ไทย สมัยไพร่ฟ้าหน้าใส ?


ไทย สมัยไพร่ฟ้าหน้าใส ?


There are 4 different ways to write the sound ไอ (as in English 'I' : not as long as อาย or 'eye'): with ใ, ไ, ไ-ย, and -ัย. We can read out the heading of this blog and hear no distinction among different spellings. All sound 'ไอ' unless we lengthen them to almost as long as 'อาย'. Words with ไม้เอก (like ไม่ ไร่ ใส่ ใฝ่) are usually pronounces shorter than normal. But words with '' (like ไม้ ไอ้ ใช้ ใบ้) are often pronounced longer. How do we tell the difference between (หน้า)ใส and (ไป)ไส - in Isan?


I have looked in Royal Institute Dictionary 2542 Th-Th [RID2542] and found :

= 20 ใ- words we 'must' learn (native Thai words?) ใกล้ ใคร ใคร่ ใจ ใช่ ใช้ ใด ใต้ ใน ใบ ใบ้ ใฝ่ ใย ใส ใส่ ใหญ่ ใหม่ [หลง]ใหล ให้ สะใภ้* (ยี่สิบม้วนจำจงดี https://www.gotoknow.org/posts/251506)
= some 900 words begin with ไ -- these are simple native Thai (like ไป ไกล ทำไม...) and words from foreign origins (like ไวไฟ ไมโคร เซี่ยงไฮ้ ฮ็วดไช้...).
= a few words with ไ-ย : ไชย- ไตรย ไทย ไลย ไปย ไสย- ไวย- ไมยราบ (See Note 1)
= some 460 -ัย words (most from Pali and Sanskrit)


Note 1. ไ-ย words
ไลย [from RID2542]
๑ [ไล] น. สลัก, ดาล, ลิ่ม.
๒ [ไล] น. ของที่จะพึงเลีย. (ป. เลยฺย {leyya: fit to be licked or sipped. (nt.), mucilaginous food. (adj.) [PED]}).
ไตรย [ไตฺร] (โบ) ว. ไตร เช่น ไตรยตรึงษ์ ไตรยปิฎก ไตรยโลก. (ยวนพ่าย).
ไชย [ไช, ไชยะ-] ว. ดีกว่า, เจริญกว่า. (ป., ส. เชยฺย {jeyya: should be conquered. (pt.p. of jeti) [PED]}).
ไปย [-ยะ-] น. เครื่องดื่ม. (ป. เปยฺย {peyya: drinkable. (nt.) a drink. (adj.) [PED]}).
ไปยาล น. เครื่องหมายละคำ {peyyāla: an indication to show that a passage has been omitted. (nt.)}
ไสย [ไส, ไสยะ-] น. ลัทธิอันเนื่องด้วยเวทมนตร์คาถาซึ่งเชื่อว่าได้มาจากพราหมณ์ เช่น ถูกคุณถูกไสย.
ไสยา น. การนอน, ที่นอน. (ป. เสยฺยา; ส. ศยฺยา). {seyyā: a bed; bedding; sleep. (f.) [PED] cf. เสยฺยะ seyya: better; excellent. (adj.)}

ไสยาสน์ [ไสยาด] ก. นอน, เรียกพระพุทธรูปในท่านอนว่า พระไสยาสน์ หรือ พระพุทธไสยาสน์, เรียกพระพุทธรูปปางนอนว่า พระปางไสยาสน์. น. ชื่อพระพุทธรูปปางหนึ่ง อยู่ในพระอิริยาบถนอนตะแคงข้างขวา หลับพระเนตร พระเศียรหนุนพระเขนย พระหัตถ์ซ้ายทอดทาบไปตามพระกายเบื้องซ้าย พระหัตถ์ขวาหงายวางอยู่ที่พื้นข้างพระเขนย พระบาททั้ง ๒ ตั้งซ้อนกัน. [ป. เสยฺย (นอน) + อาสน (นั่ง) {āsana: a seat; sitting down. (nt.) [PED]}].

{The pronunciation for these two entries in [RID] should be revised:
ไสยศาสตร์ [ไสยะเวด, ไสยะสาด] น. ตำราทางไสย, วิชาทางไสย. [RID25542]
ไสยเวท [ไสยะเวด, ไสยะสาด] น. ตำราทางไสย, วิชาทางไสย. [RID25542]}

Note 2. 'ไทย'

ไทย [ไท] น. ชื่อประเทศและชนชาติที่อยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดต่อกับลาว เขมร มาเลเซีย และพม่า, ชนเชื้อชาติไทยมีหลายสาขาด้วยกัน เช่น ไทยใหญ่ ไทยดำ ไทยขาว; ความมีอิสระในตัว, ความไม่เป็นทาส; คน เช่น ไทยบ้านนอก ว่า คนบ้านนอก ไทยใจแทตย์ ว่า คนใจยักษ์. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). [RID]

Etylmology of the word 'ไทย' (along with origin of Thai people) is unclear. The word 'ไทย' probably came into use in 2482BE ("...24 มิถุนายน - รัฐบาล จอมพล ป. พิบูลสงคราม ประกาศใช้รัฐนิยมฉบับที่ 1 อันมีสาระเกี่ยวกับการเปลี่ยนชื่อประเทศจาก สยาม เป็น ไทย..." [https://th.wikipedia.org/wiki/พ.ศ._2482]).

Some possible uses (below) are not meaningful in 'common' context (of Thai people).
ไทย- [ไทยะ-] (แบบ) ว. ควรให้, ใช้ประกอบเป็นคำนำหน้าสมาส. (ป. เทยฺย).
ไทยทาน [ไทยะ-] น. ของสำหรับทำทาน. (ป. เทยฺยทาน).
ไทยธรรม [ไทยะทำ] น. ของทำบุญต่าง ๆ, ของถวายพระ. (ป. เทยฺยธมฺม).

เทยยะ deyya: (adj.) [Sk. deya, grd. of dā, see dadāti I. 2, b] (a) to be given (see below). -- (b) deserving a gift, worthy of receiving alms...The deyyadhamma (set of gifts, that which it is or should be a rule to give) to mendicants {คนขอทาน; ภิกขุ}, consists of 14 items, which are (as enumerated at Nd2 523 under the old Brahman's term yañña "sacrifice"{ยัญญะ;บูชายัญ}) (1) cīvara จีวร, (2) piṇḍapāta บิณฑบาต (3) senāsana เสนาสนะ {ที่นอนและที่นั่ง, ที่อยู่. (ใช้เฉพาะพระภิกษุ สามเณร)}, (4) gilāna คิลาน-
[คิลานะ-] น. คนเจ็บ. (ป.). *-paccaya -ปัจจัย *-bhesajja -เภสัช *-parikkhāra -บริขาร, (5) anna {อันนะ น. ของกินโดยเฉพาะข้าว, มักใช้เข้าคู่กับ ปานะ เป็น อันนะปานะ แปลว่า ข้าวและน้ำ. (ป., ส.).}, (6) pāna, (7) vattha {วัตถ์ น. ผ้า, เสื้อผ้า, เครื่องนุ่งห่ม. (ป.; ส. วสฺตฺร)}, (8) yāna ยาน {พาหนะต่าง ๆ}, (9) mālā มาลา {ดอกไม้}, (10) gandhā คันธ/ของหอม, (11) vilepana วิเล ปนะ เครื่องลูบไล้, (12) seyya เสยยะ {ไสยา น. การนอน, ที่นอน. (ป. เสยฺยา; ส. ศยฺยา)}, (13) āvasatha อาวสถ {อาวาส น. วัด}, (14) padīpeyya {ปทีเปยยะ/ประทีป- ไฟที่มีเปลวสว่าง (หมายเอาตะเกียง ไฟเทียน เป็นต้น)}. A similar enumn in diff. order is found at Nd1 373.

ทยา dayā: sympathy; compassion; kindness. (f.)
taya: a triad. (nt.) [PED]
udaya: rise; growth; increase; income; interest (from money). (m.)
อุทัย น. การเกิดขึ้น เช่น สุโขทัย = การเกิดขึ้นแห่งความสุข

Note 3. A welknown -ัย word
รัตนตรัย น. แก้วอันประเสริฐสุดของพุทธศาสนิกชน คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์. (ส.).
In Sanskrit [ratna-traya], in Pali [ratanattaya] from
ratana: 1. a gem; precious thing; 2. a cubit. (nt.) [PED]
cubit noun an ancient unit of length based on the length of the forearm [WordNet3.0]; N. หน่วยวัดโบราณ เท่ากับประมาณ 18-22 นิ้ว [Lexireon 2.0]
...The 7 ratanas are enumd under veḷuriya (Miln 267). They are (the precious minerals) suvaṇṇa, rajata, muttā, maṇi, veḷuriya vajira, pavāḷa.
taya: a triad. (nt.) [PED]


I also looked the Ram Khamhaeng stele to find some clues for ใ and ไ, and found:

See http://www.seasite.niu.edu/Thai/inscription for pictures and translation
http://asiapacific.anu.edu.au/newmandala/2014/10/2...
http://www.sac.or.th/en/cultural-heritage/critical...

stele N. แผ่นศิลาจารึก [Lexitron 2.0]
2. an ancient upright stone slab bearing markings [Wordnet 3.0]


[The phrase 'ไพร่ฟ้าหน้าใส' as written on จารึกพ่อขุนรามคำแหง clearly shows the use of both ไ (1st letter on left) and ใ (2nd last letter.)]


From http://www.seasite.niu.edu/Thai/inscription
จารึกพ่อขุนรามคำแหง ด้านที่ ๑ ท้าย บันทัด ๒๑ ..." ไพร่ฟ้าหน้าใส "... shows the use of both ไ and ใ on the inscription stone (presumed from the time of King Ramakamhaeng of Sukhothai).

The name สุกโขไท on the Ram Khamhaeng stele is rendered as สุโขทัย in later time.
No ไ-ย word is found on the inscription. So -ัย and ไ-ย are not used at the time of King Ram Khamhaeng (?).


Note 4. The word ธรรม is written as ธรมม (see face 4 line 27 last few words). This use of '-มม' is consistent with the use of ก หัน (จกก reads จัก - see Face 1 line 20; more examples ลกก and มกก in Face 1 line 26) (see ก หัน [in RID2554] and ว่าเรื่อง สร - https://www.gotoknow.org/posts/604755). Perhaps we should have called ร หัน (-รร as in ธรรม, กรรม,...) more correctly ม หัน instead.


Note 5. ธรรม (in Thai) was written as ธรมม (on the RK stele) or as ธรฺม (in Sanskrit or dharma - basic principles of the cosmos in Hindu) but as ธมฺม (or dhamma without ร in Pali) and read as ทำมะ in Thai or ดำมะ (ออกเสียง ด ขึ้นจมูก - without ร). ความแตกต่างเหล่านี้ อาจแสดงว่า พุทธศาสนา สมัยสุโขทัย เป็น ฝ่ายมหายาน แต่เปลี่ยนเป็นฝ่ายเถรวาทภายหลัง แล้วเปลี่ยนเสียงในการอ่านคำ โดยไม่เปลี่ยนการเขียน


Note 6. [RID2542] defines
ธรรม
๑ [ทำ, ทำมะ-] น. คุณความดี เช่น เป็นคนมีธรรมะ เป็นคนมีศีลมีธรรม; คำสั่งสอนในศาสนา เช่น แสดงธรรม ฟังธรรม ธรรมะของพระพุทธเจ้า; หลักประพฤติปฏิบัติในศาสนา เช่น ปฏิบัติธรรม ประพฤติธรรม; ความจริง เช่น ได้ดวงตาเห็นธรรม; ความยุติธรรม, ความถูกต้อง, เช่น ความเป็นธรรมในสังคม; กฎ, กฎเกณฑ์, เช่น ธรรมะแห่งหมู่คณะ; กฎหมาย เช่น ธรรมะระหว่างประเทศ; สิ่งทั้งหลาย, สิ่งของ, เช่น เครื่องไทยธรรม. (ส. ธรฺม; ป. ธมฺม).
๒ คำประกอบท้ายคำที่เป็นนามธรรม เมื่อประกอบแล้วมีความหมายไม่ต่างไปจากคำศัพท์เดิม เช่น วัฒนธรรม อารยธรรม.
๓ น. สมณศักดิ์พระราชาคณะ สูงกว่าชั้นเทพ ต่ำกว่าชั้นหิรัญบัฏ เรียกว่า ชั้นธรรม เช่น พระธรรมโกศาจารย์ พระธรรมเจดีย์.

เนียม
๑ น. (๑) ชื่อไม้พุ่มขนาดเล็กชนิด Chloranthus spicatus (Thunb.) Makino ในวงศ์ Chloranthaceae ดอกเล็ก สีขาว กลิ่นหอม, พายัพเรียก เนียมอ้ม. (๒) ชื่อไม้พุ่มชนิด Strobilanthes nivea Craib ในวงศ์ Acanthaceae ดอกเล็ก สีม่วงอ่อน ใบมีกลิ่นหอมใช้ประสมปูนกินกับหมาก, เนียมสวน ก็เรียก, อีสานเรียก อ้ม.
๒ น. เรียกงาช้างที่ใหญ่แต่สั้นและมักจะชี้ตรงว่า งาเนียม, เรียกช้างที่มีงาเช่นนั้นว่า ช้างงาเนียม.

ธรรมเนียม [ทำ-] น. ประเพณี, แบบแผน, แบบอย่าง.

ธรรมเนียม เป็นคำผสม เดิมที อาจจะมีความหมาย ในทาง ความเที่ยงตรง (แบบแผน, แบบอย่าง) ซึ่งอาจเข้าใจต่างไปจาก คำว่า ประเพณี
ประเพณี น. สิ่งที่นิยมถือประพฤติปฏิบัติสืบ ๆ กันมาจนเป็นแบบแผน ขนบธรรมเนียม หรือจารีตประเพณี. (ส. ปฺรเวณิ; ป. ปเวณิ).



My questions:
Why do we have so many ways of writing ไอ sound?
Are they different sounds (phonetically) distinguishable by ears?
Is ใ is short, ไ is of normal length and อาย is long?
Why and how we come to read Pali -eyya as ไ-ย instead of เ-ยยะ (more naturally เอ-ยึ)?


Your questions?
Let us hear them. We would like to cover the topic as thorough as we can. So we don't spent time revisiting bits and pieces over and over again. While we are at it now let us do the best we can. Please share your thoughts.


We have explored Thai language as (weekend) researchers for some time now. I do think our time have been useful in more ways than one. We have come to know more about complexity in Thai language. We've learned a little English (as an official researcher language). We've noted research methods and ways to build up evidence. In a way we are getting familiar with ways of researchers: gathering data, observing relations, imagining possibilities and thinking critically.

I have tried to only present evidence but not 'my conclusions' so you can make discoberies for yourselves. It is better this way.

I hope we have had some fun in exploring. And We are looking forwards for your sharing of research stories and discoveries. 'Share facts' is one กุศล (kusala deed) we should do more often. But we also want to make sure what we share is 'fact' not 'fiction'.

May your weekends be pleasant and fruitful.

หมายเลขบันทึก: 608116เขียนเมื่อ 10 มิถุนายน 2016 05:32 น. ()แก้ไขเมื่อ 31 กรกฎาคม 2016 05:38 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (3)

Thanks โอ๋-อโณ : I know you'd like some of it ;-)

I wish for more readers who also teach Thai language in school or someone at the Royal Institute/Society [I wish they would come out and say their name is Royal Institute (as always has been) or Royal Society (as shown on mobile dictionary apps -- and stop this confusion.] We will one day sit and rock on a chair and talk about this and the Thai language teaching within MOE. Sigh!


พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท