วิจัยเชิงสำรวจ


พิระนันท์
หน้าที่ ขอบข่าย แนวทาง รูปแบบ งานวิจัยเชิงสำรวจ


ความเห็น (1)

ไม่มีความเห็น


คำตอบ (1)

not yet answered


ความเห็น (1)
ดร.ไสว เลี่ยมแก้ว

งานวิจัยเชิงสำรวจจะมีลักษณะสำคัญดังนี้

(๑) ขอบข่าย สิ่งใดที่มีอยู่จริง สิ่งนั้นจะสังเกตได้ จะโดยตรงหรือโดยอ้อมก็ตาม และเมื่อสังเกตได้ ก็จัดอยู่ในขอบเขตที่จะทำวิจัยเชิงสำรวจได้ เช่น คนไทย มีจริง สำรวจได้ คือสำรวจว่าเพศไหนมากกว่ากัน, เด็ก คนหนุ่ม คนแก่ พวกไหนมีกลุ่มละกี่เปอร์เซ็น ฯลฯ

แต่ถ้าคุณจะสำรวจเทวดาว่ามีอยู่เท่าไรนั้น อยู่นอก "ขอบข่าย" ของการวิจัย เพราะว่าเราไม่อาจสังเกตเทวดาได้ เนื่องจากไม่มีจริง หรือจะไปสัมภาษณ์ตัวละคอนในวรรณคดีเรื่องสังทอง ก็ไม่ได้ เพราะไม่มีตัวตนจริง จึงอยู่นอกขอบข่ายของงานวิจัยเชิงสำรวจ

(๒) หน้าที่ของงานวิจัยเชิงสำรวจ มีหน้าที่ "ค้นหา" ความรู้ประเภท"ข้อเท็จจริง"(Fact) เช่นถ้าพบว่า คนไทยมีเพศชาย "๓๐ %" เพศหญิง "๖๗ %" นอกนั้นเป็น "กะเทย" แล้ว คำว่า"เพศชาย ๓๐ %" และ "เพศหญิง ๖๗ %" นี้ เป็น "ความรู้" ประเภท "Facts"

(๓) แนวทาง, รูปแบบ, ขอให้อ่านจากบล็อก Research ของผมครับ

ดร.ไสว เลี่ยมแก้ว

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท