(Did you know) ไม้ยมก?


(Did you know) ไม้ยมก?


Looking at the Royal Institute Thai Dictionary 2554 edition {RITD}, we see

ยมก [ยะมก] น. คู่, แฝด, ๒ ชั้น; เรียกเครื่องหมายรูปดังนี้ 'ๆ' ว่า ไม้ยมก สำหรับอ่านซ้ำความหรือซ้ำคำข้างหน้า ๒ หน. (ป., ส.). {RITD}

*mynote* in Pali and Sanskrit YAMAKA 'ๆ' (MAIYAMOK unicode U+0E46) is read ยะมะกะ (yamaka: a pair, couple [nt]), and not to be confused with '๎' YAMAKKAN (unicode U+0E4E)
ยามักการ น. ชื่อเครื่องหมายบังคับให้อ่านพยัญชนะควบ มีรูปดังนี้๎ ใช้ในหนังสือบาลีรุ่นเก่า เช่น กต๎วา ทิส๎วา ในปัจจุบันใช้เครื่องหมายพินทุแทน เป็น กตฺวา ทิสฺวา. {RITD}

พินทุ น. หยาดเช่นหยาดน้ำ, จุด, จุดที่ใส่ไว้ใต้ตัวอักษร; ลายแต้มสีที่หน้าผากระหว่างคิ้ว; รูปวงเล็ก ๆ; รูปสระ ดังนี้ ิ; ชื่อสังขยาจำนวนสูงเท่ากับโกฏิกำลัง ๗ หรือเลขหนึ่งมีศูนย์ตามหลัง ๔๙ ตัว. (ป. พินฺทุ; ส. พินฺทุ, วฺฤนฺท, วินฺทุ). {RITD}

So we know yamaka is a symbol in Thai alphabet and is used as a short-hand sign for the 'word' before it (ie. as before). There we usually stop asking more questions. But let us look a little further today. From my request to the Royal Society for a revision of {RITD} (or Royal Society Thai Dictionary mobile {RSTDm}) :

===

2) YAMAKA (ๆ) - Writing guide


According to the Royal Society own's guideline :
http://www.royin.go.th/?page_id=629
...
๑.๒.๑๕.๑ เว้นวรรคเล็กหน้าและหลังเครื่องหมายไปยาลใหญ่ ไม้ยมก เสมอภาคหรือเท่ากับ ทวิภาค วิภัชภาค และเครื่องหมาย + ที่ใช้ในทางภาษา (มิใช่เครื่องหมาย + ที่ใช้ในทางคณิตศาสตร์)

ตัวอย่าง
(๑) เขาเจริญพุทธคุณว่า อิติปิ โส ฯลฯ ภควาติ
(๒) วันหนึ่ง ๆ เขาทำอะไรบ้าง
(๓) อเปหิ = อป + เอหิ
(๔) กฤษณา : กฤษณาสอนน้อง แบบเรียนกวีนิพนธ์
(๕) ในการจัดสัมมนาครั้งนี้ ผู้เข้าร่วมการสัมมนา ได้แก่ :–

...
Examples from RITD : กุกๆ กักๆ , กุ๊กๆ กิ๊กๆ , ก้ม ๆ เงย ๆ , ก๊อก ๆ แก็ก ๆ

So, there are many instances of use of yamaka (ๆ) with and without a space in front (วรรคเล็กหน้า). This is a consistency and quality standard issue that may cause confusion in education and official communication from using examples from this authoritative dictionary.

3) YAMAKA (ๆ) - Reading guide


By definition : ไม้ยมก - เครื่องหมายรูปดังนี้ ๆ สำหรับอ่านซํ้าความหรือซํ้าคำข้างท้าย ๒ หน.
But there is no guideline for reading phrases with yamaka. Reading yamaka-words is then a matter of style for individuals. In examples below
(a) แยกเป็นส่วน ๆ (-ส่วนส่วน),กรรมเวรแท้ ๆ (-แท้แท้), ว่ายนํ้ากระดิบๆ (-กระดิบกระดิบ)
(b) วันหนึ่ง ๆ (วันหนึ่งวันหนึ่ง),ว่าเท่าไรๆ (-เท่าไรเท่าไร), ผ้าท่อนหนึ่งๆ (-ท่อนหนึ่งท่อนหนึ่ง)

In (a) only the last word is repeated but in (b) two or more words are repeated.

It may be desirable for readers that yamaka is followed by a space (or a punctuation mark) but not preceded with a space unless when two or more words are intended to be repeated. For examples

(A) กะปริบ|กะพริบ, มักใช้ซํ้าคำว่า กะปริบๆ หมายความว่า กะพริบถี่ๆ เช่น ทำตากะปริบๆ, ปริบๆ ก็ว่า.
(B) - วันหนึ่งๆ , ว่า อย่างไรๆ , ว่า เท่าไรๆ , ผ้า ท่อนหนึ่งๆ , - ตอนหนึ่งๆ , ความผิด กระทงหนึ่งๆ

In (A) (taken from RITD) one word is repeated by default. In (B) more words are repeated by the suggested guideline.
===

This issue should be of interest to teachers of Thai language and especially of course to the Royal Society which is responsible for setting and revising 'standard' (or official - guideline) for Thai language. But in this high time of democracy, we, Thai language users, should voice our concern. We should say how we like ไม้ยมก to be used and understood. We should excercise our democratic rights and right now.

Make your comments and suggestions (not just me but) to the Royal Society!

หมายเลขบันทึก: 611776เขียนเมื่อ 4 สิงหาคม 2016 08:41 น. ()แก้ไขเมื่อ 5 สิงหาคม 2016 04:44 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท