา บุคลิกภาพและความเชื่อถือในด้านคุณธรรมและจริยธรรม

3.กลุ่มเพื่อน ความเป็นตัวของตัวเอง การรู้จักเอาตัวรอด การอยู่ร่วมกันในสังคม

4.สื่อสารมวลชน นำคุณธรรมมาสอดแทรก สร้างค่านิยม ความเชื่อ ทัศนคติและการเรียนรู้พฤติกรรมต่างๆ

5.สถาบันทางสังคมและศาสนา มีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิต ปลูกฝังให้คนเป็นคนดี

ความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ จริยธรรมในการบริการธุรกิจ (Business Ethics) เป็นการนำเอาหลักจริยธรรมและคุณธรรมมาใช้ในการบริหารจัดการธุรกิจ

1.เพื่อความสามารถในการแข่งขัน

2.การเพิ่มผลผลิต

3.ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

4.กฎหมาย ข้อบังคับจากภาครัฐ

5.ป้องกันการเกิดอันตรายแก่ชุมชน(ห่วงใยด้านสิ่งแวดล้อม)

6.ช่วยปกป้องผู้ที่ทำงานอยู่ในธุรกิจนั้นๆ

ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ

1.ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว

 2.จุดมุ่งหมายของธุรกิจกับค่านิยมส่วนบุคคล

3.แรงกดดันเพื่อให้ได้มาซึ่งผลกำไร

4.ปัญหาความขัดแย้งทางวัฒนธรรม

วิกฤติทางด้านจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1.กลุ่มบุคคลต่างๆ ในสังคมที่เป็นตัวผลักดันทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลง

2.ความพยายามสร้างความมั่งคั่งทางธุรกิจ

3.โลกาภิวัตน์ที่แพร่กระจายทั้งถูมิภาคแต่ประชากรปรับตัวไม่ทันกับความเปลี่ยนแปลง

4.ค่านิยมของคนเน้นวัตถุมากยิ่งขึ้น

5.ค่านิยมเอเชียที่เน้นการทำงานมากขึ้น

แนวทางการแก้ไขปัญหาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1.ตั้งคณะกรรมการจริยธรรม (Ethics Committee)

2.ใช้วิธีการฝึกอบรมทางจริยธรรม

3.การให้รางวัลแก่ผู้ที่ปฏิบัติตามจริยธรรม

4.การจัดการให้มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดีหรือบรรษัทภิบาล (Good Corporate Governance)

การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม 4E

1. Education – การศึกษา

2. Environment – สิ่งแวดล้อม

3. Energy Conservation – การอนุรักษ์พลังงาน

4. Employee Engagement – การส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วมในสังคม

นายเอกชัย ชัยวร กจ.2 เลขที่ 32 รหัส 51591251062-2

บทที่ 8

จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

1.ความหมายและลักษณะของจริยธรรม

                Samuel Certo ได้ระบุว่า ในทางธุรกิจ จริยธรรม หมายถึง ความสามารถที่จะสะท้อนถึงค่านิยมในกระบวนตัดสินใจของธุรกิจ

                อานนท์ ปันยารชุน ได้ให้คำจำกัดความว่า จริยธรรมทางธุรกิจ คือการผสมผสานระหว่างเศรษฐกิจและจริยธรรม  โดยมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมนโยบายและการปฏิบัติของภาคธุรกิจในการสร้างความสำเร็จในการประกอบการอย่างมีความรับผิดชอบ มีความยั่งยืน มีผลในระยะยาวในขณะเดียวกันก็ช่วยสร้างความสมดุลระหว่างผู้ส่วนได้เสียในกิจการนั้น ๆ

                จรรยาบรรณ ตามรากศัพท์ หมายถึง หลักของความประพฤติ ส่วนจริยธรรม หมายถึง ธรรมของการปฏิบัติ จรรยาบรรณจึงเป็นข้อกำหนดทางจริยธรรมของวิชาชีพ

2.แนวคิดที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ

                1.Teleology แนวคิดนี้มุ่งพิจารณาถึงความต้องการของประชาชนในสังคมเป็นสำคัญโดยสรุปว่าการกระทำหรือพฤติกรรมที่ถูกต้องหรือยอมรับได้

                2.Deontology เป็นแนวคิดที่มุ่งเน้นสรุปสิ่งที่พึงกระทำจากความสำนึกใสความผิดชอบชั่วดีของมนุษย์

                3.Cultural Relativism เป็นแนวคิดที่พิจารณาจากข้อสรุปทางจรรยาบรรณของสังคมต่าง ๆ โดยพิจารณาร่วมกับความแตกต่างทางวัฒนธรรม

                4.Universalism เป็นแนวคิดที่พิจารณาแนวทางปฏิบัติที่จะถือว่าเป็นการไร้จริยธรรมจากการมองสังคมโดยเสมอภาค

                3.กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม

                1.สถาบันครอบครัว ซึ่งถือว่าเป็นหน่วยขัดเกลาสำคัญที่สุด เพราะบุคคลจะได้รับการอบรมจากครอบครัวอยู่ตลอดเวลา

                2.สถาบันการศึกษา ถือว่าเป็นหน่วยที่ขัดเกลาที่เป็นทางการและมีอิทธิพลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพและความเชื่อถือในด้านคุณธรรมและจริยธรรม

                3.กลุ่มเพื่อน จะถือว่าเป็นหน่วยที่มีอิทธิพลต่อเด็กมาก เพราะจะได้ให้เด็กได้เรียนรู้สิ่งใหม่ที่ไม่ได้รับจากครอบครัวและสถาบันการศึกษา

                4.สื่อสารมวลชน อันได้แก่ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ สิ่งตีพิมพ์ต่าง ๆ และเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่

                5.สถาบันทางสังคมและศาสนา เป็นหน่วยที่มีบทบาทมีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตและความใกล้ชิดกับชุมชน ให้การอบรมสั่งสอนทั้งเด็กและผู้ใหญ่ในด้านคุณธรรมและจริยธรรม

                4.ความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ

1.เพื่อความสามารถในการแข่งขัน

2.การเพิ่มผลผลิต

3.ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย

4.กฎหมาย ข้อบังคับจากภาครัฐ

5.ธุรกิจที่มีจริยธรรมจะสามารถช่วยป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่ชุมชนและสิ่งแวดล้อม

6.ธุรกิจที่มีจริยธรรม ย่อมก่อให้เกิดความสบายใจ ความสุขในการทำงาน และจะช่วยดึงดูดให้คนเข้ามาทำงานในบริษัท

                5.การพัฒนาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1.อำนาจอันชอบธรรม

2.ความเชื่อมั่น

3.ความพร้อมที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง

4.การวางแผนพัฒนาที่ดี

5.ผลประโยชน์ร่วม

6.การปฏิบัติที่สม่ำเสมอ

                6.ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ

1.ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว อันเกิดจากความโลภ กิเลส ความหลงมัวเมา

2.จุดมุ่งหมายของธุรกิจกับค่านิยมส่วนบุคคล

3.แรงกดดันเพื่อให้ได้ซึ่งผลกำไร

4.ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม

                7.วิกฤติทางด้านจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

                - ด้านค่านิยมของคนที่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม

                - ค่านิยมที่เน้นการทำงานหนัก

                8.แนวทางการแก้ไขปัญหาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1.ตั้งคณะกรรมการจริยธรรม เพื่อให้คำปรึกษา แนะนำ

2.ใช้วิธีการฝึกอบรมทางจริยธรรม

3.การให้รางวัลแก่ผู้ปฏิบัติตามจริยธรรม

4.การจัดให้มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดีหรือบรรษัทภิบาล

                9.การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม

1.ความรับผิดชอบต่อสุขภาพและสวัสดิภาพของบุคคล

2.ความรับผิดชอบด้านคุณภาพและบริการ

3.ความรับผิดชอบต่อข้อมูลข่าวสาสร และการศึกษา

4.ความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม

5.ความรับผิดชอบด้านศาสนา

6.ความรับผิดชอบด้านสิทธิมนุษยชน

น.ส อังคณา กันธิมาลา กจ.2 เลขที่ 26

บทที่ 8

จริยธรรมกันการบริหารจัดการธุรกิจ

ความหมายของจริยธรรมในธุรกิจ คือ การผสมผสานระหว่างเศรษฐกิจและจริยธรรม เพื่อส่งเสริมนโยบายและการปฏิบัติของภาคธุรกิจในการสร้างความสำเร็จอย่างมีความรับผิดชอบ

กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม

การอบรมหรือการขัดเกลาทางสังคม เป็นกระบวนการปลูกฝังบรรทัดฐานของกลุ่มให้เกิดขึ้นในตัวบุคคล

การขัดเกลาทางสังคม เป็นกระบวนการที่คนทุกคนต้องประสบมาตั้งแต่เด็กจนถึงผู้ใหญ่ เพื่อการเรียนรู้และดูดซับค่านิยม ระเบียบแบบแผนของสังคม

ผู้ที่มีบทบาทมีความสำคัญในกระบวนการเสริมสร้างจริยธรรมที่พึงจะกล่าว คือ

1. สถาบันครอบครัว

2. สถาบันการศึกษา

3. กลุ่มเพื่อน

4. สื่อสารมวลชน

5. สถาบันทางสังคมและศาสนา

ความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ

1. เพื่อความสามารถในการแข่งขัน ถ้าไม่มีจริยธรรมกิจการนั้นก็ไม่สามารถแข่งขันกับผู้อื่นให้

2. การเพิ่มผลผลิต ช่วยสร้างความสามารถในการผลิตให้สูงขึ้น

3. ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

4. กฎหมาย ข้อบังคับจากภาครัฐ การบริหารธุรกิจที่มีจริยธรรมจะช่วยลดความจำเป็นของภาครัฐออกกฎระเบียบ

5. ธุรกิจที่มีจริยธรรมจะช่วยป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่ชุมชน

6. ธุรกิจที่มีจริยธรรม ย่อมให้เกิดความสบายใจ ความสุขในการทำงาน

ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ

1. ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว อันเกิดจากความโลภ

2. จุดมุ่งหมายของธุรกิจกับค่านิยมส่วนบุคคล ขัดแย้งทางจริยธรรม

3. แรงกดดันเพื่อให้ได้มาซึ่งผลกำไร จากแรงกดดันในการแข่งขัน

4. ความขัดแย้งในทางวัฒนธรรม อาจเกิดขึ้นเมื่อการดำเนินธุรกิจในสังคมที่มีวัฒนธรรมแตกต่างไปจากสังคมของตน

การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม

1. ความรับผิดชอบต่อสุขภาพและสวัสดิภาพของบุคคล การไม่ผลิตสินค้าที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพออกจำหน่าย

2. ความรับผิดชอบด้านคุณภาพและบริการ จำหน่ายสินค้าที่มีคุณภาพ เป็นไปตามข้อกำหนดและมาตรฐาน

3. ความรับผิดชอบต่อข้อมูลข่าวสาร และการศึกษา การเปิดเผยข้อมูลที่จำเป็นแก่บุคคลทั้งภายในและภายนอก

4. ความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม การไม่ทำผิดกฎหมายเกี่ยวกันสิ่งแวดล้อม คำนึงถึงผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม

5. ความรับผิดชอบด้านศาสนาและวัฒนธรรม การผลิตสนค้าและการให้บริการโดยคำนึงถึงวัฒนธรรม

6. ความรับผิดชอบด้านสิทธิมนุษยชน

น.ส. มาลินี เมืองใจมา กจ.2 เลขที่ 16

สรุปบทที่ 8 จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

จริยธรรม (Ethics) หมายถึง ความสามารถที่จะสะท้อนถึงค่านิยม (Values)ในกระบวนการตัดสินใจของธุรกิจ เพื่อกำหนดว่าค่านิยมและการตัดสินใจมีผลกระทบอย่างไรต่อผู้มีส่วนได้เสีย และเพื่อกำหนดว่าผู้บริหารจะนำเอาผลกระทบนั้นไปใช้ในการบริหารจัดการธุรกิจอย่างไร

อานันท์ ปันยารชุน ได้ให้คำจำกัดความว่า จริยธรรมทางธุรกิจ คือ การผสมผสานระหว่างเศรษฐกิจและจริยธรรม โดยมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมนโยบายและการปฏิบัติของภาคธุรกิจ ในการสร้างความสำเร็จในการประกอบการอย่างมีความรับผิดชอบ มีความยั่งยืน มีผลในระยะยาว ในขณะเดียวกันก็ช่วยสร้างความสมดุลระหว่างผู้มีส่วนได้เสียในกิจการนั้น ๆ อันได้แก่ ผู้ลงทุน ลูกจ้าง ลูกค้า ชุมชน ตลอดจนสภาพสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุล

แนวคิดที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ

1.Teleology แนวคิดนี้มุ่งพิจารณาความต้องการของประชาชนในสังคมเป็นสำคัญ

2.Deontology เป็นแนวคิดที่มุ่งเน้นสรุปสิ่งที่พึงกระทำจากความสำนึกในความผิดชอบชั่วดีของมนุษย์มากกว่าจะสรุปจากผลที่เกิดขึ้นเมื่อได้ทำไปแล้ว

3.Cultural Relativism เป็นแนวคิดที่พิจารณาข้อสรุปทางจรรยาบรรณของสังคมต่าง ๆ

4.Universalism เป็นแนวคิดที่พิจารณาแนวทางปฏิบัติที่จะถือว่าเป็นการไร้จริยธรรม

กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม

1.สถาบันครอบครัว ซึ่งถือเป็นหน่วยขัดเกลาสำคัญที่สุด

2.สถาบันการศึกษา มีอิทธิพลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพและความเชื่อในด้านคุณธรรมและจริยธรรม

3.กลุ่มเพื่อน มีอิทธิพลต่อเด็กมาก เพราะจะช่วยให้เด็กได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ

4.สื่อสารมวลชน สามารถสร้างค่านิยม ความเชื่อ ทัศนคติ และการเรียนรู้พฤติกรรมต่างๆ

5.สถาบันทางสังคมและศาสนา มีอิทธิพลในการดำรงชีวิตทั้งเรื่องคุณธรรมและศีลธรรม ทำให้บุคคลมีพฤติกรรม บุคลิกภาพ ที่แตกต่างไปจากที่เคยเรียนรู้

ความจำเป็นต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ

•เพื่อความสามารถในการแข่งขัน

•การเพิ่มผลผลิต

•ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย

•กฎหมาย ข้อบังคัลจากภาครัฐ

•ช่วยป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่ชุมชนและสิ่งแวดล้อม

•ช่วยดึงดูดให้คนเข้ามาทำงานในบริษัท

ปัญหาจริยธรรมในการดำเนินธุรกิจ

1. ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว

2. คำนึงถึงจุดมุ่งหมายของธุรกิจเป็นหลัก

3. การแข่งขันทางธุรกิจที่มุ่งรายได้และกำไรมากเกินไป

4. ปัญหาความขัดแย้งทางวัฒนธรรม

วิกฤตทางด้านจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1.กลุ่มบุคคลต่าง ๆ ในสังคมที่เป็นตัวผลักดันทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลง

2.ความพยายามสร้างความมั่งคั่งทางธุรกิจ

3.โลกาภิวัฒน์ที่แพร่กระจายทั่วภูมิภาค แต่ประชากรปรับตัวไม่ทันกับความเปลี่ยนแปลง

4.ค่านิยมของคนเน้นวัตถุมากยิ่งขึ้น

5.ค่านิยมเอเชียที่เน้นการทำงานมากขึ้น

แนวทางการแก้ไขปัญหาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1.ตั้งคณะกรรมการจริยธรรม

2.ใช้วิธีการฝึกอบรมทางจริยธรรม

3.ให้รางวัลแก่ผู้ที่ปฏิบัติตามจริยธรรม

4.จัดให้มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดีหรือบรรษัทภิบาล

ระดับความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์การธุรกิจ

1. Economic Responsibility ทำเพื่อสร้างภาพ

2. Legal Responsibility ทำตามกฎหมาย ถูกบีบบังคับ ต้องทำ

3. Ethical Responsibility จริยธรรมทางธุรกิจ เกิดจากตัวบุคคลที่อยู่ในธุรกิจนั้น ๆ

4. Discretionary Responsibility ความรับผิดชอบต่อสังคม โดยที่องค์กรอยากทำจริง ๆ

4 E

1. Education การศึกษา การให้ทุน

2. Environment สิ่งแวดล้อม

3. Energy Conservation การอนุรักษ์พลังงาน

4. Employee Engagement การส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วมในสังคม

นางสาวสาวิตรี มลเทียร กจ.2 เลขที่ 20

บทที่ 8 จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

จริยธรรมทางธุรกิจคือ การผสมผสานระหว่างเศรษฐกิจและจริยธรรม โดยมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมนโยบายและการปฏิบัติขิงภาคธุรกิจในการสร้างความสำเร็จในการประกอบการอย่างมีความรับผิดชอบ

แนวคิดที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ

1. Teleology

2. Deontology

3. Cultural Relativism

4. Universalism

กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม

ถือว่าเป็นการปลูกฝังบรรทัดฐานของกลุ่มให้เกิดขึ้นในตัวบุคคล เพื่อให้บุคคลนั้นสามารถอยู่ร่วนกันในสังคมได้ สามารถทำงานร่วมกับบุคคลอื่นๆ และปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้องในสายตาของสังคม

สำหรับผู้ทำหน้าที่ในการขัดเกลาทางสังคมคือ

1. สถาบันครอบครัว

2. สถาบันการศึกษา

3. กลุ่มเพื่อน

4. สื่อสารมวลชน

5. สถาบันทางสังคมและศาสนา

ความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ

1. เพื่อความสามารถในการแข่งขัน

2. การเพิ่มผลผลิต

3. ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย

4. กฎหมาย ข้อบังคับจากภาครัฐ

5. ธุรกิจที่มีจริยธรรม จะสามารถช่วยป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแกชุมชนและสิ่งแวดล้อม

6. ธุรกิจทีจริยธรรม ย่อมก่อให้เกิดความสบายใจ

ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ

1. ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว

2. จุดมุ่งหมายของธุรกิจกับค่านิยมส่วนบุคคล

3. แรงกดดันเพื่อให้ได้มาซึ่งผลกำไร

4. ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม

วิกฤติทางด้านจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

นักธุรกิจ นักการเมือง นักวิชาการ เป็นผู้มีส่วนผลัดด้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นในสังคม บนแนวความคิดของระบบเศรษฐกิจที่มุ่งหวังความมั่งคั่ง ระบบเศรษฐกิจที่เชื่อมโยงกับอำนาจและอิทธิพลของเทคโนโลยีอันทันสมัยที่ถือว่าเป็นระบบที่มีความรู้เป็นพื้นฐาน

ด้านค่านิยมของคนที่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมก็ด้วยเหตุผลของความเจริญเติบโตของภาคธุรกิจเป็นเหตุ ที่ชัดเจนคือ ด้านวัตถุนิยมและการบริโภคนิยมได้ขยายตัวอย่างกว้างขวางและรวดเร็วจากสังคมเมือไปสู่สังคมชนบท

แนวทางการแก้ไขปัญหาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1. ตั้งคณะกรรมการจริยธรรม

2. ใช้วิธีการฝึกอบรมทางจริยธรรม

3. การให้รางวัลแก่ผู้ที่ปฏิบัติตามจริยธรรม

4. การจัดให้มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดีหรือบรรษัทภิบาล

ความแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม

1. ความรับผิดชอบต่อสุขภาพและสวัสดิภาพของบุคคล

2. ความรับผิดชอบด้านคุณภาพและบริการ

3. ความรับผิดชอบต่อข้อมูลข่าวสาร และการศึกษา

4. ความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม

5. ความรับผิดชอบด้านศาสนาและวัฒธรรม

6. ความรับผิดชอบด้านสิทธิมนุษชน

นายวรปรัชญ์ ไทยกำธร เลขที่.20 กจ.2

บทที่ 8

จริยธรรมทางการบริหารจัดการธุรกิจ

จริยธรรมหมายถึง ความสามารถที่สะท้อนถึงค่านิยมในกระบวนการตัดสินใจของธุรกิจ

-แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับจรรยาบรรณทางธุรกิจคือ

1.Teleology ความสำคัญของปัจเจกบุคคลและความสำคัญต่อกลุ่ม

2.Deontology คำนึงถึงสิทธิส่วนบุคคลและพฤติกรรมการแสดงออก

3.Cultural Relativism พิจารณาข้อสรุปทางจรรยาบรรณของสังคมต่างๆ

4.Universalism แนวทางปฎิบัติที่ถือว่าเป็นการไร้จริยธรรม

-กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม

•1.ครอบครัว

•2.สถาบันการศึกษา

•3.กลุ่มเพื่อน

•4.สื่อสารมวลชน

•5.สถาบันทางสังคมและศาสนา

-ความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ

•1.เพื่อความสามารถในการแข่งขัน

•2.การเพิ่มผลผลิต

•3.ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย

-ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ

1.ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว

2.จุดมุ่งหมายของธุรกิจ

3.แรงกดดันเพื่อให้ได้มาซึ่งผลกำไร

4.ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม

-4 E

1.Education การศึกษา

2.Environment สิ่งแวดล้อม

3.Energy Conservation การอนุรักษ์พลังงาน

4.Employee Engagement การส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วมในสังคม

นางสาวอังคณา ธนวัฒน์โชติกุล กจ.2 เลขที่ 27

บทที่ 8 จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

อานันท์ ปันยารชุน ได้ให้คำจำกัดความว่า จริยธรรมทางธุรกิจคือ การผสมผสานระหว่างเศรษฐกิจและจริยธรรม โดยมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมนโยบายและการปฏิบัติขิงภาคธุรกิจในการสร้างความสำเร็จในการประกอบการอย่างมีความรับผิดชอบ

แนวคิดที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ

1. Teleology แนวความคิดนี้มุ่งพิจารณาถึงความต้องการของประชาชนในสังคมเป็นสำคัญ

2. Deontology แนวคิดที่มุ่งเน้อสรุปสิ่งที่พึ่งกระทำจากความสำนึกในความผิดชอบชั่วดีของมนุษย์มากกว่าจะสรุปจากผลที่เกิดขึ้นเมื่อได้ทำไปแล้ว

3. Cultural Relativism เป็นแนวคิดที่พิจารณาข้อสรุปทางจรรยาบรรณของสังคมต่างๆ

4. Universalism เป็นแนวคิดที่พิจารณาแนวทางปฏิบัติที่จะถือว่าเป็นการไร้จริยธรรมจากการมองสังคมโดยเสมอภาค

กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม

ถือว่าเป็นการปลูกฝังบรรทัดฐานของกลุ่มให้เกิดขึ้นในตัวบุคคล เพื่อให้บุคคลนั้นสามารถอยู่ร่วนกันในสังคมได้ สามารถทำงานร่วมกับบุคคลอื่นๆ และปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้องในสายตาของสังคม

สำหรับผู้ทำหน้าที่ในการขัดเกลาทางสังคมคือ

1. สถาบันครอบครัว

2. สถาบันการศึกษา

3. กลุ่มเพื่อน

4. สื่อสารมวลชน

5. สถาบันทางสังคมและศาสนา

ความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ

1. เพื่อความสามารถในการแข่งขัน

2. การเพิ่มผลผลิต

3. ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย

4. กฎหมาย ข้อบังคับจากภาครัฐ

5. ธุรกิจที่มีจริยธรรม จะสามารถช่วยป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแกชุมชนและสิ่งแวดล้อม

6. ธุรกิจทีจริยธรรม ย่อมก่อให้เกิดความสบายใจ

ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ

1. ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว

2. จุดมุ่งหมายของธุรกิจกับค่านิยมส่วนบุคคล

3. แรงกดดันเพื่อให้ได้มาซึ่งผลกำไร

4. ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม

แนวทางการแก้ไขปัญหาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ

1. ตั้งคณะกรรมการจริยธรรม

2. ใช้วิธีการฝึกอบรมทางจริยธรรม

3. การให้รางวัลแก่ผู้ที่ปฏิบัติตามจริยธรรม

4. การจัดให้มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดีหรือบรรษัทภิบาล

ความแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม

1. ความรับผิดชอบต่อสุขภาพและสวัสดิภาพของบุคคล

2. ความรับผิดชอบด้านคุณภาพและบริการ

3. ความรับผิดชอบต่อข้อมูลข่าวสาร และการศึกษา

4. ความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม

5. ความรับผิดชอบด้านศาสนาและวัฒธรรม

6. ความรับผิดชอบด้านสิทธิมนุษชน

4 E

1. Education การศึกษา การให้ทุน

2. Environment สิ่งแวดล้อม

3. Energy Conservation การอนุรักษ์พลังงาน

4. Employee Engagement การส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วมในสังคม

นายกฤษณะ ณ มา เลขที่ 1 กจ2

บทที่8 จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

จริยธรรมในทางธุรกิจ หมายถึง ความสามารถที่จะสะท้อนถึงค่านิยมในกระบวนการติดสินใจของธุรกิจและส่งเสริมนโยบายการปฏิบัติของภาคธุรกิจในการสร้างความสำเร็จในการประกอบการอย่างมีความรับผิดชอบ มีความยั่งยื่น มีผลในระยะยาว สำหรับแนวคิดที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจมีหลายแนวคิด เช่น • Teleolgy ให้ความสำคัญของปัจเจกบุคคล(Egoism) และ ความสำคัญต่อกลุ่มบุคคล(Utilitarianism) • Deontology สิทธิส่วนบุคคลและพฤติกรรมการแสดงออก • Cultural Relativism ความแตกต่างทางวัฒนธรรม • Universlism แนวทางปฏิบัตี่ถือว่าเป็นการไร้จริยธรรมจากการมองสังคมโดยเสมอภาค กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรมและผู้มีหน้าที่ขัดเกลาทางสังคม • ครอบครัว • สถานศึกษา • กลุ่มเพื่อน • สื่อสารมวลชน • สถาบันสังคม และศาสนา ความจำเป็นที่ต้องมีจริยธรรมในการบริหารธุรกิจ • เพื่อความสามารถในการแข่งขัน • การเพิ่มผลผลิต • ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย • กฎหมาย ข้อบังคับจากภาครัฐ • ธุรกิจที่มีจริยธรรม จะสามารถช่วยป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่ชุมชนและสิ่งแวดล้อม • ธุรกิจที่มีจริยธรรม ย่อมก่อให้เกิดความสบายใจ ความสุขในการทำงานและจะช่วยดึงดูดให้คนเข้ามาทำงานกับบริษัท การพัฒนาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ • อำนาจอันชอบธรรม • ความเชื่อมั่น • ความพร้อมที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง • การวางแผนพัฒนาที่ดี • ผลประโยชน์ร่วม • การปฏิบัติที่สม่ำเสมอ • การควบคุมอย่างต่อเนื่อง ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ • ผลประโยและความเห็นแก่ตัว • คำนึงจุดมุงหมายของธุรกิจกับค่านิยมส่วนบุคคลเป็นหลัก • แรงกดดันเพื่อให้ได้มาซึ่งผลกำไร • การแข่งขันทางธุรกิจที่มุ่งรายได้และกำไรมากเกินไป • ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม แนวทางการแก้ปัญหาจริยธรรมในองค์การธุรกิจ • ตั้งคณะกรรมจริยธรรม • ใช้วิธีการฝึกอบรมทางจริยธรรม • การให้รางวัลแก่ผู้ที่ปฏิบัติตามจริยธรรม • การจัดให้มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดีหรือบรรษัทภิบาล ธุรกิจกับความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR - Corporate Social Responsibility) ธุรกิจกับความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR - Corporate Social Responsibility) เป็นเครื่องมือที่โลกตะวันตกคิดขึ้นสำหรับใช้ควบคุมหรือถ่วงดุลลัทธิทุนนิยมสุดขั้ว มุ่งกำไรสูงสุด จนหย่อนด้านคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบต่อสังคม เป็นกลไกควบคุมธุรกิจขนาดใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งธุรกิจข้ามชาติ ให้ต้องประพฤติปฏิบัติในลักษณะที่แสดงความรับผิดชอบต่อสังคมในหลากหลายมิติ หลักการของธุรกิจกับความรับผิดชอบต่อสังคม จึงอยู่บนฐานความเชื่อว่า ธุรกิจ กับสังคม จะต้องอยู่ร่วมกัน อย่างช่วยเหลือเกื้อกูลเอื้อประโยชน์ซึ่งกันและกัน ช่วยกันลดจุดอ่อนต่อกัน ความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจมีหลากหลายด้าน ดังต่อไปนี้ 1. ด้านสิ่งแวดล้อม - ธุรกิจอาจก่อมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมหลากหลายรูปแบบ อาจก่อมลภาวะต่ออากาศ มลภาวะทางเสียง ต่อแม่น้ำลำคลอง ต่อน้ำฝน ต่อน้ำผิวดิน เป็นต้น เช่นธุรกิจสารเคมีอาจก่อพิษภัยทั้งในลักษณะพิษที่เกิดทันทีอย่างเฉียบพลัน หรือค่อยๆ สะสมพิษร้ายทีละน้อยๆ เกิดผลกระทบแบบเรื้อรัง หรือตายผ่อนส่ง ธุรกิจที่ก่อผลร้ายเช่นนี้ต้องมีวิธีป้องกัน ไม่ให้เกิดผลร้ายอย่างได้ผล จึงจะถือว่ารับผิดชอบต่อสังคม 2. ด้านการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ธุรกิจอาจแย่งใช้น้ำจากแหล่งน้ำเดียวกันกับชุมชน อาจใช้ทรัพยากรธรรมชาติชนิดที่ใช้แล้วหมด ธุรกิจจะต้องแสดงความรับผิดชอบต่อชุมชนโดยรอบ และต่อสังคมในภาพรวม ที่จะไม่ก่อปัญหาแบบไร้ความรับผิดชอบ 3. ด้านความเป็นธรรมต่อเพื่อนมนุษย์ - การจ่ายค่าแรง ค่าจ้าง ค่าชดเชย ค่าดูแลสุขภาพ อย่างเป็นธรรม การจัดสถานที่ทำงานให้เป็น healthy workplace และ happy workplace การจัดให้เป็น learning organization 4. ด้านจิตวิญญาณของผู้คน - ธุรกิจที่มุงผลกำไรสูง มองความสำเร็จที่ผลกำไร มองความสามารถคู่กับผลได้ทางวัตถุ และเงินเดือน มีแนวโน้มที่จะสร้างวัฒนธรรมวัตถุนิยมสุดขั้ว เพิ่มพูนความโลภ หย่อนด้านจิตวิญญาณ หย่อนด้านความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ 5. ด้านความรับผิดชอบในการประกอบธุรกิจ - ทั้งในด้านความซื่อสัตย์สุจริต และรักษาผลประโยชน์ตามหลัก BSC - Balanced Score Card คือต่อผู้ถือหุ้น ต่อลูกค้าหรือคู่ค้า ต่อพนักงาน และต่อสังคมวงกว้าง 6. สำคัญที่จิตสำนึก ที่แสดงออกทางการปฏิบัติ และมีคำอธิบาย กลยุทธ์ 4 “E • คือ การศึกษา หรือ Education • สิ่งแวดล้อม หรือ Environment • การอนุรักษ์พลังงาน หรือ Energy Conservation • การส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมเพื่อสังคม หรือ Employee Engagement

นายกิตติพงศ์ ตันตินราศักดิ์ เลขที่ 3 ห้อง กจ.2

<!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-2130706429 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"Cordia New"; panose-1:2 11 3 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-2130706429 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"Cambria Math"; panose-1:2 4 5 3 5 4 6 3 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1610611985 1107304683 0 0 159 0;} @font-face {font-family:Calibri; panose-1:2 15 5 2 2 2 4 3 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1610611985 1073750139 0 0 159 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-unhide:no; mso-style-qformat:yes; mso-style-parent:""; margin-top:0cm; margin-right:0cm; margin-bottom:10.0pt; margin-left:0cm; line-%; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:Calibri; mso-fareast-theme-font:minor-latin; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin; mso-bidi-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-theme-font:minor-bidi;} p.MsoListParagraph, li.MsoListParagraph, div.MsoListParagraph {mso-style-priority:34; mso-style-unhide:no; mso-style-qformat:yes; margin-top:0cm; margin-right:0cm; margin-bottom:10.0pt; margin-left:36.0pt; mso-add-space:auto; line-%; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:Calibri; mso-fareast-theme-font:minor-latin; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin; mso-bidi-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-theme-font:minor-bidi;} p.MsoListParagraphCxSpFirst, li.MsoListParagraphCxSpFirst, div.MsoListParagraphCxSpFirst {mso-style-priority:34; mso-style-unhide:no; mso-style-qformat:yes; mso-style-type:export-only; margin-top:0cm; margin-right:0cm; margin-bottom:0cm; margin-left:36.0pt; margin-bottom:.0001pt; mso-add-space:auto; line-%; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:Calibri; mso-fareast-theme-font:minor-latin; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin; mso-bidi-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-theme-font:minor-bidi;} p.MsoListParagraphCxSpMiddle, li.MsoListParagraphCxSpMiddle, div.MsoListParagraphCxSpMiddle {mso-style-priority:34; mso-style-unhide:no; mso-style-qformat:yes; mso-style-type:export-only; margin-top:0cm; margin-right:0cm; margin-bottom:0cm; margin-left:36.0pt; margin-bottom:.0001pt; mso-add-space:auto; line-%; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:Calibri; mso-fareast-theme-font:minor-latin; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin; mso-bidi-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-theme-font:minor-bidi;} p.MsoListParagraphCxSpLast, li.MsoListParagraphCxSpLast, div.MsoListParagraphCxSpLast {mso-style-priority:34; mso-style-unhide:no; mso-style-qformat:yes; mso-style-type:export-only; margin-top:0cm; margin-right:0cm; margin-bottom:10.0pt; margin-left:36.0pt; mso-add-space:auto; line-%; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:Calibri; mso-fareast-theme-font:minor-latin; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin; mso-bidi-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-theme-font:minor-bidi;} .MsoChpDefault {mso-style-type:export-only; mso-default-props:yes; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:Calibri; mso-fareast-theme-font:minor-latin; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin; mso-bidi-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-theme-font:minor-bidi;} .MsoPapDefault {mso-style-type:export-only; margin-bottom:10.0pt; line-%;} @page Section1 {size:595.3pt 841.9pt; margin:72.0pt 72.0pt 72.0pt 72.0pt; mso-header-margin:35.4pt; mso-footer-margin:35.4pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} /* List Definitions */ @list l0 {mso-list-id:744306321; mso-list-type:hybrid; mso-list-template-ids:1618882230 67698703 67698713 67698715 67698703 67698713 67698715 67698703 67698713 67698715;} @list l0:level1 {mso-level-tab-stop:none; mso-level-number-position:left; text-indent:-18.0pt;} ol {margin-bottom:0cm;} ul {margin-bottom:0cm;} -->

บทที่ 8

จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

จริยธรรมทางธุรกิจหมายความว่า  การปฏิบัติซึ่งเป็นการยอมรับและยึดมั่นในวงการธุรกิจ เป็นข้อกำหนดที่ไม่ขัดต่อกฎหมายและเป็นสิ่งที่บุคคลใดๆก็ยอมรับนับถือ โดยมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมนโยบายและการปฏิบัติของภาคธุรกิจในการสร้างความสำเร็จในการประกอบการ มีความรับผิดชอบต่อสังคมและก่อให้เกิดการทุจริต

 

กระบวนการเสริมสร้างจริยธรรม

เป็นการปลูกฝังบรรทัดฐานให้กับตัวบุคคลซึ่งเริ่มได้จากสถาบันแรกซึ่งสำคัญที่สุดก็คือสถาบันครอบครัวซึ่งถือว่าเป็นหน่วยที่อบรมสั่งสอน ดุด่าว่ากล่าว ตักเตือน ขัดเกลาพฤติกรรม บุคลิกภาพ อารมณ์และจิตใจจนทำให้เป็นที่ยอมรับของบุคคลอื่นๆ หากสถานบันปลูกฝังมาอย่างดีก็จะมีผลต่อเด็กทำให้มีการพัฒนาไปในทางที่ดี   เมื่อเด็กเติบโตขึ้นมาก็ได้เข้ามาในสถาบันการศึกษาในหน่วยนี้จะมีอิทธิพลต่อการพัฒนาของเด็กในด้านบุคลิกภาพและความเชื่อถือในด้านคุณธรรมและจริยธรรม  เมื่อเข้ามาในสถาบันแล้วก็จะเกิดกลุ่มเพื่อน  เป็นหน่วยที่มีผลกับตัวเด็กมากเพราะหากคบเพื่อนในทางที่ผิดๆ ไปก็จะส่งผลเสียต่อตัวเด็กทันที เช่นจากเดิม เป็นเด็กเรียบร้อยมีมารยาท แต่เลือกคบเพื่อนผิดก็จะส่งผลในทางตรงกันข้ามต่อตัวเด็กไม่มากก็น้อย  ในด้านสื่อสารมวลชนได้แก่ สื่อจากโทรทัศน์ สื่อจากภาพยนตร์ สื่อจากวิทยุ สื่อจากหนังสือพิมพ์ สิ่งตีพิมพ์ต่างๆ และเทคโนโลยีสมัยใหม่ จะส่งผลในการสร้างค่านิยม ความเชื่อ ทัศนคติ และการเรียนรู้พฤติกรรมลอกเรียนแบบ ไปในทางที่ดี และผิดไปพร้อมๆ กัน  สุดท้ายคือสถานบันทางสังคมและศาสนาหน่วยนี้ก็คือสิ่งที่อยู่รอบๆตัวของเด็กส่งผลต่อการดำรงชีวิต ความใกล้ชิดชุมชน และอบรมสั่งสอนทั้งเด็กและผู้ใหญ่ในด้านคุณธรรมและศีลธรรม

 

ปัญหาจริยธรรมทางธุรกิจ

1.             ผลประโยชน์และความเห็นแก่ตัว ซึ่งเกิดจากความโลภ กิเลส ความหลงมัวเมา ทำให้เกิดความไม่ซื่อสัตย์มองเห็นแต่ประโยชน์ส่วนตัวโดยไม่นึกถึงผลเสียที่มีต่อบุคคลอื่น

2.             จุดมุ่งหมายของธุรกิจกับค่านิยมส่วนบุคคล ต่างคนต่างมีการดำเนินการในวิถีทางที่ต่างแตกกันออกไปและมีข้อขัดแย้งในกลุ่มใหญ่ อาจจะมีอันตรายต่อตัวพนักงาน

3.             แรงกฎดันเพื่อให้ได้มาซึ่งกำไร จากการแข่งขันที่รุนแรงและไร้ขอบเขตอาจเป็นเหตุที่นำพาธุรกิจไปในทางที่ไร้จริยธรรมและผิดกฎหมาย  เพื่อมุ่งลดต้นทุนการผลิตหรือทำอย่างไรก็ได้ให้ได้เปรียบคู่แข่ง  และมีความเชื่อกับคำว่า “ผู้ที่เหนือกว่าย่อมอยู่รอด” ทำให้ผู้บริหารมุ่งแต่เอาชนะคู่แข่งโดยไม่คำนึงถึงจริยธรรมทางธุรกิจ

4.             ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม กิจการดำเนินธุรกิจในสังคมโดยใช้วัฒนธรรมที่แตกต่างกันย่อมเกิดความแตกต่างในมาตรฐานทางจริยธรรม

 

ธุรกิจกับความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR - Corporate Social Responsibility) เป็นเครื่องมือที่โลกตะวันตกคิดขึ้นสำหรับใช้ควบคุมหรือถ่วงดุลลัทธิทุนนิยม สุดขั้ว มุ่งกำไรสูงสุด จนหย่อนด้านคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบต่อสังคม เป็นกลไกควบคุมธุรกิจขนาดใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งธุรกิจข้ามชาติ ให้ต้องประพฤติปฏิบัติในลักษณะที่แสดงความรับผิดชอบต่อสังคมในหลากหลายมิติ

หลักการของธุรกิจกับความรับผิดชอบต่อสังคม จึงอยู่บนฐานความเชื่อว่า ธุรกิจ กับสังคม จะต้องอยู่ร่วมกัน อย่างช่วยเหลือเกื้อกูลเอื้อประโยชน์ซึ่งกันและกัน ช่วยกันลดจุดอ่อนต่อกัน

 

ความรับผิดชอบต่อสังคมของผู้บริหารในยุคโลกาภิวัฒน์

1. ความรับผิดชอบโดยทางเศรษฐกิจ (Economic responsibility)

- การแสวงหากำไรในระดับที่สังคมยอมรับได้ มิฉวยโอกาสจากความทุกข์ของสังคม

- การดำเนินธุรกิจเป็นการแสวงหากำไรสูงสุด Milton Friedman

- ความรับผิดชอบด้านเศรษฐกิจ หาความสมดุลในทางเศรษฐกิจกับ ความทุกข์ของสังคม

2. ความรับผิดตามกฎหมาย (Legal responsibility)

- บริษัทหรือองค์กรนั้น จะต้องปฏิบัติตามบทบัญญัติของกฎหมาย

3. ความรับผิดชอบในด้านจริยธรรม (Ethical responsibility)

- การใช้หลักการทางศีลธรรม จริยธรรมเป็นพื้นฐานในการดำเนินงาน

4. ความรับผิดชอบในการใช้ดุลยพินิจ (Discretionary responsibility)

- มิสร้างความเดือดร้อนให้แก่ตนเอง และผู้อื่น

- การใช้วิจารณญาญที่พื้นฐานมาจากค่านิยม วัฒนธรรม

4 E

Education การศึกษา ดูแลเรื่องทุน

Environment สิ่งแวดล้อม

Energy Conservation การอนุรักษ์พลังงาน

Employee Engagement การส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วมในสังคม

และเมื่อนำทั้ง CSR, 4E และระดับความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจก็จะทำให้เกิดจิตสำนึกในการออกมารับผิดชอบสังคม

 

การแสดงความรับผิดชอบสังคม

                1.ความรับผิดชอบต่อสุขภาพและสวัสดิภาพของบุคคล คือการไม่ผลิต จำหน่าย บริการ และเทคโนโลยีในทางที่ไม่เหมาะสมก่อให้เกิดอันตรายแก่บุคคลโดยทั่วไป

                2.ความรับผิดชอบด้านคุณภาพและบริการ คือการจำหน่ายสินค้าที่มีคุณภาพ คุณลักษณะเป็นไปตามข้อกำหนดมาตรฐาน รับคือหรือเปลี่ยนสินค้าให้ลูกค้าใน กรณีที่สินค้าด้อยคุณภาพ เสีย หรือไม่ตรงตามที่กำหนด

                3.ความรับผิดชอบต่อข้อมูลข่าวสาสร และการศึกษา คือการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารที่จำเป็นแก่บุคคลทั้งภายในและภายนอกขององค์กร บริการให้ความรู้ในด้านสินค้าหรือบริการให้ผู้บริโภคอย่างถูกต้องและครบถ้วน

                4.ความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม คือการไม่ทำผิดกฎหมายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม และควรที่จะคำนึงถึงผลกระทบของการดำเนินกิจการต่อสิ่งแวดล้อมรวมถึงพืช สัตว์ ป่าไม้ ดิน น้ำ อากาศและดำเนินการป้องกันตลอดจนปรับปรุงแก้ไขเมื่อเกิดข้อผิดพลาดก็จะได้แก้ไขได้ทันที

                5.ความรับผิดชอบด้านศาสนาและวัฒนธรรม คือการผลิตสินค้าและให้บริการโดยการคำนึงถึงวัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อ วิถีประชา บรรทัดฐาน ตลอดจนศาสนาสังคม และควรละเว้นการทระทำในสิ่งที่ไม่ดี

                6.ความรับผิดชอบด้านสิทธิมนุษยชน คือการคำนึงถึงสิทธิมนุษยชนของกลุ่มต่างๆ เช่นเด็ก สตรี คนชรา ผู้พิการหรือ ผู้ด้วยโอกาสทางสังคม บุคคลเหล่านี้ควรได้รับสิทธิพื้นฐาน

 

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท