กจ.2 - เรื่อง ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ


กจ.2 - เรื่อง ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ


ความเห็น (38)

ไม่มีความเห็น


คำตอบ (1)

ladda pinta
เขียนเมื่อ
not yet answered


ความเห็น (38)
นางสาวอัมพร กันทะวงค์ ปวส. 2 กจ เลขที่ 28

สุรินทร์ พิศสุวรรณ

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในโควต้าพรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2492 เป็นนักการเมืองชาวไทยมุสลิม เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย

ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ดำรงตำแหน่ง "เลขาธิการอาเซียน" ซึ่งมีวาระ 5 ปี เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2551 โดยจะนั่งทำงานที่กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย นับเป็นคนไทยคนที่สองที่ได้ดำรงตำแหน่งนี้ โดยคนไทยคนแรกคือ แผน วรรณเมธี ได้ขึ้นดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2532-2536

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เกิดที่ จ.นครศรีธรรมราช มีบิดาเป็นครูมุสลิม ศึกษาระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนวัดบ้านตาล ศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราชและ เบญจมราชูทิศ จังหวัดนครศรีธรรมราช เขาสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยแคลร์มอนต์ สหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2515 ปริญญาโท มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2518) และปริญญาเอกด้านรัฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2525) เริ่มอาชีพนักวิชาการในตำแหน่งอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระหว่าง พ.ศ. 2518-2529

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เข้าสู่แวดวงการเมืองในปี พ.ศ. 2529 โดยได้รับเลือกตั้งเป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และได้รับเลือกตั้งเข้ามาในสภาผู้แทนราษฎรติดต่อกัน 7 สมัย เคยเป็นเลขานุการของนายชวน หลีกภัย ขณะที่นายชวนดำรงตำแหน่ง ประธานสภาผู้แทนราษฎร (พ.ศ. 2529-2531) ต่อมาเป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2535-2538 และเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2540-2544 สร้างความประทับใจในระดับนานาชาติเนื่องจากใช้ภาษาอังกฤษได้ดีและมีปัญญาทางการเมือง

ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ ดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียนโดยเข้ารับตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2551 หลังจากที่ได้มีการส่งชื่อไปยังรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนเมื่อปลายเดือน กรกฎาคม 2550 และได้รับการรับรองจากชาติสมาชิกอย่างเป็นทางการในที่ประชุมผู้นำอาเซียน ณ สิงคโปร์ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2550[1]

สรุปการดำรงตำแหน่งทางการเมืองของ ดร.สุรินทร์

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช ปี พ.ศ. 2529, 2531, 2535/1, 2535/2, 2538, 2539, 2544

เลขานุการประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายชวน หลีกภัย) ปี พ.ศ. 2529-2531

ผู้ช่วยเลขานุการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ปี พ.ศ. 2531-2534

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2535-2538

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2540-2544

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) ปี 2538

จาก….http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B9%8C_%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93

นางสาวพรพิมล อินแสง ปวส. 2 กจ เลขที่ 14

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2492 เป็นนักการเมืองชาวไทยมุสลิม เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย

เขาเกิดในครอบครัวยากจนที่ จ.นครศรีธรรมราช มีบิดาเป็นครูมุสลิม ศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่[เบญจมราชูทิศ]] เขาสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยแคลร์มอนต์ สหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2515 ปริญญาโท มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2518) และปริญญาเอกด้านรัฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2525) เริ่มอาชีพนักวิชาการในตำแหน่งอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระหว่าง พ.ศ. 2518-2529

ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ กำลังเตรียมตัวเข้ารับตำแหน่ง "เลขาธิการอาเซียน" ในปี พ.ศ. 2551 ซึ่งจะมีวาระการดำรงตำแหน่ง 5 ปี โดยจะนั่งทำงานที่ กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย นับเป็นคนไทยคนที่สองที่ได้ดำรงตำแหน่งนี้ โดยคนไทยคนแรกคือ แผน วรรณเมธี ได้ขึ้นดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2532-2536

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง CSR และธุรกิจของดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ

"what is relationship with growth, growth, growth and a human capital development? อะไรคือความเชื่อมโยงเข้าด้วยกันระหว่างการเติบโตของเศรษฐกิจและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์"การกล่าวประหนึ่งตั้งคำถามกับแขกที่เข้าร่วมงานสัมมนา ซึ่งได้รับเชิญมาจากอีก 20 ประเทศสมาชิก Asian Productivity Organization

ดร.สุรินทร์-เป็นหนึ่งในวิทยากรที่เข้าร่วมในงานสัมมนาที่กำลังชี้ให้เห็นความสำคัญของการดำเนินธุรกิจภายใต้ปรัชญาของความพอเพียง โดยไม่เพียงแต่ชี้ให้หน่วยงานทั่วไปตระหนักถึงความไม่ประมาทในการพัฒนาเศรษฐกิจโดยไม่คำนึงถึงสิ่งที่จะได้กลับมา

"ชีวิตของคนรวยและคนจนแทบจะไม่ต่างอะไรกันเลย หากต่างก็เดินไปทางเดียวกัน โดยเฉพาะในทิศทางที่ไม่รู้ว่าจะไปทางไหน" ดร.สุรินทร์กล่าว

ภาพยนตร์เรื่องดังอย่าง Hotel Ravanda และ Blood Diamond เป็นตัวอย่างที่ ดร.สุรินทร์ชี้ให้เห็นว่ามนุษย์กำลังเข้าถึงประโยชน์ทุกด้านทั้งธรรมชาติ สังคม และการเมือง โดยลืมที่จะแบ่งปันกลับคืน ขณะที่คนเริ่มตระหนักก็เริ่มมองหาทางเลือกที่จะให้คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นสอดคล้องกับการใช้ทรัพยากรอย่างพอเพียง ส่วน Corporate Social Responsibility (CSR) หรือการรับผิดชอบ ต่อสังคม กลายเป็นสิ่งหนึ่งที่องค์กรขนาดใหญ่ทั่วไปใช้เป็นทางออกเพื่อให้ผู้บริโภคได้เห็นว่า เขามิได้แต่ตักตวงเพียงอย่างเดียว แต่คำนึง ถึงส่วนรวมด้วย CSR เป็นหนึ่งจุดย่อยๆ ที่ ดร.สุรินทร์และวิทยากรบางท่าน ชี้ให้เห็นว่าถึงเวลาแล้วที่องค์กรต้องเห็นความสำคัญของการแบ่งปันและไม่ประมาทที่จะใช้ทรัพยากรเพียงอย่างเดียว โดย ไม่คำนึงถึงผู้คนและสิ่งแวดล้อม และเชื่อได้ว่า CSR เป็นหนึ่งฟันเฟือง เล็กๆ ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนั่นเอง

ที่มา: http://www.gotomanager.com/news/details.aspx?id=67508

นส.อังคณา กันธิมาลา กจ. 2 เลขที่ 26

บริษัทวรธา

ผู้ส่งออก และนำเข้าผลไม้ไทย-ออสเตรเลีย

บริษัทน้องใหม่ ผู้ส่งออก และนำเข้าผลไม้ไทย-ออสเตรเลีย

แม้ว่าจะยังไม่มีการเปิดตัวบริษัทอย่างเป็นทางการ แต่ "วรธา" ได้ทำการตลาดด้วยการส่งการ์ดอวยพรปีใหม่ เพื่อแนะนำตัวและฝากเนื้อฝากตัวกับบรรดา ลูกค้าและสื่อมวลชนให้คุ้นเคยกับชื่อของ "วรธา" ก่อนที่จะมีการเปิดตัวอย่างเป็นทางการในไตรมาสแรกของปีนี้

เป็นการลงทุนร่วมกันระหว่างกลุ่มนักธุรกิจไทยกับออสเตรเลีย เพื่อประกอบธุรกิจนำเข้าผลไม้และถั่วแมคคาดิเมียจากประเทศออสเตรเลีย โดยมีพ.ต.ท.ฉัตรชัย ศิริทรัพย์ รองผู้บังคับการนโยบายและแผนด้านการปราบปรามยาเสพย์ติดของกรมตำรวจ ผู้ใช้เวลาว่างจากงานราชการมารับหน้าที่เป็นกรรมการบริหารของบริษัท นอกจากนั้นยังมี COLIN & CHERYL ROWLEY สองนักธุรกิจชาวออสเตรเลียมาร่วมเป็นหัวเรือใหญ่ในการประกอบธุรกิจนี้อีกด้วย

"เราคิดที่จะทำโครงการนี้มาตั้งแต่เริ่มมีปัญหาทางเศรษฐกิจ ซึ่งตอนนั้นก็ไม่มีใครคิดว่า เหตุการณ์จะทรุดเร็วขนาดนี้ และเราก็นั่งทบทวนและคุยกันว่า มีปัญหาอย่างนี้จะยังคงทำอยู่หรือเปล่า ซึ่งเพื่อนชาวต่างชาติของเรา เขาก็ยังอยากที่จะทำอยู่ เราจึงไม่ระงับโครงการ ขณะนี้เรื่องก็อยู่ในระหว่างการขออนุมัตินำเข้าผลไม้จากองค์การอาหารและยา ซึ่งเราคาดว่าจะเรียบร้อยภายในเดือนนี้ จากนั้นเราก็จะมีการเปิดตัวบริษัทอย่างเป็นทางการต่อไป

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เกิดที่ จ.นครศรีธรรมราช มีบิดาเป็นครูมุสลิม ศึกษาระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนวัดบ้านตาล ศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราชและ เบญจมราชูทิศ จังหวัดนครศรีธรรมราช เขาสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยแคลร์มอนต์ สหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2515 ปริญญาโท มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2518) และปริญญาเอกด้านรัฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2525) เริ่มอาชีพนักวิชาการในตำแหน่งอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระหว่าง พ.ศ. 2518-2529

เข้าสู่แวดวงการเมืองในปี พ.ศ. 2529 โดยได้รับเลือกตั้งเป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และได้รับเลือกตั้งเข้ามาในสภาผู้แทนราษฎรติดต่อกัน 7 สมัย เคยเป็นเลขานุการของนายชวน หลีกภัย ขณะที่นายชวนดำรงตำแหน่ง ประธานสภาผู้แทนราษฎร (พ.ศ. 2529-2531) ต่อมาเป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2535-2538 และเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2540-2544 สร้างความประทับใจในระดับนานาชาติเนื่องจากใช้ภาษาอังกฤษได้ดีและมีปัญญาทางการเมือง

ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ ดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียนโดยเข้ารับตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2551 หลังจากที่ได้มีการส่งชื่อไปยังรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนเมื่อปลายเดือนกรกฎาคม 2550 และได้รับการรับรองจากชาติสมาชิกอย่างเป็นทางการในที่ประชุมผู้นำอาเซียน ณ สิงคโปร์ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2550[1]

นางสาวกาญจนา พูนแสนชัย กจ2 เลขที่ 2

ประวัติดร. สุรินทร์ พิศสุวรรณ

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในโควต้าพรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2492 เป็นนักการเมืองชาวไทยมุสลิม เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย

เขาเกิดในครอบครัวยากจนที่ จ.นครศรีธรรมราช มีบิดาเป็นครูมุสลิม ศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่[เบญจมราชูทิศ]] เขาสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยแคลร์มอนต์ สหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2515 ปริญญาโท มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2518) และปริญญาเอกด้านรัฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (เริ่มอาชีพนักวิชาการในตำแหน่งอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระหว่าง พ.ศ. 2518-2529

ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ กำลังเตรียมตัวเข้ารับตำแหน่ง "เลขาธิการอาเซียน" ในปี พ.ศ. 2551 ซึ่งจะมีวาระการดำรงตำแหน่ง 5 ปี โดยจะนั่งทำงานที่ กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย นับเป็นคนไทยคนที่สองที่ได้ดำรงตำแหน่งนี้ โดยคนไทยคนแรกคือ แผน วรรณเมธี ได้ขึ้นดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2532-2536

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เข้าสู่แวดวงการเมืองในปี พ.ศ. 2529 โดยได้รับเลือกตั้งเป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และได้รับเลือกตั้งเข้ามาในสภาผู้แทนราษฎรติดต่อกัน 7 สมัย เคยเป็นเลขานุการของนายชวน หลีกภัย ขณะที่นายชวนดำรงตำแหน่ง ประธานสภาผู้แทนราษฎร (พ.ศ. 2529-2531) ต่อมาเป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2535-2538 และเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2540-2544 สร้างความประทับใจในระดับนานาชาติเนื่องจากใช้ภาษาอังกฤษได้ดีและมีปัญญาทางการเมือง

สรุปการดำรงตำแหน่งทางการเมืองของ ดร.สุรินทร์

•สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช ปี พ.ศ. 2529, 2531, 2535/1, 2535/2, 2538

•เลขานุการประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายชวน หลีกภัย) ปี พ.ศ. 2529-2531

•ผู้ช่วยเลขานุการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ปี พ.ศ. 2531-2534

•รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2535-2538

•รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2540-2544

ที่มา http://politicalbase.in.th/index.php/

นางสาวกาญจนา พูนแสนชัย การจัดการ 2 เลขที่ 2

นางสาวอนุสรา คำปา กจ.2 เลขที่24

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในโควต้าพรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2492 เป็นนักการเมืองชาวไทยมุสลิม เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย

เขาเกิดในครอบครัวยากจนที่ จ.นครศรีธรรมราช มีบิดาเป็นครูมุสลิม ศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่[เบญจมราชูทิศ]เขาสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยแคลร์มอนต์ สหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2515 ปริญญาโท มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2518) และปริญญาเอกด้านรัฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2525) เริ่มอาชีพนักวิชาการในตำแหน่งอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระหว่าง พ.ศ. 2518-2529 ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ รับตำแหน่ง "เลขาธิการอาเซียน" ในปี พ.ศ. 2551 ซึ่งจะมีวาระการดำรงตำแหน่ง 5 ปี โดยจะนั่งทำงานที่ กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย นับเป็นคนไทยคนที่สองที่ได้ดำรงตำแหน่งนี้ โดยคนไทยคนแรกคือ แผน วรรณเมธี ได้ขึ้นดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2532-2536

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เข้าสู่แวดวงการเมืองในปี พ.ศ. 2529 โดยได้รับเลือกตั้งเป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และได้รับเลือกตั้งเข้ามาในสภาผู้แทนราษฎรติดต่อกัน 7 สมัย เคยเป็นเลขานุการของนายชวน หลีกภัย ขณะที่นายชวนดำรงตำแหน่ง ประธานสภาผู้แทนราษฎร (พ.ศ. 2529-2531) ต่อมาเป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2535-2538 และเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2540-2544 สร้างความประทับใจในระดับนานาชาติเนื่องจากใช้ภาษาอังกฤษได้ดีและมีปัญญาทางการเมือง ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ ดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียนโดยเข้ารับตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2551

ประสบการณ์ทางการเมือง

• สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช ปี พ.ศ. 2529, 2531, 2535/1, 2535/2, 2538, 2539, 2544

• เลขานุการประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายชวน หลีกภัย) ปี พ.ศ. 2529-2531

• ผู้ช่วยเลขานุการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ปี พ.ศ. 2531-2534

• รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2535-2538

• รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2540-2544

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

• มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) ปี 2538

ใน ช่วงต้นที่เข้ารับตำแหน่ง ดร.สุรินทร์ ในช่วงต้นที่เข้ารับตำแหน่ง ดร.สุรินทร์ เคยให้สัมภาษณ์เกี่ยวกับแนวทางการทำงานของตนเองในฐานะเลขาธิการอาเซียน ไว้อย่างน่าสนใจว่า จะผลักดันให้ประชากรอาเซียนที่มีจำนวนมากกว่า 550 ล้านคน มีความรู้สึกร่วมกันเป็น ‘เจ้าของอาเซียน’ ซึ่ง สามารถทำได้โดยการทำให้ประชาชนในประเทศสมาชิกอาเซียนตระหนักถึงประโยชน์ใน ชีวิตประจำวันที่ตนเองได้รับจากกรอบความร่วมมือต่างๆของอาเซียน อาทิ การซื้อข้าวของเครื่องใช้ได้ในราคาที่ถูกลง ซึ่งเป็นผลจากการดำเนินงานของเขตการค้าเสรีอาเซียนในฐานะที่ไทยกำลังดำรงตำแหน่งประธานอาเซียน พวกเราก็ขอเป็นกำลังใจให้ ดร.สุรินทร์ บุคลากรที่มีคุณภาพของไทยอีกหนึ่งคน ให้สามารถทำงานของท่านจนบรรลุเป้าหมาย

ที่มา

http://kc.hri.tu.ac.th/index.php?title

นส.อังคณา กันธิมาลา กจ. 2 เลขที่ 26

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เกิดที่ จ.นครศรีธรรมราช มีบิดาเป็นครูมุสลิม ศึกษาระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนวัดบ้านตาล ศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราชและ เบญจมราชูทิศ จังหวัดนครศรีธรรมราช เขาสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยแคลร์มอนต์ สหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2515 ปริญญาโท มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2518) และปริญญาเอกด้านรัฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2525) เริ่มอาชีพนักวิชาการในตำแหน่งอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระหว่าง พ.ศ. 2518-2529

เข้าสู่แวดวงการเมืองในปี พ.ศ. 2529 โดยได้รับเลือกตั้งเป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และได้รับเลือกตั้งเข้ามาในสภาผู้แทนราษฎรติดต่อกัน 7 สมัย เคยเป็นเลขานุการของนายชวน หลีกภัย ขณะที่นายชวนดำรงตำแหน่ง ประธานสภาผู้แทนราษฎร (พ.ศ. 2529-2531) ต่อมาเป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2535-2538 และเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2540-2544 สร้างความประทับใจในระดับนานาชาติเนื่องจากใช้ภาษาอังกฤษได้ดีและมีปัญญาทางการเมือง

ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ ดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียนโดยเข้ารับตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2551 หลังจากที่ได้มีการส่งชื่อไปยังรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนเมื่อปลายเดือนกรกฎาคม 2550 และได้รับการรับรองจากชาติสมาชิกอย่างเป็นทางการในที่ประชุมผู้นำอาเซียน ณ สิงคโปร์ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2550[1]

การดำรงตำแหน่งทางการเมืองของ ดร.สุรินทร์

- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช ปี พ.ศ. 2529, 2531, 2535/1, 2535/2, 2538, 2539, 2544

- เลขานุการประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายชวน หลีกภัย) ปี พ.ศ. 2529-2531

- ผู้ช่วยเลขานุการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ปี พ.ศ. 2531-2534

- รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2535-2538

- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2540-2544

นายกิตติพงศ์ ตันตินราศักดิ์ ห้อง กจ.2 เลขที่ 3

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในโควต้าพรรคประชาธิปัตย์ เป็นนักการเมืองชาวไทยมุสลิม เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ดำรงตำแหน่ง "เลขาธิการอาเซียน" ซึ่งมีวาระ 5 ปี เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2551 โดยจะนั่งทำงานที่กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย นับเป็นคนไทยคนที่สองที่ได้ดำรงตำแหน่งนี้ โดยคนไทยคนแรกคือ นายแผน วรรณเมธี ได้ขึ้นดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2532-2536

 

ประวัติ

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เกิดวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2492 ที่ จ.นครศรีธรรมราช มีบิดาเป็นครูมุสลิม ศึกษาระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนวัดบ้านตาล ศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราชและ เบญจมราชูทิศ จังหวัดนครศรีธรรมราช เขาสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยแคลร์มอนต์ สหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2515 ปริญญาโท มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2518) และปริญญาเอกด้านรัฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2525) เริ่มอาชีพนักวิชาการในตำแหน่งอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระหว่าง พ.ศ. 2518-2529

 

การเมือง

            1. ปี พ.ศ. 2529 โดยได้รับเลือกตั้งเป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ได้รับเลือกกันติดต่อ 7 สมัย

            2. เป็นเลขานุการของนายชวน หลีกภัย ขณะที่นายชวนดำรงตำแหน่ง ประธานสภาผู้แทนราษฎร (พ.ศ. 2529-2531)

            3. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2540-2544 สร้างความประทับใจในระดับนานาชาติเนื่องจากใช้ภาษาอังกฤษได้ดีและมีปัญญาทาง การเมือง

 

 

 

 

อ้างอิงจาก http://multi-smart.com/forums/index.php?topic=164.0

นายกิตติพงศ์  ตันตินราศักดิ์ ห้อง กจ.2  เลขที่ 3

 

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) ปี 2538

นางสาววจีกานต์ ศรีธิพิงค์ กจ.2 เลขที่ 18

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในโควต้าพรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2492 เป็นนักการเมืองชาวไทยมุสลิม เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เกิดที่ จ.นครศรีธรรมราช มีบิดาเป็นครูมุสลิม ศึกษาระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนวัดบ้านตาล ศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราชและ เบญจมราชูทิศ จังหวัดนครศรีธรรมราช เขาสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยแคลร์มอนต์ สหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2515 ปริญญาโท มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2518) และปริญญาเอกด้านรัฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2525) เริ่มอาชีพนักวิชาการในตำแหน่งอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระหว่าง พ.ศ. 2518-2529

ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ดำรงตำแหน่ง "เลขาธิการอาเซียน" ซึ่งมีวาระ 5 ปี เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2551 โดยจะนั่งทำงานที่กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย นับเป็นคนไทยคนที่สองที่ได้ดำรงตำแหน่งนี้ โดยคนไทยคนแรกคือ แผน วรรณเมธี ได้ขึ้นดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2532-2536

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เข้าสู่แวดวงการเมืองในปี พ.ศ. 2529 โดยได้รับเลือกตั้งเป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และได้รับเลือกตั้งเข้ามาในสภาผู้แทนราษฎรติดต่อกัน 7 สมัย เคยเป็นเลขานุการของนายชวน หลีกภัย ขณะที่นายชวนดำรงตำแหน่ง ประธานสภาผู้แทนราษฎร (พ.ศ. 2529-2531) ต่อมาเป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2535-2538 และเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2540-2544 สร้างความประทับใจในระดับนานาชาติเนื่องจากใช้ภาษาอังกฤษได้ดีและมีปัญญาทางการเมือง

ประสบการณ์ทางการเมือง

• สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช ปี พ.ศ. 2529, 2531, 2535/1, 2535/2, 2538, 2539, 2544

• เลขานุการประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายชวน หลีกภัย) ปี พ.ศ. 2529-2531

• ผู้ช่วยเลขานุการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ปี พ.ศ. 2531-2534

• รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2535-2538

• รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2540-2544

ที่มา http://politicalbase.in.th/index.php/%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B9%8C_%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93

นักศึกษา กจ 2 รีบส่งงานนะคะ หากใครมีประเด็นอะไรจะคุยสามารถคุยผ่านช่องทางนี้ได้ค่ะ

อ.ลัดดา

 

น.ส. มาลินี เมืองใจมา กจ.2 เลขที่ 16

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในโควต้าพรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2492 เป็นนักการเมืองชาวไทยมุสลิม เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย

ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ดำรงตำแหน่ง "เลขาธิการอาเซียน" ซึ่งมีวาระ 5 ปี เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2551 โดยจะนั่งทำงานที่กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย นับเป็นคนไทยคนที่สองที่ได้ดำรงตำแหน่งนี้ โดยคนไทยคนแรกคือ แผน วรรณเมธี ได้ขึ้นดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2532-2536

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เกิดที่ จ.นครศรีธรรมราช มีบิดาเป็นครูมุสลิม ศึกษาระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนวัดบ้านตาล ศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราชและ เบญจมราชูทิศ จังหวัดนครศรีธรรมราช เขาสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยแคลร์มอนต์ สหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2515 ปริญญาโท มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2518) และปริญญาเอกด้านรัฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2525) เริ่มอาชีพนักวิชาการในตำแหน่งอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระหว่าง พ.ศ. 2518-2529

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เลขาธิการสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN) คนล่าสุด กล่าวในตอนหนึ่งของการปาฐกถาพิเศษ ในหัวข้อ "Global View and Applications of Human Capital Development in Consistent with Sufficiency Economy Philosophy toward Sustainable Enterprises" ระหว่างร่วมงานสัมมนา "Global View and Applications of Sufficiency Economy Philosophy toward Sustainable Enterprises" เมื่อต้นเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมาว่า

"what is relationship with growth, growth, growth and a human capital development? อะไรคือความเชื่อมโยงเข้าด้วยกันระหว่างการเติบโตของเศรษฐกิจและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์"

การกล่าวประหนึ่งตั้งคำถามกับแขกที่เข้าร่วมงานสัมมนา ซึ่งได้รับเชิญมาจากอีก 20 ประเทศสมาชิก Asian Productivity Organization และแขกของสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาตินับร้อยชีวิตต่างก็ต้องขบคิดตามไปด้วย

ดร.สุรินทร์-เป็นหนึ่งในวิทยากรที่เข้าร่วมในงานสัมมนาที่กำลังชี้ให้เห็นความสำคัญของการดำเนินธุรกิจภายใต้ปรัชญาของความพอเพียง โดยไม่เพียงแต่ชี้ให้หน่วยงานทั่วไปตระหนักถึงความไม่ประมาทในการพัฒนาเศรษฐกิจโดยไม่คำนึงถึงสิ่งที่จะได้กลับมา

"ชีวิตของคนรวยและคนจนแทบจะไม่ต่างอะไรกันเลย หากต่างก็เดินไปทางเดียวกัน โดยเฉพาะในทิศทางที่ไม่รู้ว่าจะไปทางไหน" ดร.สุรินทร์กล่าว

ภาพยนตร์เรื่องดังอย่าง Hotel Ravanda และ Blood Diamond เป็นตัวอย่างที่ ดร.สุรินทร์ชี้ให้เห็นว่ามนุษย์กำลังเข้าถึงประโยชน์ทุกด้านทั้งธรรมชาติ สังคม และการเมือง โดยลืมที่จะแบ่งปันกลับคืน ขณะที่คนเริ่มตระหนักก็เริ่มมองหาทางเลือกที่จะให้คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นสอดคล้องกับการใช้ทรัพยากรอย่างพอเพียง ใช้สิ่งแวดล้อมและดำเนินกิจกรรมทุกอย่างแบบแบ่งปันและเป็นพื้นฐาน อย่างหนึ่งที่ชี้ให้เห็นว่าทั้งองค์กรและสังคมจะไม่ยั่งยืน

 

 

 

น.ส. มาลินี เมืองใจมา กจ.2 เลขที่ 16

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในโควต้าพรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2492 เป็นนักการเมืองชาวไทยมุสลิม เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย

ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ดำรงตำแหน่ง "เลขาธิการอาเซียน" ซึ่งมีวาระ 5 ปี เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2551 โดยจะนั่งทำงานที่กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย นับเป็นคนไทยคนที่สองที่ได้ดำรงตำแหน่งนี้ โดยคนไทยคนแรกคือ แผน วรรณเมธี ได้ขึ้นดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2532-2536

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เกิดที่ จ.นครศรีธรรมราช มีบิดาเป็นครูมุสลิม ศึกษาระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนวัดบ้านตาล ศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราชและ เบญจมราชูทิศ จังหวัดนครศรีธรรมราช เขาสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยแคลร์มอนต์ สหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2515 ปริญญาโท มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2518) และปริญญาเอกด้านรัฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2525) เริ่มอาชีพนักวิชาการในตำแหน่งอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระหว่าง พ.ศ. 2518-2529

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เลขาธิการสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN) คนล่าสุด กล่าวในตอนหนึ่งของการปาฐกถาพิเศษ ในหัวข้อ "Global View and Applications of Human Capital Development in Consistent with Sufficiency Economy Philosophy toward Sustainable Enterprises" ระหว่างร่วมงานสัมมนา "Global View and Applications of Sufficiency Economy Philosophy toward Sustainable Enterprises" เมื่อต้นเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมาว่า

"what is relationship with growth, growth, growth and a human capital development? อะไรคือความเชื่อมโยงเข้าด้วยกันระหว่างการเติบโตของเศรษฐกิจและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์"

การกล่าวประหนึ่งตั้งคำถามกับแขกที่เข้าร่วมงานสัมมนา ซึ่งได้รับเชิญมาจากอีก 20 ประเทศสมาชิก Asian Productivity Organization และแขกของสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาตินับร้อยชีวิตต่างก็ต้องขบคิดตามไปด้วย

ดร.สุรินทร์-เป็นหนึ่งในวิทยากรที่เข้าร่วมในงานสัมมนาที่กำลังชี้ให้เห็นความสำคัญของการดำเนินธุรกิจภายใต้ปรัชญาของความพอเพียง โดยไม่เพียงแต่ชี้ให้หน่วยงานทั่วไปตระหนักถึงความไม่ประมาทในการพัฒนาเศรษฐกิจโดยไม่คำนึงถึงสิ่งที่จะได้กลับมา

"ชีวิตของคนรวยและคนจนแทบจะไม่ต่างอะไรกันเลย หากต่างก็เดินไปทางเดียวกัน โดยเฉพาะในทิศทางที่ไม่รู้ว่าจะไปทางไหน" ดร.สุรินทร์กล่าว

ภาพยนตร์เรื่องดังอย่าง Hotel Ravanda และ Blood Diamond เป็นตัวอย่างที่ ดร.สุรินทร์ชี้ให้เห็นว่ามนุษย์กำลังเข้าถึงประโยชน์ทุกด้านทั้งธรรมชาติ สังคม และการเมือง โดยลืมที่จะแบ่งปันกลับคืน ขณะที่คนเริ่มตระหนักก็เริ่มมองหาทางเลือกที่จะให้คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นสอดคล้องกับการใช้ทรัพยากรอย่างพอเพียง ใช้สิ่งแวดล้อมและดำเนินกิจกรรมทุกอย่างแบบแบ่งปันและเป็นพื้นฐาน อย่างหนึ่งที่ชี้ให้เห็นว่าทั้งองค์กรและสังคมจะไม่ยั่งยืน

ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B9%8C_%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93

http://www.gotomanager.com/news/details.aspx?id=67508

นางสาวจินตนา เรือนงาม กจ.2 ปวส.เช้า เลขที่5

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ

เกิดวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2492

ปัจจุบัน ดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียน

ประวัติ                                                                            ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เกิดที่ จ.นครศรีธรรมราช มีบิดาเป็นครูมุสลิม ศึกษาระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนวัดบ้านตาล ศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราชและ เบญจมราชูทิศ จังหวัดนครศรีธรรมราช เขาสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยแคลร์มอนต์ สหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2515 ปริญญาโท มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2518) และปริญญาเอกด้านรัฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2525) เริ่มอาชีพนักวิชาการในตำแหน่งอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระหว่าง พ.ศ. 2518-2529                                                      

การเมือง                                                                         ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เข้าสู่แวดวงการเมืองในปี พ.ศ. 2529 โดยได้รับเลือกตั้งเป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และได้รับเลือกตั้งเข้ามาในสภาผู้แทนราษฎรติดต่อกัน 7 สมัย เคยเป็นเลขานุการของนายชวน หลีกภัย ขณะที่นายชวนดำรงตำแหน่ง ประธานสภาผู้แทนราษฎร (พ.ศ. 2529-2531) ต่อมาเป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2535-2538 และเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2540-2544 สร้างความประทับใจในระดับนานาชาติเนื่องจากใช้ภาษาอังกฤษได้ดีและมีปัญญาทางการเมือง ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ ดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียนโดยเข้ารับตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2551 หลังจากที่ได้มีการส่งชื่อไปยังรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนเมื่อปลายเดือนกรกฎาคม 2550 และได้รับการรับรองจากชาติสมาชิกอย่างเป็นทางการในที่ประชุมผู้นำอาเซียน ณ สิงคโปร์ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2550 สรุปการดำรงตำแหน่งทางการเมืองของ ดร.สุรินทร์ • สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช ปี พ.ศ. 2529, 2531, 2535/1, 2535/2, 2538, 2539, 2544 • เลขานุการประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายชวน หลีกภัย) ปี พ.ศ. 2529-2531 • ผู้ช่วยเลขานุการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ปี พ.ศ. 2531-2534 • รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2535-2538 • รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2540-2544

 

ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki

 

โดยนางสาวจินตนา เรือนงาม  กจ. 2 เลขที่ 5

 

 

นางสาวสาวิตรี มลเทียร กจ.2 เลขที่ 20

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในโควต้าพรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2492 เป็นนักการเมืองชาวไทยมุสลิม เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย

ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ดำรงตำแหน่ง "เลขาธิการอาเซียน" ซึ่งมีวาระ 5 ปี เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2551 โดยจะนั่งทำงานที่กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย นับเป็นคนไทยคนที่สองที่ได้ดำรงตำแหน่งนี้ โดยคนไทยคนแรกคือ แผน วรรณเมธี ได้ขึ้นดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2532-2536

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เกิดที่ จ.นครศรีธรรมราช มีบิดาเป็นครูมุสลิม ศึกษาระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนวัดบ้านตาล ศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราชและ เบญจมราชูทิศ จังหวัดนครศรีธรรมราช เขาสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยแคลร์มอนต์ สหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2515 ปริญญาโท มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2518) และปริญญาเอกด้านรัฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2525) เริ่มอาชีพนักวิชาการในตำแหน่งอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระหว่าง พ.ศ. 2518-2529

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เข้าสู่แวดวงการเมืองในปี พ.ศ. 2529 โดยได้รับเลือกตั้งเป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และได้รับเลือกตั้งเข้ามาในสภาผู้แทนราษฎรติดต่อกัน 7 สมัย เคยเป็นเลขานุการของนายชวน หลีกภัย ขณะที่นายชวนดำรงตำแหน่ง ประธานสภาผู้แทนราษฎร (พ.ศ. 2529-2531) ต่อมาเป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2535-2538 และเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2540-2544 สร้างความประทับใจในระดับนานาชาติเนื่องจากใช้ภาษาอังกฤษได้ดีและมีปัญญาทางการเมือง

ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ ดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียนโดยเข้ารับตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2551 หลังจากที่ได้มีการส่งชื่อไปยังรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนเมื่อปลายเดือนกรกฎาคม 2550 และได้รับการรับรองจากชาติสมาชิกอย่างเป็นทางการในที่ประชุมผู้นำอาเซียน ณ สิงคโปร์ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2550[1]

สรุปการดำรงตำแหน่งทางการเมืองของ ดร.สุรินทร์

• สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช ปี พ.ศ. 2529, 2531, 2535/1, 2535/2, 2538, 2539, 2544

• เลขานุการประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายชวน หลีกภัย) ปี พ.ศ. 2529-2531

• ผู้ช่วยเลขานุการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ปี พ.ศ. 2531-2534

• รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2535-2538

• รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2540-2544

ที่มา http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B9%8C_%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93

นางสาวสุพิชญา ต๊ะนันนกลาง กจ.2 เลขที่ 22 (51591251024-2)

ดร. สุรินทร์ พิศสุวรรณ

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในโควต้าพรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2492 เป็นนักการเมืองชาวไทยมุสลิม เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย

เขาเกิดในครอบครัวยากจนที่ จ.นครศรีธรรมราช มีบิดาเป็นครูมุสลิม ศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่[เบญจมราชูทิศ]] เขาสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยแคลร์มอนต์ สหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2515 ปริญญาโท มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2518) และปริญญาเอกด้านรัฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2525) เริ่มอาชีพนักวิชาการในตำแหน่งอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระหว่าง พ.ศ. 2518-2529

ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ กำลังเตรียมตัวเข้ารับตำแหน่ง "เลขาธิการอาเซียน" ในปี พ.ศ. 2551 ซึ่งจะมีวาระการดำรงตำแหน่ง 5 ปี โดยจะนั่งทำงานที่ กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย นับเป็นคนไทยคนที่สองที่ได้ดำรงตำแหน่งนี้ โดยคนไทยคนแรกคือ แผน วรรณเมธี ได้ขึ้นดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2532-2536

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เข้าสู่แวดวงการเมืองในปี พ.ศ. 2529 โดยได้รับเลือกตั้งเป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และได้รับเลือกตั้งเข้ามาในสภาผู้แทนราษฎรติดต่อกัน 7 สมัย เคยเป็นเลขานุการของนายชวน หลีกภัย ขณะที่นายชวนดำรงตำแหน่ง ประธานสภาผู้แทนราษฎร (พ.ศ. 2529-2531) ต่อมาเป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2535-2538 และเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2540-2544 สร้างความประทับใจในระดับนานาชาติเนื่องจากใช้ภาษาอังกฤษได้ดีและมีปัญญาทางการเมือง

ขณะนี้ ดร.สุรินทร์ เป็นตัวแทนจากประเทศไทยที่จะขึ้นดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียนตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2551 โดยจะมีการส่งชื่อไปยัง รัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน ในปลายเดือนกรกฎาคม 2550 และจะมีการรับรองจากชาติสมาชิกอย่างเป็นทางการ ในการประชุมผู้นำอาเซียนที่สิงคโปร์ในเดือนพฤศจิกายน 2550

ที่มา: www.policalbase.in.th

นางสาวอรพรรณ มะโนจิตต์ กจ.2 เลขที่25

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เกิดวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2492 เป็นนักการเมืองชาวไทยมุสลิม เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ดำรงตำแหน่ง "เลขาธิการอาเซียน" ซึ่งมีวาระ 5 ปี เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2551 โดยจะนั่งทำงานที่กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย นับเป็นคนไทยคนที่สองที่ได้ดำรงตำแหน่งนี้

ประวัติ

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เกิดที่ จ.นครศรีธรรมราช มีบิดาเป็นครูมุสลิม  เขาสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยแคลร์มอนต์ สหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2515 ปริญญาโท มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2518) และปริญญาเอกด้านรัฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2525) เริ่มอาชีพนักวิชาการในตำแหน่งอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระหว่าง พ.ศ. 2518-2529

การเมือง

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เข้าสู่แวดวงการเมืองในปี พ.ศ. 2529 ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ ดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียนโดยเข้ารับตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2551

สรุปการดำรงตำแหน่งทางการเมืองของ ดร.สุรินทร์

  • สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช ปี พ.ศ. 2529, 2531, 2535/1, 2535/2, 2538, 2539, 2544
  • เลขานุการประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายชวน หลีกภัย) ปี พ.ศ. 2529-2531
  • ผู้ช่วยเลขานุการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ปี พ.ศ. 2531-2534
  • รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2535-2538
  • รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2540-2544

 

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มอบปริญญารัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ แก่ 
        ดร.สุรินทร์  พิศสุวรรณ  เลขาธิการอาเซียน  รัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ในฐานะผู้มีความสามารถในการเจรจาทำความตกลง และมีความสามารถในการบรรยายได้อย่างดีทั้งการใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เคยสร้างความประทับใจในการปราศรัยต่อที่ประชุมนานาชาติทั้งในระดับอาเซียน และ สหประชาชาติ

ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B9%8C_%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93

http://www.mybantan.org/forum/index.php?topic=332.0

 

นางสาวอังคณา ธนวัฒน์โชติกุล กจ.2 เลขที่ 27

ประวัติ

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เกิดที่ จ.นครศรีธรรมราช มีบิดาเป็นครูมุสลิม ศึกษาระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนวัดบ้านตาล ศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราชและ เบญจมราชูทิศ จังหวัดนครศรีธรรมราช เขาสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยแคลร์มอนต์ สหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2515 ปริญญาโท มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2518) และปริญญาเอกด้านรัฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2525) เริ่มอาชีพนักวิชาการในตำแหน่งอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระหว่าง พ.ศ. 2518- 2529

การเมือง

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เข้าสู่แวดวงการเมืองในปี พ.ศ. 2529 โดยได้รับเลือกตั้งเป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และได้รับเลือกตั้งเข้ามาในสภาผู้แทนราษฎรติดต่อกัน 7 สมัย เคยเป็นเลขานุการของนายชวน หลีกภัย ขณะที่นายชวนดำรงตำแหน่ง ประธานสภาผู้แทนราษฎร (พ.ศ. 2529-2531) ต่อมาเป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2535-2538 และเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2540-2544 สร้างความประทับใจในระดับนานาชาติเนื่องจากใช้ภาษาอังกฤษได้ดีและมีปัญญาทางการเมือง

ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ ดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียนโดยเข้ารับตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2551 หลังจากที่ได้มีการส่งชื่อไปยังรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนเมื่อปลายเดือน กรกฎาคม 2550 และได้รับการรับรองจากชาติสมาชิกอย่างเป็นทางการในที่ประชุมผู้นำอาเซียน ณ สิงคโปร์ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2550

สรุปการดำรงตำแหน่งทางการเมืองของ ดร.สุรินทร์

* สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช ปี พ.ศ. 2529, 2531, 2535/1, 2535/2, 2538, 2539, 2544

* เลขานุการประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายชวน หลีกภัย) ปี พ.ศ. 2529-2531

* ผู้ช่วยเลขานุการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ปี พ.ศ. 2531-2534

* รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2535-2538

* รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2540-2544

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) ปี 2538

ที่มา http://multi-smart.com/forums/index.php?topic=164.0

http://kc.hri.tu.ac.th/index.php?title=%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B9%8C_%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93

นายกฤษณะ ณ มา เลขที่ 1 กจ 2

ประวัติ

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในโควต้าพรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2492 เป็นนักการเมืองชาวไทยมุสลิม เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย

ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ดำรงตำแหน่ง "เลขาธิการอาเซียน" ซึ่งมีวาระ 5 ปี เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2551 โดยจะนั่งทำงานที่กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย นับเป็นคนไทยคนที่สองที่ได้ดำรงตำแหน่งนี้ โดยคนไทยคนแรกคือ แผน วรรณเมธี ได้ขึ้นดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2532-2536

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เกิดที่ จ.นครศรีธรรมราช มีบิดาเป็นครูมุสลิม ศึกษาระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนวัดบ้านตาล ศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราชและ เบญจมราชูทิศ จังหวัดนครศรีธรรมราช เขาสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยแคลร์มอนต์ สหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2515 ปริญญาโท มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2518) และปริญญาเอกด้านรัฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2525) เริ่มอาชีพนักวิชาการในตำแหน่งอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระหว่าง พ.ศ. 2518-2529

การเมือง

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เข้าสู่แวดวงการเมืองในปี พ.ศ. 2529 โดยได้รับเลือกตั้งเป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และได้รับเลือกตั้งเข้ามาในสภาผู้แทนราษฎรติดต่อกัน 7 สมัย เคยเป็นเลขานุการของนายชวน หลีกภัย ขณะที่นายชวนดำรงตำแหน่ง ประธานสภาผู้แทนราษฎร (พ.ศ. 2529-2531) ต่อมาเป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2535-2538 และเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2540-2544 สร้างความประทับใจในระดับนานาชาติเนื่องจากใช้ภาษาอังกฤษได้ดีและมีปัญญาทางการเมือง

ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ ดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียนโดยเข้ารับตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2551 หลังจากที่ได้มีการส่งชื่อไปยังรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนเมื่อปลายเดือนกรกฎาคม 2550 และได้รับการรับรองจากชาติสมาชิกอย่างเป็นทางการในที่ประชุมผู้นำอาเซียน ณ สิงคโปร์ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2550[1]

สรุปการดำรงตำแหน่งทางการเมืองของ ดร.สุรินทร์

• สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช ปี พ.ศ. 2529, 2531, 2535/1, 2535/2, 2538, 2539, 2544

• เลขานุการประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายชวน หลีกภัย) ปี พ.ศ. 2529-2531

• ผู้ช่วยเลขานุการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ปี พ.ศ. 2531-2534

• รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2535-2538

• รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2540-2544

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

• มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) ปี 2538

สัมภาษณ์พิเศษ ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ

http://www.cbnpress.com/index.php/component/hwdvideoshare/?task=viewvideo&video_id=1899

ที่มา

http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B9%8C_%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93

นางสาวนพมาศ ทิวากรพันธ์ เลขที่ 8 กจ.2

ประวัติ

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในโควต้าพรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2492 เป็นนักการเมืองชาวไทยมุสลิม เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย

ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ดำรงตำแหน่ง "เลขาธิการอาเซียน" ซึ่งมีวาระ 5 ปี เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2551 โดยจะนั่งทำงานที่กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย นับเป็นคนไทยคนที่สองที่ได้ดำรงตำแหน่งนี้ โดยคนไทยคนแรกคือ แผน วรรณเมธี ได้ขึ้นดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2532-2536

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เกิดที่ จ.นครศรีธรรมราช มีบิดาเป็นครูมุสลิม ศึกษาระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนวัดบ้านตาล ศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราชและ เบญจมราชูทิศ จังหวัดนครศรีธรรมราช เขาสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยแคลร์มอนต์ สหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2515 ปริญญาโท มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2518) และปริญญาเอกด้านรัฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2525) เริ่มอาชีพนักวิชาการในตำแหน่งอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระหว่าง พ.ศ. 2518-2529

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เข้าสู่แวดวงการเมืองในปี พ.ศ. 2529 โดยได้รับเลือกตั้งเป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และได้รับเลือกตั้งเข้ามาในสภาผู้แทนราษฎรติดต่อกัน 7 สมัย เคยเป็นเลขานุการของนายชวน หลีกภัย ขณะที่นายชวนดำรงตำแหน่ง ประธานสภาผู้แทนราษฎร (พ.ศ. 2529-2531) ต่อมาเป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2535-2538 และเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2540-2544 สร้างความประทับใจในระดับนานาชาติเนื่องจากใช้ภาษาอังกฤษได้ดีและมีปัญญาทางการเมือง

ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ ดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียนโดยเข้ารับตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2551 หลังจากที่ได้มีการส่งชื่อไปยังรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนเมื่อปลายเดือนกรกฎาคม 2550 และได้รับการรับรองจากชาติสมาชิกอย่างเป็นทางการในที่ประชุมผู้นำอาเซียน ณ สิงคโปร์ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2550

สรุปการดำรงตำแหน่งทางการเมืองของ ดร.สุรินทร์

  • สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช ปี พ.ศ. 2529, 2531, 2535/1, 2535/2, 2538, 2539, 2544
  • เลขานุการประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายชวน หลีกภัย) ปี พ.ศ. 2529-2531
  • ผู้ช่วยเลขานุการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ปี พ.ศ. 2531-2534
  • รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2535-2538
  • รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2540-2544

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

ดร.สุรินทร์ได้รับคำชมเป็นเลขาธิการอาเซียนที่ดีที่สุด

                ผู้สังเกตการณ์หลายคน บอกว่า ถ้าจะมีใครสักคนสามารถทำให้สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ อาเซียน มีประสิทธิภาพมากกว่าเดิม เขาคนนั้นคือ ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ วัย 58 ปี อดีตรัฐมนตรีต่างประเทศและนักวิชาการผู้มีชื่อเสียงของไทย   ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ ได้เปรียบเทียบตำแหน่งเลขาธิการสมาคมอาเซี่ยน ที่เขาเพิ่งเข้ารับตำแหน่งเมื่อวันที่ 1 มกราคม เปรียบได้กับเชียร์ลีดเดอร์ แต่หลายครั้งก็ไม่ต่างจากนักเทศน์ และสไตล์การพูดที่เปิดเผยตรงไปตรงมาของเขา ถูกมองว่า อาจขัดแย้งกับประวัติศาสตร์อันยาวนานถึง 41 ปี ของอาเซี่ยนที่ถูกวิพากษ์วิจารณ์มานานแล้วว่า พูดมากกว่าลงมือทำและไม่สามารถแสดงบทบาทที่มีความหมายต่อภูมิภาคได้เลย

                คาร์ล เธเยอร์ ผู้เชี่ยวชาญเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จากศูนย์การป้องกันประเทศและยุทธศาสตร์ศึกษาของ มหาวิทยาลัยแห่งชาติออสเตรเลีย ให้ความเห็นว่า ดร.สุรินทร์เป็นคนที่เต็มไปด้วยพลังและความคิดสร้างสรรค์ และต้องการทำบางสิ่งบางอย่าง โดยไม่ยอมอยู่นิ่งจนกระทั่งหมดวาระการดำรงตำแหน่งซึ่งเขามั่นใจว่า อาเซี่ยนจะมีความก้าวหน้ามากขึ้นในยุคที่ ดร.สุรินทร์เป็นเลขาธิการ ที่มีวาระการดำรงตำแหน่ง 5 ปี ที่สำนักงานในกรุงจาการ์ต้าของอินโดนีเซีย และเขายังได้อำนาจมากขึ้น ในทำให้อาเซี่ยนมีบทบาทที่โดดเด่นยิ่งขึ้นในเวทีโลก

                เขาได้เดินสายโปรโมตกฎบัตรอาเซียน ซึ่งเป็นเอกสารสำคัญเกี่ยวกับกรอบการทำงานด้านกฎหมายของอาเซี่ยน กำหนดหลักการพื้นฐานและกฎข้อบังคับสำหรับสมาชิก รวมถึงการส่งเสริมด้านสิทธิมนุษชนและประชาธิปไตยของชาติสมาชิกด้วย

                ภายใต้กฎบัตรใหม่ เลขาธิการอาเซียน มีหน้าที่คอยจับตาการทำตามข้อตกลงที่มีการให้สัตยาบรรณของเหล่าสมาชิก และรายงานต่อที่การประชุมสุดยอดประจำปีของอาเซี่ยน และทำหน้าที่เป็นเสมือนหน้าตาของกลุ่มอีกด้วย ซึ่ง 10 ชาติสมาชิกอาเซี่ยน ได้ลงนามรับรองกฎบัตร ในระหว่างการประชุมสุดยอดเมื่อเดือนพฤศจิกายน ปีที่แล้ว ซึ่งแต่ละประเทศจะต้องให้สัตยาบรรณรับรอง ซึ่ง ดร.สุรินทร์ได้มองในด้านดีว่า การให้สัตยาบรรณจะเสร็จสิ้นในภายในสิ้นปีนี้

                นายโรดอลโฟ โซเวอริโน่ อดีตเลขาธิการอาเซี่ยน กล่าวว่า การเป็นคนกระตือรือร้นในการทำงานของ ดร.สุรินทร์ ทำให้เขามีความเหมาะสมอย่างยิ่งต่อสมาคมอาเซี่ยน ในฐานะที่เคยเป็นอดีตรัฐมนตรีต่างประเทศมาก่อน ทำให้เขาสามารถนำความสำเร็จมาสูอาเซียน อย่างที่เลขาธิการคนก่อน ๆ ไม่สามารถทำได้

                ดร.สุรินทร  ได้นิยามรูปแบบการทำงานของเขาว่า "ส่งต่อ และเข้าถึง " และการที่ตำแหน่งเลขาธิการอาเซี่ยน ตกมาถึงเขา ก็เพราะต้องการผู้นำที่สามารถควบคุมสถานการณ์ได้ อีกทั้งสามารถสื่อสารได้อย่างสัมฤทธิ์ผล และอาเซียนมองประสบการณ์ทางการเมืองของเขาเป็นสิ่งที่มีค่า ซึ่งนับตั้งแต่เข้ารับตำแหน่ง เขาได้ช่วยประชาสัมพันธ์ข่าวสารเกี่ยวกับแถลงการณ์และการกิจกรรมอาเซียนซึ่งได้ช่วยสร้างความน่าสนใจให้อาเซียน

                เดฟ แม็ธเธียสัน ที่ปรึกษาเรื่องพม่าของกลุ่มเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิมนุษยชน ฮิวแมน ไรท์ วอทช์ ระบุว่า ดร.สุรินทร์เป็นคนฉลาดมาก เป็นนักการทูตที่ดี และเคยเป็นนักวิชาการชั้นนำของไทยมานานหลายปี

                ในการกล่าวสุนทรพจน์ก่อนหน้านี้ เขาได้อ้างข้อความภาษาอารบิคจากพระคัมภีร์ อัล กุรอ่าน และต่อมาได้อ้างข้อความจากบทกวีของจอห์น ดอนน์ ในยุคศตวรรษที่ 17 ของอังกฤษ แม็ทเธียสัน ยังกล่าวด้วยว่า อาเซี่ยนรับมือกับต้ภัยพิบัติจากพายุไซโคลนนาร์กิส พัดถล่มประเทศเพื่อนบ้านอย่างพม่า ในปีนี้ ได้ดีกว่าที่คาดไว้และคิดว่า เป็นเพราะฝีมือของ ดร.สุรินทร์  

                พม่าที่ปกครองโดยรัฐบาลทหาร ได้ห้ามไม่ให้เจ้าหน้าที่บรรเทาทุกข์ของนานาชาติ เข้าช่วยเหลือประชาชนในพื้นที่ประสบภัยบริเวณสามเหลี่ยมลุ่มแม่น้ำอิระวดี แต่ต่อมารัฐบาลทหารได้ยอมผ่อนปรนความเข้มงวด และขอให้ชาติสมาชิกอาเซี่ยน ช่วยประสานความร่วมมือกับองค์กรบรรเทาทุกข์สากล ซึ่ง ดร.สุรินทร์ได้ยอมรับว่า เป็นงานที่ยากที่สุด และท้าทายสำหรับเขาซึ่งเพิ่งจะรับได้ตำแหน่งเพียงไม่กี่เดือน

                ผู้เชี่ยวชาญอาเซียน ได้ดำเนินการภายใต้ข้อตกลง 3 ฝ่าย กับสหประชาชาติและรัฐบาลทหารพม่า แต่ ดร.สุรินทร์ กล่าวว่า วิกฤติที่เกิดขึ้น ทำให้อาเซี่ยนมีความน่าเชื่อถือมากขึ้นและมีความมั่นใจเพิ่มขึ้น

                ด้านเทรเวอร์ วิลสัน นักวิเคราะห์ที่ได้ทุนจากมหาวิทยาลัยแห่งชาติออสเตรเลีย ให้ความเห็นว่าเลขาธิการอาเซี่ยนคนปัจจุบัน เป็นคนที่มีประสิทธิภาพอย่างยิ่ง ส่วนนายเค. เคซาวาพานี ผู้อำนวยการสถาบันเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา ของสิงคโปร์ ให้ความเห็นว่า ดร.สุรินทร์ เป็นคนที่มีพลัง และสามารถทำงานด้วยวิถีของตนเอง

 

ที่มา                  http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B9%8C_%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93

                http://www.oknation.net/blog/print.php?id=322392

 

 

 

นางสาวปรียาภรณ์ ปวงขัน กจ.2 เลขที่ 13

ประวัติ ดร. สุรินทร์ พิศสุวรรณ

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เกิดที่ จ.นครศรีธรรมราช มีบิดาเป็นครูมุสลิม ศึกษาระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนวัดบ้านตาล ศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราชและ เบญจมราชูทิศ จังหวัดนครศรีธรรมราช เขาสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยแคลร์มอนต์ สหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2515 ปริญญาโท มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2518) และปริญญาเอกด้านรัฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2525) เริ่มอาชีพนักวิชาการในตำแหน่งอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระหว่าง พ.ศ. 2518-2529

การเมือง

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เข้าสู่แวดวงการเมืองในปี พ.ศ. 2529 โดยได้รับเลือกตั้งเป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และได้รับเลือกตั้งเข้ามาในสภาผู้แทนราษฎรติดต่อกัน 7 สมัย เคยเป็นเลขานุการของนายชวน หลีกภัย ขณะที่นายชวนดำรงตำแหน่ง ประธานสภาผู้แทนราษฎร (พ.ศ. 2529-2531) ต่อมาเป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2535-2538 และเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2540-2544 สร้างความประทับใจในระดับนานาชาติเนื่องจากใช้ภาษาอังกฤษได้ดีและมีปัญญาทางการเมือง

ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ ดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียนโดยเข้ารับตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2551 หลังจากที่ได้มีการส่งชื่อไปยังรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนเมื่อปลายเดือนกรกฎาคม 2550 และได้รับการรับรองจากชาติสมาชิกอย่างเป็นทางการในที่ประชุมผู้นำอาเซียน ณ สิงคโปร์ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2550

ดร.สุรินทร์-เป็นหนึ่งในวิทยากรที่เข้าร่วมในงานสัมมนาที่กำลังชี้ให้เห็นความสำคัญของการดำเนินธุรกิจภายใต้ปรัชญาของความพอเพียง โดยไม่เพียงแต่ชี้ให้หน่วยงานทั่วไปตระหนักถึงความไม่ประมาทในการพัฒนาเศรษฐกิจโดยไม่คำนึงถึงสิ่งที่จะได้กลับมา

"ชีวิตของคนรวยและคนจนแทบจะไม่ต่างอะไรกันเลย หากต่างก็เดินไปทางเดียวกัน โดยเฉพาะในทิศทางที่ไม่รู้ว่าจะไปทางไหน" ดร.สุรินทร์กล่าว

CSR เป็นหนึ่งจุดย่อยๆ ที่ ดร.สุรินทร์และวิทยากรบางท่านใน วันงานดังกล่าวชี้ให้เห็นว่าถึงเวลาแล้วที่องค์กรต้องเห็นความสำคัญของการแบ่งปันและไม่ประมาทที่จะใช้ทรัพยากรเพียงอย่างเดียว โดย ไม่คำนึงถึงผู้คนและสิ่งแวดล้อม และเชื่อได้ว่า CSR เป็นหนึ่งฟันเฟือง เล็กๆ ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนั่นเอง

ที่มา:http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B9%8C_%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93

http://www.gotomanager.com/news/details.aspx?id=67508

น.ส.สุมาลี ยศศรัทธา

สุรินทร์ พิศสุวรรณ

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในโควต้าพรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2492 เป็นนักการเมืองชาวไทยมุสลิม เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย

เขาเกิดในครอบครัวยากจนที่ จ.นครศรีธรรมราช มีบิดาเป็นครูมุสลิม ศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่[เบญจมราชูทิศ]] เขาสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยแคลร์มอนต์ สหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2515 ปริญญาโท มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2518) และปริญญาเอกด้านรัฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2525) เริ่มอาชีพนักวิชาการในตำแหน่งอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระหว่าง พ.ศ. 2518-2529

ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ กำลังเตรียมตัวเข้ารับตำแหน่ง "เลขาธิการอาเซียน" ในปี พ.ศ. 2551 ซึ่งจะมีวาระการดำรงตำแหน่ง 5 ปี โดยจะนั่งทำงานที่ กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย นับเป็นคนไทยคนที่สองที่ได้ดำรงตำแหน่งนี้ โดยคนไทยคนแรกคือ แผน วรรณเมธี ได้ขึ้นดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2532-2536

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เข้าสู่แวดวงการเมืองในปี พ.ศ. 2529 โดยได้รับเลือกตั้งเป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และได้รับเลือกตั้งเข้ามาในสภาผู้แทนราษฎรติดต่อกัน 7 สมัย เคยเป็นเลขานุการของนายชวน หลีกภัย ขณะที่นายชวนดำรงตำแหน่ง ประธานสภาผู้แทนราษฎร (พ.ศ. 2529-2531) ต่อมาเป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2535-2538 และเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2540-2544 สร้างความประทับใจในระดับนานาชาติเนื่องจากใช้ภาษาอังกฤษได้ดีและมีปัญญาทางการเมือง

ขณะนี้ ดร.สุรินทร์ เป็นตัวแทนจากประเทศไทยที่จะขึ้นดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียนตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2551 โดยจะมีการส่งชื่อไปยัง รัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน ในปลายเดือนกรกฎาคม 2550 และจะมีการรับรองจากชาติสมาชิกอย่างเป็นทางการ ในการประชุมผู้นำอาเซียนที่สิงคโปร์ในเดือนพฤศจิกายน 2550

ประสบการณ์ทางการเมือง

1.สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช ปี พ.ศ. 2529, 2531, 2535/1, 2535/2, 2538, 2539, 2544

2.เลขานุการประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายชวน หลีกภัย) ปี พ.ศ. 2529-2531

3.ผู้ช่วยเลขานุการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ปี พ.ศ. 2531-2534

4.รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2535-2538

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2540-2544

ที่อยู่ : 57/40 หมู่ 1 ซ.ท่าอิฐ ถ.รัตนาธิเบศร์ ต.ไทรม้า อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000

ที่มา

http://politicalbase.in.th/index.php/%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B9%8C_%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93

น.ส.สิดานันทน์ ใจชุ่ม กจ.2 รหัส 51591251061-4

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เกิดที่ จ.นครศรีธรรมราช มีบิดาเป็นครูมุสลิม ศึกษาระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนวัดบ้านตาล ศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราชและ เบญจมราชูทิศ จังหวัดนครศรีธรรมราช เขาสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยแคลร์มอนต์ สหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2515 ปริญญาโท มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2518) และปริญญาเอกด้านรัฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2525) เริ่มอาชีพนักวิชาการในตำแหน่งอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระหว่าง พ.ศ. 2518-2529

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในโควต้าพรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2492 เป็นนักการเมืองชาวไทยมุสลิม เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย

ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ดำรงตำแหน่ง "เลขาธิการอาเซียน" ซึ่งมีวาระ 5 ปี เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2551 โดยจะนั่งทำงานที่กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย นับเป็นคนไทยคนที่สองที่ได้ดำรงตำแหน่งนี้ โดยคนไทยคนแรกคือ แผน วรรณเมธี ได้ขึ้นดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2532-2536

การเมือง

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เข้าสู่แวดวงการเมืองในปี พ.ศ. 2529 โดยได้รับเลือกตั้งเป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และได้รับเลือกตั้งเข้ามาในสภาผู้แทนราษฎรติดต่อกัน 7 สมัย เคยเป็นเลขานุการของนายชวน หลีกภัย ขณะที่นายชวนดำรงตำแหน่ง ประธานสภาผู้แทนราษฎร (พ.ศ. 2529-2531) ต่อมาเป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2535-2538 และเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2540-2544 สร้างความประทับใจในระดับนานาชาติเนื่องจากใช้ภาษาอังกฤษได้ดีและมีปัญญาทางการเมือง

สรุปการดำรงตำแหน่งทางการเมืองของ ดร.สุรินทร์

•สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช ปี พ.ศ. 2529, 2531, 2535/1, 2535/2, 2538, 2539, 2544

•เลขานุการประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายชวน หลีกภัย) ปี พ.ศ. 2529-2531

•ผู้ช่วยเลขานุการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ปี พ.ศ. 2531-2534

•รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2535-2538

•รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2540-2544

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

•มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) ปี 2538

ที่มา http://th.wikipedia.org/wiki

นายวรปรัชญ์ ไทยกำธร กจ.2 เลขที่.19

ประวัติ

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในโควต้าพรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2492 เป็นนักการเมืองชาวไทยมุสลิม เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย

ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ดำรงตำแหน่ง "เลขาธิการอาเซียน" ซึ่งมีวาระ 5 ปี เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2551 โดยจะนั่งทำงานที่กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย นับเป็นคนไทยคนที่สองที่ได้ดำรงตำแหน่งนี้ โดยคนไทยคนแรกคือ แผน วรรณเมธี ได้ขึ้นดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2532-2536

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เกิดที่ จ.นครศรีธรรมราช มีบิดาเป็นครูมุสลิม ศึกษาระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนวัดบ้านตาล ศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราชและ เบญจมราชูทิศ จังหวัดนครศรีธรรมราช เขาสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยแคลร์มอนต์ สหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2515 ปริญญาโท มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2518) และปริญญาเอกด้านรัฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2525) เริ่มอาชีพนักวิชาการในตำแหน่งอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระหว่าง พ.ศ. 2518-2529

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เข้าสู่แวดวงการเมืองในปี พ.ศ. 2529 โดยได้รับเลือกตั้งเป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และได้รับเลือกตั้งเข้ามาในสภาผู้แทนราษฎรติดต่อกัน 7 สมัย เคยเป็นเลขานุการของนายชวน หลีกภัย ขณะที่นายชวนดำรงตำแหน่ง ประธานสภาผู้แทนราษฎร (พ.ศ. 2529-2531) ต่อมาเป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2535-2538 และเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2540-2544 สร้างความประทับใจในระดับนานาชาติเนื่องจากใช้ภาษาอังกฤษได้ดีและมีปัญญาทางการเมือง

ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ ดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียนโดยเข้ารับตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2551 หลังจากที่ได้มีการส่งชื่อไปยังรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนเมื่อปลายเดือนกรกฎาคม 2550 และได้รับการรับรองจากชาติสมาชิกอย่างเป็นทางการในที่ประชุมผู้นำอาเซียน ณ สิงคโปร์ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2550

สรุปการดำรงตำแหน่งทางการเมืองของ ดร.สุรินทร์

• สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช ปี พ.ศ. 2529, 2531, 2535/1, 2535/2, 2538, 2539, 2544

• เลขานุการประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายชวน หลีกภัย) ปี พ.ศ. 2529-2531

• ผู้ช่วยเลขานุการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ปี พ.ศ. 2531-2534

• รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2535-2538

• รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2540-2544

ที่มา: http://th.wikipedia.org/wiki/

น.ส.ณัฐพร สังฆบุญ กจ.2 เลขที่ 7 รหัส 51591251009-3

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เกิดที่ จ.นครศรีธรรมราช มีบิดาเป็นครูมุสลิม ศึกษาระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนวัดบ้านตาล ศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราชและ เบญจมราชูทิศ จังหวัดนครศรีธรรมราช เขาสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยแคลร์มอนต์ สหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2515 ปริญญาโท มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2518) และปริญญาเอกด้านรัฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2525) เริ่มอาชีพนักวิชาการในตำแหน่งอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระหว่าง พ.ศ. 2518-2529

การเมือง

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เข้าสู่แวดวงการเมืองในปี พ.ศ. 2529 โดยได้รับเลือกตั้งเป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และได้รับเลือกตั้งเข้ามาในสภาผู้แทนราษฎรติดต่อกัน 7 สมัย เคยเป็นเลขานุการของนายชวน หลีกภัย ขณะที่นายชวนดำรงตำแหน่ง ประธานสภาผู้แทนราษฎร (พ.ศ. 2529-2531) ต่อมาเป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2535-2538 และเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2540-2544 สร้างความประทับใจในระดับนานาชาติเนื่องจากใช้ภาษาอังกฤษได้ดีและมีปัญญาทางการเมือง

ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ ดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียนโดยเข้ารับตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2551 หลังจากที่ได้มีการส่งชื่อไปยังรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนเมื่อปลายเดือน กรกฎาคม 2550 และได้รับการรับรองจากชาติสมาชิกอย่างเป็นทางการในที่ประชุมผู้นำอาเซียน ณ สิงคโปร์ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2550

สรุปการดำรงตำแหน่งทางการเมืองของ ดร.สุรินทร์

• สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช ปี พ.ศ. 2529, 2531, 2535/1, 2535/2, 2538, 2539, 2544

• เลขานุการประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายชวน หลีกภัย) ปี พ.ศ. 2529-2531

• ผู้ช่วยเลขานุการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ปี พ.ศ. 2531-2534

• รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2535-2538

• รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2540-2544

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

• มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) ปี 2538

ที่มา http://th.wikipedia.org/wiki

นายเอกชัย ชัยวร กจ.2 เลขที่ 32 รหัส 51591251062-2

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในโควต้าพรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2492 เป็นนักการเมืองชาวไทยมุสลิม เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย                        ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ดำรงตำแหน่ง "เลขาธิการอาเซียน" ซึ่งมีวาระ 5 ปี เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2551 โดยจะนั่งทำงานที่กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย นับเป็นคนไทยคนที่สองที่ได้ดำรงตำแหน่งนี้ โดยคนไทยคนแรกคือ แผน วรรณเมธี ได้ขึ้นดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2532-2536

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เกิดที่ จ.นครศรีธรรมราช มีบิดาเป็นครูมุสลิม ศึกษาระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนวัดบ้านตาล ศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราชและ เบญจมราชูทิศ จังหวัดนครศรีธรรมราช เขาสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยแคลร์มอนต์ สหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2515 ปริญญาโท มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2518) และปริญญาเอกด้านรัฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2525) เริ่มอาชีพนักวิชาการในตำแหน่งอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระหว่าง พ.ศ. 2518-2529

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เข้าสู่แวดวงการเมืองในปี พ.ศ. 2529 โดยได้รับเลือกตั้งเป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และได้รับเลือกตั้งเข้ามาในสภาผู้แทนราษฎรติดต่อกัน 7 สมัย เคยเป็นเลขานุการของนายชวน หลีกภัย ขณะที่นายชวนดำรงตำแหน่ง ประธานสภาผู้แทนราษฎร (พ.ศ. 2529-2531) ต่อมาเป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2535-2538 และเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2540-2544 สร้างความประทับใจในระดับนานาชาติเนื่องจากใช้ภาษาอังกฤษได้ดีและมีปัญญาทางการเมือง

ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ ดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียนโดยเข้ารับตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2551 หลังจากที่ได้มีการส่งชื่อไปยังรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนเมื่อปลายเดือนกรกฎาคม 2550 และได้รับการรับรองจากชาติสมาชิกอย่างเป็นทางการในที่ประชุมผู้นำอาเซียน ณ สิงคโปร์ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2550

สรุปการดำรงตำแหน่งทางการเมืองของ ดร.สุรินทร์

  • สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช ปี พ.ศ. 2529, 2531, 2535/1, 2535/2, 2538, 2539, 2544
  • เลขานุการประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายชวน หลีกภัย) ปี พ.ศ. 2529-2531
  • ผู้ช่วยเลขานุการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ปี พ.ศ. 2531-2534
  • รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2535-2538
  • รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2540-2544
น.ส. วรางคณา เรือนแก้ว กจ. 2 รหัส 51591251059-8

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในโควต้าพรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2492 เป็นนักการเมืองชาวไทยมุสลิม เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย

ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ดำรงตำแหน่ง "เลขาธิการอาเซียน" ซึ่งมีวาระ 5 ปี เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2551 โดยจะนั่งทำงานที่กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย นับเป็นคนไทยคนที่สองที่ได้ดำรงตำแหน่งนี้ โดยคนไทยคนแรกคือ แผน วรรณเมธี ได้ขึ้นดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2532-2536

ประวัติ

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เกิดที่ จ.นครศรีธรรมราช มีบิดาเป็นครูมุสลิม ศึกษาระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนวัดบ้านตาล ศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราชและ เบญจมราชูทิศ จังหวัดนครศรีธรรมราช เขาสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยแคลร์มอนต์ สหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2515 ปริญญาโท มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2518) และปริญญาเอกด้านรัฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2525) เริ่มอาชีพนักวิชาการในตำแหน่งอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระหว่าง พ.ศ. 2518-2529

การเมือง

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เข้าสู่แวดวงการเมืองในปี พ.ศ. 2529 โดยได้รับเลือกตั้งเป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และได้รับเลือกตั้งเข้ามาในสภาผู้แทนราษฎรติดต่อกัน 7 สมัย เคยเป็นเลขานุการของนายชวน หลีกภัย ขณะที่นายชวนดำรงตำแหน่ง ประธานสภาผู้แทนราษฎร (พ.ศ. 2529-2531) ต่อมาเป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2535-2538 และเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2540-2544 สร้างความประทับใจในระดับนานาชาติเนื่องจากใช้ภาษาอังกฤษได้ดีและมีปัญญาทางการเมือง

ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ ดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียนโดยเข้ารับตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2551 หลังจากที่ได้มีการส่งชื่อไปยังรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนเมื่อปลายเดือนกรกฎาคม 2550 และได้รับการรับรองจากชาติสมาชิกอย่างเป็นทางการในที่ประชุมผู้นำอาเซียน ณ สิงคโปร์ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2550[1]

สรุปการดำรงตำแหน่งทางการเมืองของ ดร.สุรินทร์

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช ปี พ.ศ. 2529, 2531, 2535/1, 2535/2, 2538, 2539, 2544

เลขานุการประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายชวน หลีกภัย) ปี พ.ศ. 2529-2531

ผู้ช่วยเลขานุการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ปี พ.ศ. 2531-2534

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2535-2538

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2540-2544

แหล่งที่มา

http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B9%8C_%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93

นส นริสรา เพ็ญสิทธิ์ กจ 2 เลขที่ 9

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในโควต้าพรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2492 เป็นนักการเมืองชาวไทยมุสลิม เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย

เขาเกิดในครอบครัวยากจนที่ จ.นครศรีธรรมราช มีบิดาเป็นครูมุสลิม ศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่[เบญจมราชูทิศ] เขาสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยแคลร์มอนต์ สหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2515 ปริญญาโท มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2518) และปริญญาเอกด้านรัฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2525) เริ่มอาชีพนักวิชาการในตำแหน่งอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระหว่าง พ.ศ. 2518-2529

ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ กำลังเตรียมตัวเข้ารับตำแหน่ง "เลขาธิการอาเซียน" ในปี พ.ศ. 2551 ซึ่งจะมีวาระการดำรงตำแหน่ง 5 ปี โดยจะนั่งทำงานที่ กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย นับเป็นคนไทยคนที่สองที่ได้ดำรงตำแหน่งนี้ โดยคนไทยคนแรกคือ แผน วรรณเมธี ได้ขึ้นดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2532-2536

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เข้าสู่แวดวงการเมืองในปี พ.ศ. 2529 โดยได้รับเลือกตั้งเป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และได้รับเลือกตั้งเข้ามาในสภาผู้แทนราษฎรติดต่อกัน 7 สมัย เคยเป็นเลขานุการของนายชวน หลีกภัย ขณะที่นายชวนดำรงตำแหน่ง ประธานสภาผู้แทนราษฎร (พ.ศ. 2529-2531) ต่อมาเป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2535-2538 และเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2540-2544 สร้างความประทับใจในระดับนานาชาติเนื่องจากใช้ภาษาอังกฤษได้ดีและมีปัญญาทางการเมือง

ขณะนี้ ดร.สุรินทร์ เป็นตัวแทนจากประเทศไทยที่จะขึ้นดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียนตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2551 โดยจะมีการส่งชื่อไปยัง รัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน ในปลายเดือนกรกฎาคม 2550 และจะมีการรับรองจากชาติสมาชิกอย่างเป็นทางการ ในการประชุมผู้นำอาเซียนที่สิงคโปร์ในเดือนพฤศจิกายน 2550

นางสาวนริสรา เพ็ญสิทธิ์ กจ 2 เลขที่ 9

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในโควต้าพรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2492 เป็นนักการเมืองชาวไทยมุสลิม เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย

เขาเกิดในครอบครัวยากจนที่ จ.นครศรีธรรมราช มีบิดาเป็นครูมุสลิม ศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่[เบญจมราชูทิศ] เขาสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยแคลร์มอนต์ สหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2515 ปริญญาโท มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2518) และปริญญาเอกด้านรัฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2525) เริ่มอาชีพนักวิชาการในตำแหน่งอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระหว่าง พ.ศ. 2518-2529

ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ กำลังเตรียมตัวเข้ารับตำแหน่ง "เลขาธิการอาเซียน" ในปี พ.ศ. 2551 ซึ่งจะมีวาระการดำรงตำแหน่ง 5 ปี โดยจะนั่งทำงานที่ กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย นับเป็นคนไทยคนที่สองที่ได้ดำรงตำแหน่งนี้ โดยคนไทยคนแรกคือ แผน วรรณเมธี ได้ขึ้นดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2532-2536

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เข้าสู่แวดวงการเมืองในปี พ.ศ. 2529 โดยได้รับเลือกตั้งเป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และได้รับเลือกตั้งเข้ามาในสภาผู้แทนราษฎรติดต่อกัน 7 สมัย เคยเป็นเลขานุการของนายชวน หลีกภัย ขณะที่นายชวนดำรงตำแหน่ง ประธานสภาผู้แทนราษฎร (พ.ศ. 2529-2531) ต่อมาเป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2535-2538 และเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2540-2544 สร้างความประทับใจในระดับนานาชาติเนื่องจากใช้ภาษาอังกฤษได้ดีและมีปัญญาทางการเมือง

ขณะนี้ ดร.สุรินทร์ เป็นตัวแทนจากประเทศไทยที่จะขึ้นดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียนตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2551 โดยจะมีการส่งชื่อไปยัง รัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน ในปลายเดือนกรกฎาคม 2550 และจะมีการรับรองจากชาติสมาชิกอย่างเป็นทางการ ในการประชุมผู้นำอาเซียนที่สิงคโปร์ในเดือนพฤศจิกายน 2550

ที่มา http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B9%8C_%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93

นางสาวเกวลิน ตินยอด เลขที่ 4 กจ.2

ประวัติของ ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในโควต้าพรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2492 เป็นนักการเมืองชาวไทยมุสลิม เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย

เขาเกิดในครอบครัวยากจนที่ จ.นครศรีธรรมราช มีบิดาเป็นครูมุสลิม ศึกษาระดับมัธยมศึกษา ที่(เบญจมราชูทิศ) เขาสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยแคลร์มอนต์ สหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2515 ปริญญาโท มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2518) และปริญญาเอกด้านรัฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2525) เริ่มอาชีพนักวิชาการในตำแหน่งอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระหว่าง พ.ศ. 2518-2529

ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ ดำรงตำแหน่ง "เลขาธิการอาเซียน" เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2551 ซึ่งจะมีวาระการดำรงตำแหน่ง 5 ปี โดยจะนั่งทำงานที่ กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย นับเป็นคนไทยคนที่สองที่ได้ดำรงตำแหน่งนี้ โดยคนไทยคนแรกคือ แผน วรรณเมธี ได้ขึ้นดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2532-2536

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เข้าสู่แวดวงการเมืองในปี พ.ศ. 2529 โดยได้รับเลือกตั้งเป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และได้รับเลือกตั้งเข้ามาในสภาผู้แทนราษฎรติดต่อกัน 7 สมัย เคยเป็นเลขานุการของนายชวน หลีกภัย ขณะที่นายชวนดำรงตำแหน่ง ประธานสภาผู้แทนราษฎร (พ.ศ. 2529-2531) ต่อมาเป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2535-2538 และเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2540-2544 สร้างความประทับใจในระดับนานาชาติเนื่องจากใช้ภาษาอังกฤษได้ดีและมีปัญญาทางการเมือง

ขณะนี้ ดร.สุรินทร์ เป็นตัวแทนจากประเทศไทยที่จะขึ้นดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียนตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2551 โดยจะมีการส่งชื่อไปยัง รัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน ในปลายเดือนกรกฎาคม 2550 และจะมีการรับรองจากชาติสมาชิกอย่างเป็นทางการ ในการประชุมผู้นำอาเซียนที่สิงคโปร์ในเดือนพฤศจิกายน 2550

ข้อมูลทั่วไป

ที่อยู่ : 57/40 หมู่ 1 ซ.ท่าอิฐ ถ.รัตนาธิเบศร์ ต.ไทรม้า อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000

ประสบการณ์ทางการเมือง

 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช ปี พ.ศ. 2529, 2531, 2535/1, 2535/2, 2538, 2539, 2544

 เลขานุการประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายชวน หลีกภัย) ปี พ.ศ. 2529-2531

 ผู้ช่วยเลขานุการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ปี พ.ศ. 2531-2534

 รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2535-2538

 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2540-2544

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) ปี 2538

ที่มา

http://th.wikipedia.org/wiki

http://multi-smart.com/forums/index.php?topic=164.0

http://politicalbase.in.th/index.php/

นางสาว ปวีณา แสนจิต

 

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในโควต้าพรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2492 เป็นนักการเมืองชาวไทยมุสลิม เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย

ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ดำรงตำแหน่ง "เลขาธิการอาเซียน" ซึ่งมีวาระ 5 ปี เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2551 โดยจะนั่งทำงานที่กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย นับเป็นคนไทยคนที่สองที่ได้ดำรงตำแหน่งนี้ โดยคนไทยคนแรกคือ แผน วรรณเมธี ได้ขึ้นดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2532-2536

ประวัติ

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เกิดที่ จ.นครศรีธรรมราช มีบิดาเป็นครูมุสลิม ศึกษาระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนวัดบ้านตาล ศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราชและ เบญจมราชูทิศ จังหวัดนครศรีธรรมราช เขาสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยแคลร์มอนต์ สหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2515 ปริญญาโท มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2518) และปริญญาเอกด้านรัฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2525) เริ่มอาชีพนักวิชาการในตำแหน่งอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระหว่าง พ.ศ. 2518-2529

 การเมือง

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เข้าสู่แวดวงการเมืองในปี พ.ศ. 2529 โดยได้รับเลือกตั้งเป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และได้รับเลือกตั้งเข้ามาในสภาผู้แทนราษฎรติดต่อกัน 7 สมัย เคยเป็นเลขานุการของนายชวน หลีกภัย ขณะที่นายชวนดำรงตำแหน่ง ประธานสภาผู้แทนราษฎร (พ.ศ. 2529-2531) ต่อมาเป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2535-2538 และเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2540-2544 สร้างความประทับใจในระดับนานาชาติเนื่องจากใช้ภาษาอังกฤษได้ดีและมีปัญญาทางการเมือง

ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ ดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียนโดยเข้ารับตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2551 หลังจากที่ได้มีการส่งชื่อไปยังรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนเมื่อปลายเดือนกรกฎาคม 2550 และได้รับการรับรองจากชาติสมาชิกอย่างเป็นทางการในที่ประชุมผู้นำอาเซียน ณ สิงคโปร์ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2550[1]

สรุปการดำรงตำแหน่งทางการเมืองของ ดร.สุรินทร์

-                   สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช ปี พ.ศ. 2529, 2531, 2535/1, 2535/2, 2538, 2539, 2544

-                   เลขานุการประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายชวน หลีกภัย) ปี พ.ศ. 2529-2531

-                   ผู้ช่วยเลขานุการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ปี พ.ศ. 2531-2534

-                   รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2535-2538

-                   รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2540-2544

 เครื่องราชอิสริยาภรณ์

มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) ปี 2538

 แหล่งที่มา

-                   www.google.com

-                   www.vcharkarn.com/vcafe/133808

-                   www.mybantan.org/forum/index.php?topic=536.0

 

 

 

นางสาว ปวีณา แสนจิต กจ2 เลขที่14

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในโควต้าพรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2492 เป็นนักการเมืองชาวไทยมุสลิม เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย

ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ดำรงตำแหน่ง "เลขาธิการอาเซียน" ซึ่งมีวาระ 5 ปี เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2551 โดยจะนั่งทำงานที่กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย นับเป็นคนไทยคนที่สองที่ได้ดำรงตำแหน่งนี้ โดยคนไทยคนแรกคือ แผน วรรณเมธี ได้ขึ้นดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2532-2536

ประวัติ

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เกิดที่ จ.นครศรีธรรมราช มีบิดาเป็นครูมุสลิม ศึกษาระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนวัดบ้านตาล ศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราชและ เบญจมราชูทิศ จังหวัดนครศรีธรรมราช เขาสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยแคลร์มอนต์ สหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2515 ปริญญาโท มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2518) และปริญญาเอกด้านรัฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2525) เริ่มอาชีพนักวิชาการในตำแหน่งอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระหว่าง พ.ศ. 2518-2529

 การเมือง

 ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เข้าสู่แวดวงการเมืองในปี พ.ศ. 2529 โดยได้รับเลือกตั้งเป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และได้รับเลือกตั้งเข้ามาในสภาผู้แทนราษฎรติดต่อกัน 7 สมัย เคยเป็นเลขานุการของนายชวน หลีกภัย ขณะที่นายชวนดำรงตำแหน่ง ประธานสภาผู้แทนราษฎร (พ.ศ. 2529-2531) ต่อมาเป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2535-2538 และเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2540-2544 สร้างความประทับใจในระดับนานาชาติเนื่องจากใช้ภาษาอังกฤษได้ดีและมีปัญญาทางการเมือง

ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ ดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียนโดยเข้ารับตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2551 หลังจากที่ได้มีการส่งชื่อไปยังรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนเมื่อปลายเดือนกรกฎาคม 2550 และได้รับการรับรองจากชาติสมาชิกอย่างเป็นทางการในที่ประชุมผู้นำอาเซียน ณ สิงคโปร์ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2550[1]

สรุปการดำรงตำแหน่งทางการเมืองของ ดร.สุรินทร์

-                   สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช ปี พ.ศ. 2529, 2531, 2535/1, 2535/2, 2538, 2539, 2544

-                   เลขานุการประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายชวน หลีกภัย) ปี พ.ศ. 2529-2531

-                   ผู้ช่วยเลขานุการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ปี พ.ศ. 2531-2534

-                   รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2535-2538

-                   รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2540-2544

 เครื่องราชอิสริยาภรณ์  มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) ปี 2538

 แหล่งที่มา

-                   www.google.com

-                   www.vcharkarn.com/vcafe/133808

-                   www.mybantan.org/forum/index.php?topic=536.0

 

 

 

 

มงคล แปงแก้ว เลขทึ่ 14 กจ 2

ด.ร. สุรินทร์ พิศสุวรรณ

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในโควต้าพรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2492 เป็นนักการเมืองชาวไทยมุสลิม เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย

ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ดำรงตำแหน่ง "เลขาธิการอาเซียน" ซึ่งมีวาระ 5 ปี เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2551 โดยจะนั่งทำงานที่กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย นับเป็นคนไทยคนที่สองที่ได้ดำรงตำแหน่งนี้ โดยคนไทยคนแรกคือ นายแผน วรรณเมธี ได้ขึ้นดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2532-2536

ประวัติ

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เกิดที่ จ.นครศรีธรรมราช มีบิดาเป็นครูมุสลิม ศึกษาระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนวัดบ้านตาล ศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราชและ เบญจมราชูทิศ จังหวัดนครศรีธรรมราช เขาสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยแคลร์มอนต์ สหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2515 ปริญญาโท มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2518) และปริญญาเอกด้านรัฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2525) เริ่มอาชีพนักวิชาการในตำแหน่งอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระหว่าง พ.ศ. 2518-2529

การเมือง

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เข้าสู่แวดวงการเมืองในปี พ.ศ. 2529 โดยได้รับเลือกตั้งเป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และได้รับเลือกตั้งเข้ามาในสภาผู้แทนราษฎรติดต่อกัน 7 สมัย เคยเป็นเลขานุการของนายชวน หลีกภัย ขณะที่นายชวนดำรงตำแหน่ง ประธานสภาผู้แทนราษฎร (พ.ศ. 2529-2531) ต่อมาเป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2535-2538 และเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2540-2544 สร้างความประทับใจในระดับนานาชาติเนื่องจากใช้ภาษาอังกฤษได้ดีและมีปัญญาทางการเมือง

ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ ดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียนโดยเข้ารับตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2551 หลังจากที่ได้มีการส่งชื่อไปยังรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนเมื่อปลายเดือน กรกฎาคม 2550 และได้รับการรับรองจากชาติสมาชิกอย่างเป็นทางการในที่ประชุมผู้นำอาเซียน ณ สิงคโปร์ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2550[1]

สรุปการดำรงตำแหน่งทางการเมืองของ ดร.สุรินทร์

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช ปี พ.ศ. 2529, 2531, 2535/1, 2535/2, 2538, 2539, 2544 เลขานุการประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายชวน หลีกภัย) ปี พ.ศ. 2529-2531 ผู้ช่วยเลขานุการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ปี พ.ศ. 2531-2534 รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2535-2538 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2540-2544

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) ปี 2538

แหล่งที่มาข้อมูล

http://th.wikipedia.org/wiki/สุรินทร์_พิศสุวรรณ 21 มีนาคม พ.ศ.2552

รับข้อมูลจาก "http://kc.hri.tu.ac.th/index.php?title=%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B9%8C_%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93"

นางสาวนิรมล หล้าขัด กจ.2 เลขที่10 รหัส 51591251012-7

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ

เกิดวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2492 ที่ จ.นครศรีธรรมราช มีบิดาเป็นครูมุสลิม

ประวัติการศึกษา

ระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนวัดบ้านตาล

ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นที่โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราช

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดนครศรีธรรมราช

ระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยแคลร์มอนต์ สหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2515

ระดับปริญญาโท มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด พ.ศ. 2518

ระดับปริญญาเอกด้านรัฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2525)

ประวัติการทำงาน

-เข้าสู่แวดวงการเมืองในปี พ.ศ. 2529 โดยได้รับเลือกตั้งเป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช สังกัดพรรคประชาธิปัตย์

-รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2535-2538 และเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2540-2544

-ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ ดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียนโดยเข้ารับตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2551

นางสาวศรัญญา ตาคำไชย กจ.2 เลขที่ 29รหัส 51591251060-6

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เกิดที่ จ.นครศรีธรรมราช มีบิดาเป็นครูมุสลิม ศึกษาระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนวัดบ้านตาล ศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราชและ เบญจมราชูทิศ จังหวัดนครศรีธรรมราช เขาสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยแคลร์มอนต์ สหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2515 ปริญญาโท มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2518) และปริญญาเอกด้านรัฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2525) เริ่มอาชีพนักวิชาการในตำแหน่งอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระหว่าง พ.ศ. 2518-2529

[แก้] การเมือง

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เข้าสู่แวดวงการเมืองในปี พ.ศ. 2529 โดยได้รับเลือกตั้งเป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และได้รับเลือกตั้งเข้ามาในสภาผู้แทนราษฎรติดต่อกัน 7 สมัย เคยเป็นเลขานุการของนายชวน หลีกภัย ขณะที่นายชวนดำรงตำแหน่ง ประธานสภาผู้แทนราษฎร (พ.ศ. 2529-2531) ต่อมาเป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2535-2538 และเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2540-2544 สร้างความประทับใจในระดับนานาชาติเนื่องจากใช้ภาษาอังกฤษได้ดีและมีปัญญาทางการเมือง

ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ ดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียนโดยเข้ารับตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2551 หลังจากที่ได้มีการส่งชื่อไปยังรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนเมื่อปลายเดือนกรกฎาคม 2550 และได้รับการรับรองจากชาติสมาชิกอย่างเป็นทางการในที่ประชุมผู้นำอาเซียน ณ สิงคโปร์ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2550[1]

สรุปการดำรงตำแหน่งทางการเมืองของ ดร.สุรินทร์

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช ปี พ.ศ. 2529, 2531, 2535/1, 2535/2, 2538, 2539, 2544

เลขานุการประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายชวน หลีกภัย) ปี พ.ศ. 2529-2531

ผู้ช่วยเลขานุการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ปี พ.ศ. 2531-2534

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2535-2538

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2540-2544

นางสาวเจนจิรา ปัญญาสี กจ.2เลขที่ 6รหัส51591251008-5

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในโควต้าพรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2492 เป็นนักการเมืองชาวไทยมุสลิม เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย

ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ดำรงตำแหน่ง "เลขาธิการอาเซียน" ซึ่งมีวาระ 5 ปี เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2551 โดยจะนั่งทำงานที่กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย นับเป็นคนไทยคนที่สองที่ได้ดำรงตำแหน่งนี้ โดยคนไทยคนแรกคือ แผน วรรณเมธี ได้ขึ้นดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2532-2536

ประวัติ

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เกิดที่ จ.นครศรีธรรมราช มีบิดาเป็นครูมุสลิม ศึกษาระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนวัดบ้านตาล ศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราชและ เบญจมราชูทิศ จังหวัดนครศรีธรรมราช เขาสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยแคลร์มอนต์ สหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2515 ปริญญาโท มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2518) และปริญญาเอกด้านรัฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2525) เริ่มอาชีพนักวิชาการในตำแหน่งอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระหว่าง พ.ศ. 2518-2529

[แก้] การเมือง

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เข้าสู่แวดวงการเมืองในปี พ.ศ. 2529 โดยได้รับเลือกตั้งเป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และได้รับเลือกตั้งเข้ามาในสภาผู้แทนราษฎรติดต่อกัน 7 สมัย เคยเป็นเลขานุการของนายชวน หลีกภัย ขณะที่นายชวนดำรงตำแหน่ง ประธานสภาผู้แทนราษฎร (พ.ศ. 2529-2531) ต่อมาเป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2535-2538 และเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2540-2544 สร้างความประทับใจในระดับนานาชาติเนื่องจากใช้ภาษาอังกฤษได้ดีและมีปัญญาทางการเมือง

ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ ดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียนโดยเข้ารับตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2551 หลังจากที่ได้มีการส่งชื่อไปยังรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนเมื่อปลายเดือนกรกฎาคม 2550 และได้รับการรับรองจากชาติสมาชิกอย่างเป็นทางการในที่ประชุมผู้นำอาเซียน ณ สิงคโปร์ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2550[1]

สรุปการดำรงตำแหน่งทางการเมืองของ ดร.สุรินทร์

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช ปี พ.ศ. 2529, 2531, 2535/1, 2535/2, 2538, 2539, 2544

เลขานุการประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายชวน หลีกภัย) ปี พ.ศ. 2529-2531

ผู้ช่วยเลขานุการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ปี พ.ศ. 2531-2534

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2535-2538

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2540-2544

น.ส.พิมพ์ผกา ยาวิชัย กจ.2 รหัส 51591251017-6

ประวัติ

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เกิดที่ จ.นครศรีธรรมราช มีบิดาเป็นครูมุสลิม ศึกษาระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนวัดบ้านตาล ศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราชและ เบญจมราชูทิศ จังหวัดนครศรีธรรมราช เขาสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยแคลร์มอนต์ สหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2515 ปริญญาโท มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2518) และปริญญาเอกด้านรัฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (พ.ศ. 2525) เริ่มอาชีพนักวิชาการในตำแหน่งอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระหว่าง พ.ศ. 2518-2529

การเมือง

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เข้าสู่แวดวงการเมืองในปี พ.ศ. 2529 โดยได้รับเลือกตั้งเป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และได้รับเลือกตั้งเข้ามาในสภาผู้แทนราษฎรติดต่อกัน 7 สมัย เคยเป็นเลขานุการของนายชวน หลีกภัย ขณะที่นายชวนดำรงตำแหน่ง ประธานสภาผู้แทนราษฎร (พ.ศ. 2529-2531) ต่อมาเป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2535-2538 และเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2540-2544 สร้างความประทับใจในระดับนานาชาติเนื่องจากใช้ภาษาอังกฤษได้ดีและมีปัญญาทางการเมือง

ปัจจุบัน ดร.สุรินทร์ ดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียนโดยเข้ารับตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2551 หลังจากที่ได้มีการส่งชื่อไปยังรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนเมื่อปลายเดือนกรกฎาคม 2550 และได้รับการรับรองจากชาติสมาชิกอย่างเป็นทางการในที่ประชุมผู้นำอาเซียน ณ สิงคโปร์ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2550[1]

สรุปการดำรงตำแหน่งทางการเมืองของ ดร.สุรินทร์

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.นครศรีธรรมราช ปี พ.ศ. 2529, 2531, 2535/1, 2535/2, 2538, 2539, 2544

เลขานุการประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายชวน หลีกภัย) ปี พ.ศ. 2529-2531

ผู้ช่วยเลขานุการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ปี พ.ศ. 2531-2534

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2535-2538

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ปี พ.ศ. 2540-2544

ที่มา http://th.wikipedia.org

รวม Link ส่งงานของนักศึกษาห้อง กจ.2 และ กจ.2/1

กจ.2 (ตั้งแต่งานแรกจนถึงงานล่าสุด)

กจ.2 เรื่อง ธุรกิจระหว่างประเทศ

http://gotoknow.org/ask/lemon_2910/11783


กจ.2 เรื่อง ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ

http://gotoknow.org/ask/lemon_2910/11782


กจ.2 สรุปบทที่ 8 เรื่อง จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

http://gotoknow.org/ask/lemon_2910/11978


กจ.2 สรุปบทที่ 8 เรื่อง จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ(ต่อ)

http://gotoknow.org/ask/lemon_2910/12025


กจ.2 สรุปเครื่องมือทางการบริหารจัดการ

http://gotoknow.org/ask/lemon_2910/11992

 

กจ.2/1 (ตั้งแต่งานแรกจนถึงงานล่าสุด)

กจ.2/1 สรุปบทที่ 8 เรื่อง จริยธรรมกับการบริหารจัดการธุรกิจ

http://gotoknow.org/ask/lemon_2910/11979


กจ.2/1 สรุปเครื่องมือทางการบริหารจัดการ

http://gotoknow.org/ask/lemon_2910/11993

 

 

ชรัญดา หน่อแก้ว บธ.กจ.ส 4

จากปัญหาบ้านเมืองที่เกิดก็จะทราบได้ น่าจะถึงเวลาที่จะหาคนเก่งและดีมีคุณธรรมที่เป็นผู้นำ นำพาประเทศของเราพัฒนา ไม่ใช่มัวแต่หวั่นไหวเรื่องเล็กๆ แต่ควรพัฒนาและแก้ปัญหาให้ตรงจุดรวมถึงมองอนาคตของส่วนรวมให้มาก อย่ามัวแต่เห็นแก่ตัวเอาแต่พรรคพวกของตนเอง เทคนิคการบริหารก้อสำคัญไม่ใช่มัวแต่ทฤษฎีแต่พอปฏิบัติแล้วไม่ได้เรื่อง จากตัวอย่างอดีตประธานาธิบดีของฟิลิปปินส์ คุณ อาคิโน เคยเป็นแค่แม่บ้าน

แต่พอมีโอกาสจัดการอดีตประธานาธิบดีมาร์คอสให้ออกจากตำแหน่งสำเร็จ จัดการคุณมาร์คอสยากกว่าทักษิณอีก เพราะอยู่นานถึง16ปี เป็นคนที่มีสติปัญญาหลักแหลมจริง

จิตวิญญาณเพื่อส่วนรวมและดึงเอาพลังของรากหญ้า Peple Power เพื่อส่วนรวม

ไม่ใช่เพื่อครอบครัวของท่าน ตายแล้วคนในโลกยังพูดถึง

นางสาววรัญญา นันชัยยอด บธบ.กจ.ส.4

ขอถวายพระพรแด่ สมเด็จพระบรมราชินียาถ ที่เจริญพระชนมายุ 77 พรรษา ท่านทรงทำทุกอย่างเพื่อประชาชนส่วนรวมทรงเน้นการพัฒนาอย่างยั่งยืนในระยะยาวไม่ว่าจะเป็นเรื่อง ป่า น้ำหรือสิ่งแวดล้อมและภาวะโลกร้อน

คุณประโยชน์ของ แนวหน้า ต่อประเทศน่าจะได้รับการยอมรับมากขึ้น เพราะทำงานเพื่อความถูกต้องอย่างเสมออย่าง พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 และ รัชกาลที่ 9 และอีกท่านคือ อดีตประธานาธิบดี อาคิโน เคยเป็นแม่บ้านแต่สามารถจัดการประธานาธิบดีมาร์คอสให้ออกจากตำแหน่งสำเร็จ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท