ผศ.ดร.สุทธิชัย ปัญญโรจน์
ผศ.ดร.สุทธิชัย ปัญญโรจน์ อาจารย์ โทนี่ ปัญญโรจน์

แนะนำหนังสือ ความผิดฐานหมิ่นประมาท


แนะนำหนังสือครับ ( ก่อนอื่นต้องขอออกตัวก่อนว่า กระผมไม่ได้มีรายได้จากหนังสือที่แนะนำครับ เพียงแต่ต้องการแนะนำผู้ที่สนใจเกี่ยวกับกฏหมาย หมิ่นประมาท)ครับ

ท่านสามารถอ่านข้อมูลเกี่ยวกับคดีหมิ่นประมาทได้จาก Facebook เพิ่มเติม แนะนำโดย ดร.สุทธิชัย ปัญญโรจน์ www.drsuthichai.com

https://www.facebook.com/%E0%B8%97%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%97-936696383060113/timeline/


หนังสือเล่มนี้ มีเนื้อหาด้านในดังนี้

ความเบื้องต้น “60 นาทีก็พอ”

เรื่องของปาก

คดีเล็กแต่คนใหญ่

สบาย ๆ คลายเครียด เรื่องของ “ไฮ – โลว์”

ใครบ้างที่จะโดนข้อหาหมิ่นประมาท

นักการเมือง (ระดับชาติ/ ระดับท้องถิ่น)

พรรคไหน คนไหน พวกเสื้อสีอะไร.......พูดจนกว่าจะถึงวันเลือกตั้ง

ศิลปะการพูด......ความผิดตาม ก.ม.เลือกตั้ง.....หาเสียงเสี่ยงตะราง

ตารางบทกำหนดโทษผู้สมัคร ส.ส., ส.ว.

นักการเมืองที่มีคุณธรรม......ยิ่งเป็นคนสำคัญเพียงไร

ชาวหนังสือพิพม์กับคดีหมิ่นประมาท

อัตราโทษหมิ่นประมาทโดยการโฆษณา

บรรณาธิการไม่ต้องรับผิด

บรรณาธิการกับการละเมิดอำนาจศาล

ข้าราชการ กำนัน ผู้ใหญ่บ้านอาจถูกฟ้อง

ผู้เสียหายหน้าแตกซ้ำเป็นครั้งที่สอง

ผู้เสียหายอาจดำเนินคดีได้ 2 วิธี

บุญคุณต้องทดแทน แค้นต้องชำระ

คุณจรูญเขาชกผมไม่ถูกหรอก

ธรรมสอนใจ การให้อภัยด้วยการแผ่เมตตา

60 นาทีก็พอ สำหรับกฎหมายฐานหมิ่นประมาท

สบาย ๆ คลายเครียด เมื่อ “กิมฮวย” ขึ้นศาล

ภาคบทสรุปตอนต้น : หมิ่นประมาท

ความผิดฐานหมิ่นประมาทมีบทบัญญัติไว้ใน ป.อ. เท่านั้น

ความผิดใกล้เคียงและมาตราหรือเรื่องที่เกี่ยวข้อง

ค่าเสเยหายทางแพ่ง

ภาคเนื้อหาสาระสำคัญ

หมิ่นประมาททั่วไป (ม.326)

องค์ประกอบความผิด 1. ใส่ความ

ตัวอย่างฎีกา (ตาม ม.326 ข้อ 1)

2. ผู้อื่น (ผู้สียหาย)

ตัวอย่างฎีกา (ตาม ม.326 ข้อ 2)

ก่อนจะพูดจะทำอะไร พึงมีสติ

3. ต่อบุคคลที่สาม

ตัวอย่างฎีกา (ตาม ม.326 ข้อ 3)

4. โดยประการที่น่าจะทำให้ผู้อื่นเสียหาย

ตัวอย่างฎีกา (ตาม ม.326 ข้อ 4)

5. โดยเจตนา

ตัวอย่างฎีกา (ตาม ม.326 ข้อ 5)

อานุภาพของความดีมหัศจรรย์นัก

ความผิดใกล้เคียงหรือเกี่ยวข้อง “หมิ่นประมาท”

ดูหมิ่น (ม.393)

ตัวอย่างฎีกา (ตาม ม.393)

ความผิดในหมวดอื่นที่เกี่ยวข้อง

หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ (ม.112) และ ม.133, 134

ตัวอย่างฎีกา (ตาม ม.112)

บรรพบุรุษไทยรักความเป็นไทย

ดูหมิ่นเจ้าพนักงาน (ม.136)

ตัวอย่างฎีกา (ตาม ม.136)

ดูหมิ่นศาลหรือผู้พิพากษา (ม.198)

ละเมิดอำนาจศาล (ป.วิ.แพ่ง ม.30- 33) และฎีกา

ตัวอย่างฎีกา (ละเมิดอำนาจศาล)

หมิ่นประมาทผู้ตาย (ม.327)

ชีวิตในชาติข้างหน้ายาวนาน ไม่อาจประมาณได้

หมิ่นประมาทโดยการโฆษณา (ม.328)

ตัวอย่างฎีกา (ตาม ม.328)

ข้อยกเว้นไม่เป็นความผิดฐานหมิ่นประมาท (ม.329)

ตัวอย่างฎีกา (ตาม ม.329)

ข้อยกเว้นไม่เป็นความผิดฐานหมิ่นประมาท (ม.330)

ตัวอย่างฎีกา (ตาม ม.330)

ข้อยกเว้นไม่เป็นความผิดในการดำเนินคดีในศาบ (ม.331)

ตัวอย่างฎีกา (ตาม ม.331)

เอกสิทธิ์เด็ดขาดและไม่เด็ดขาด

เอกสิทธิ์ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 130, 135

การพิพากษาและผลของคำพิพากษา (ม.332)

การรอการลงโทษหรือไม่การรอการลงโทษ (ม.56)

หลักเกณฑ์การรอการลงโทษ

ค่าเสียหายทางแพ่ง (ป.พ.พ. มาตรา 423, 447)

คดีหมิ่นประมาทยอมความได้ (ม.333)

ตัวอย่างฎีกา (ตาม ม.333)

คำชี้แจงส่งท้าย

ความจริงที่ควรละลึกถึงอย่างสม่ำเสมอ

รายละเอียดภาคตัวบท (บทบัญญัติ)

ความผิดฐานหมิ่นประมาท (ม.326- 333)

ความผิดฐานอื่นที่ใกล้เคียง (ม.393, 112, 133, 134, 136, 198)

ความผิดฐานอื่นที่น่าสนใจในยุคปัจจุบัน

ความผิดต่อเจ้าพนักงานและเจ้าพนักงานในการยุติธรรม

แจ้งความเท็จทั่วไป (ม.137)

แจ้งความเท็จเกี่ยวกับความผิดอาญา (ม.172 - 174)

ต่อสู้ขัดขวางเจ้าพนักงาน (ม.138)

ให้สินบนเจ้าพนักงาน (ม.144)

ฟ้องเท็จ/ เบิกความเท็จ/ ทำพยานหลักฐานเท็จ/ นำสืบหรือแสดง

หลักฐานเท็จ (ม.175, 177, 179, 181)

ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ/ การยุติธรรม

ปฏิบัติหรือละเว้นปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ (ม.157, 200)

ความผิดเกี่ยวกับความสงบสุขของประชาชน

มั่วสุมกันตั้งแต่ 10 คนขึ้นไป (ม.215, 216)

ความผิดต่อความมั่นคงของรัฐ

ความผิดฐานกบฏและใกล้เคียง (ม.113- 117)

ความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย (ม.135/1 – 135/4)

รายละเอียดภาคคำพิพากษาศาลฎีกา

ความผิดฐานหมิ่นประมาท (ม.326, 328- 333)

มาตรา 326 (ความผิดหลักของหมิ่นประมาททั่วไป) มี

75 ฎีกาย่อ 4 ฎีกาเต็มรูป

มาตรา 328 (หมิ่นประมาทโดยการโฆษณา) มี

23 ฎีกาย่อ 4 ฎีกาเต็มรูป

มาตรา 329 (แสดงความเห็นโดยสุจริต : ไม่มีความผิด) มี

61 ฎีกาย่อ 5 ฎีกาเต็มรูป

มาตรา 330 (ถ้าพิสูจน์ได้ว่าเป็นความจริง) : ไม่ต้องรับโทษ) มี

5 ฎีกาย่อ -

มาตรา 331 (คู่ความแสดงความเห็นในศาล : ไม่มีความผิด) มี

6 ฎีกาย่อ -

มาตรา 332 (ให้ยึดหรือทำลายวัตถุและให้โฆษณาคำพิพากษา) มี

3 ฎีกาย่อ -

มาตรา 333 (คดีหมิ่นประมาทยอมความได้) มี 3 ฎีกาย่อ -

ความผิดฐานอื่นที่ใกล้เคียงและค่าเสียหายทางแพ่ง

มาตรา 393 (ดูหมิ่นซึ่งหน้าหรือด้วยการโฆษณา) มี

29 ฎีกาย่อ 1 ฎีกาเต็มรูป

มาตรา 423, 447 (ป.พ.พ. ค่าสินไหมทดแทนทางแพ่ง) มี

5 ฎีกาย่อ 2 ฎีกาเต็มรูป

มาตรา 112 (หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ) มี

3 ฎีกาย่อ 2 ฎีกาเต็มรูป

มาตรา 136 (ดูหมิ่นเจ้าพนักงาน ) มี 28 ฎีกาย่อ -

มาตรา 198 (ดูหมิ่นศาลหรือผู้พิพากษา) มี 2 ฎีกาย่อ -

ความผิดฐานอื่นที่น่าสนใจในยุคปัจจุบัน

มาตรา 137, 172- 174 (แจ้งความเท็จ) มี 10 ฎีกาย่อ -

มาตรา 138 (ต่อสู่ขัดขวางเจ้าพนักงาน ) มี 2 ฎีกาย่อ -

มาตรา 175, 177 (ฟ้องเท็จ/ เบิกความเท็จ) มี 9 ฎีกาย่อ -

ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ/ การยุติธรรม

มาตรา 157, 200 (ปฏิบัติหรือละเว้นปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ) มี

20 ฎีกาย่อ -

ความผิดเกี่ยวกับความสงบสุขของประชาชน

มาตรา 215, 216 (มั่วสุมกันตั้งแต่ 10 คนขึ้นไป ) มี

3 ฎีกาย่อ 4 ฎีกาเต็มรูป

คำอธิบายขั้นตอนการพิจารณาสำนวนของตำรวจในชั้นพนักงานอัยการ

ความเห็น (สั่งฟ้อง/ สั่งไม่ฟ้อง) ของอัยการ

ความทั่วไปของคดีที่มีโทษทางอาญา

การเริ่มตั้นดำเนิคดีอาญา

กรณีที่พนักงานสอบสวนมีความเห็นควรสั่งฟ้องผู้ต้องหา

กรณีที่พนักงานสอบสวนมีความเห็นควรสั่งไม่ฟ้องผู้ต้องหา

อำนาจสอบสวนของพนักงานสอบสวนสิ้นสุดลงเมื่อสำนวนไปยังพนักงานอัยการ

การพิจารณาสำนวนสอบสวนชั้นพนักงานอัยการ

การสั่งสอบสวนเพิ่มเติมของพนักงานอัยการ

การเรียกพยานมาซักถามของพนักงานอัยการ

การสั่งให้พนักงานสอบสวนแจ้งข้อหาเพิ่มเติมของพนักงานอัยการ

การวินิจฉัยและทำคำสั่งของพนักงานอัยการ

เหตุผลของการทำคำสั่งฟ้องของพนักงานอัยการ

เหตุผลของการทำคำสั่งไม่ฟ้องของพนักงานอัยการ

การใช้ดุลพินิจสั่งไม่ฟ้องเพราะการฟ้องคดีจะไม่เป็นประโยชน์แก่สาธารณชน

การร้องขอความเป็นธรรมของพนักงานอัยการ

คดีหมิ่นประมาทเป็นความผิดกรรมเดียวที่อาจถูกดำเนินคดีหลายครั้ง

การฟ้องด้วยวาจา

ภาคผนวก (1)

หนังสือเวียนมาเพื่อทราบและถือปฏิบัติของอัยการสูงสุด

เรื่องอำนาจสอบสวนเพิ่มเติมของพนักงานสอบสวน

บันทึกสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เรื่องหารือเกี่ยวกับอำนาจ

สอบสวนเพิ่มเติมของพนักงานสอบสวน

ภาคผนวก (2)

ตัวอย่างคำชี้ขาดความเห็นแย้งของอัยการสูงสุด (9 ตัวอย่าง)

คำอธิบายการยกร่างคำฟ้องคดีหมิ่นประมาทและการทำคำให้การ

ตัวอย่างคำฟ้องของอัยการและทนายความ

คำฟ้องคดีหมิ่นประมาท

ผู้มีอำนาจฟ้องคดี

องค์ประกอบของคำฟ้องคดีอาญา

การบรรยายคำฟ้องในคดีหมิ่นประมาท

คำขอท้ายคำฟ้องในคดีหมิ่นประมาท

ตัวอย่างคำขอท้ายคำฟ้องกรณีขอให้จำเลยลงโฆษณาคำพิพากษาในหนังสือพิมพ์

การทำคำให้การในคดีหมิ่นประมาท

ตัวอย่างการบรรยายฟ้องหมิ่นประมาทของอัยการและทนายความ

ตัวอย่างคำฟ้องในลักษณะเต็มรูป (5 ตัวอย่าง)

ตัวอย่างคำฟ้อง เฉพาะองค์ประกอบความผิดตาม

ป.วิ.อ. มาตรา 158 (5) (17 ตัวอย่าง)

พระราชบัญัตินิรโทษกรรมที่น่าสนใจ (แยกได้ 4 ประเภท)

ประเภทที่ 1 นิรโทษกรรมแก่ผู้คัดค้าน ต่อด้าน ขัดขวางหรือขับไล่ผู้ใช้

กำลังยึดอำนาจ หรือนิรโทษเพื่อก่อให้เกิดความสามัคคี

(แยกตามพฤตินัย) มี 7 ฉบับ

ประเภทที่ 2 นิรโทษกรรมผู้กระทำความผิดฐานกบฏหรือผู้ก่อความไม่สงบ

เพื่อยึดอำนาจ (กระทำการไม่สำเร็จ) มี 5 ฉบับ

ประเภทที่ 3 นิรโทษกรรมผู้กระทำการปฏิวัติรัฐประหารหรือกระทำการ

ยึดอำนาจ (กระทำการสำเร็จ) มี 6 ฉบับ

ประเภทที่ 4 นิรโทษกรรมในวาระโอกาสอันสำคัญยิ่ง มี 1 ฉบับ

นำบางฉบับที่มีข้อมูลน่าสนใจมาลงพิมพ์ รวม 7 ฉบับ

พระราชบัญัติการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. 2551

พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548

พระราชบัญัติกฎอัยการศึก พุทธศักราช 2457

พระราชบัญัติจดแจ้งการพิมพ์ พ.ศ. 2550

หมายเลขบันทึก: 596122เขียนเมื่อ 12 ตุลาคม 2015 22:04 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 ตุลาคม 2015 22:04 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท