ชาใบมะกรูดดื่มแล้วได้ผลดีต่อผู้เป็นความดันโลหิตสูง


วันนี้เพื่อนนำมาฝากใน กลุ่ม line ม.พายัพ พอคลิกลิงก์อ่านก็ชื่นใจ หายเหนื่อยจากงานในวันนี้มากทีเดียว ผลของการแนะนำเขียนบันทึกในการทำชาใบมะกรูดสมุนไพรที่หาได้ง่ายปลูกได้เอง จากเมล็ดหรือตอนกิ่งก็ได้




การบอกเล่าสิ่งดีๆที่มอบให้กันและบอกต่อมีดังนี้ค่ะ


" ..ของขวัญวันตรุษจีน ผมขอมอบบทความเรื่อง "ชาใบมะกรูด"

ของ พี่ สุรพงษ์ วิศวกรโยธาอาวุโส ของ MAA เพื่อเป็น "วิทยาทาน" ดังต่อไปนี่ครับ

.......พี่ สุรพงษ์ ท่านเป็นความดันโลหิตสูง โดยทั่วไปวัดความดันได้ 190/100 หรือ 200/110 บ้าง แล้วแต่บางวันและเวลา

.......บางเวลา วัดหลังจาก กินยาลดความดัน 2 ชม. มันก็เกือบปกติ


.......ความดันเคยทำให้ผมเป็นเส้นเลือดในสมองตีบ และเป็นอัมพฤกษ์มาแล้ว


.......อ่านใน Google แนะให้ "กินชาใบมะกรูด" ก็ลองดู

http://www.momypedia.com/webboard/8-1041462/

ชาใบมะกรูดสมุนไพรลดความดันโลหิตสูง/


.......หลังจากนั้นกินชาใบมะกรูด

16/02/2015 วัดได้ 155/97
18/02/2015 วัดได้ 108/52


.......เพื่อนๆ ที่เป็นลองกินดู และไม่ต้องกินยาความดันไปตลอดชีวิต


.......วันนี้ผมกินชามะกรูดถ้วยเดียว วัดเมื่อกี้ได้

131/67
130/65
122/65


.......ผมซื้อใบมะกรูดจากแมคโคร มา 12 บาท มีหลาย 100 ใบ
.......เอามา 10 ใบล้างให้สะอาด ใส่ใบน้ำ 3 ถ้วย เอาไปต้ม 15 นาที ผสมน้ำตาลทรายแดง เพื่อให้รสชาดดื่มได้


......จากประสพการณ์ 2-3 วันนี้ ควรดื่มเช้าเช้า กับ เย็น ที่วัดได้ 108/52 นั้น ผมดื่ม 10 หน ครับ วัดเมื่อกี้ได้
131/67
130/65
122/65


.......ผมกิน "ยาลดความดัน" มา 15 ปีแล้ว ไม่ค่อยได้ผล


.......ยาหมอ ก็กิน ผมเพิ่งกินชามะกรูดได้ 3 วันเอง

.......เพื่อนเคยเป็นอัมพฤษกบอกมา ผมลองแล้วเช้านี้ รสชาด ok ไม่ใส่น้ำตาล ต้มใส่น้ำ 3 แก้ว 15 นาทีเหลือน้ำ 1 ถ้วยพอดี


.......ผมขอเผยแพร่ "ชาใบมะกรูด" เป็น "วิทยาทาน" ครับ สำหรับคนเป็นโรคความดันโลหิตสูงครับ...


.......ผมก็เพิ่งรู้เหมือนกันว่าใบมะกรูดที่หาได้ง่ายอยู่ใกล้ๆ ตัวเรานี่เองที่ช่วย ได้ ลองดูกันครับ


.......เมื่อวานได้พบคนๆ หนึ่ง ที่นำเอาใบมะกรูดมาเคี้ยว เลยถามว่าเคี้ยวเพื่ออะไร เขาตอบว่ามันช่วยลดความดันโลหิตให้เป็นปกติ ได้โดยที่เขาไม่ต้องกินยาลดความดันแผนปัจจุบันอีกเลย ผมจึงไปค้นหาถึงประโยชน์ของใบมะกรูดก็พบว่า...

- ใบมะกรูด เป็นสมุนไพรที่มากด้วยสรรพคุณทางยา ปกตินิยมใช้ใบและผลมะกรูดมาใช้ในการทำอาหาร แล้วนอกจากนี้ เภสัชกรหญิงจุไรรัตน์ เกิดดอนแฝก เภสัชกร 8 วช. ศูนย์บริการการสาธารณสุข ยังได้แนะนำเอาไว้ในหนังสือ สมุนไพรลดความดันโลหิตสูง ว่า "ใบมะกรูดมีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ช่วยลดความดันโลหิด และช่วยต้านเชื่อแบคเรียได้อีกด้วย โดยการนำใบมะกรูดแก่ 7-10 ใบ มาต้มน้ำดื่มเช้าเย็น เป็นประจำทุกวันก็จะช่วยให้ความดันโลหิตเป็นปกติได้"


- วิธีทำชาใบมะกรูด นำใบมะกรูดแก่ๆ 1 กำมือ ประมาณ 7-10 ใบล้างน้ำให้สะอาด ต้มโดยใช้น้ำประมาณ 3 แก้ว เดือดประมาณ 15 นาที แล้วดื่มแบบน้ำชาได้เลย แต่ถ้าต้องการให้ดื่มง่ายๆ ให้ใส่น้ำตาลทรายแดง 1 ช้อนโต๊ะเพิ่มแล้วแต่ชอบหวานมากหรือน้อย. ดื่มเป็นประจำแล้วจะทำให้ร่างกายสดชื่นขึ้นได้อย่างดีมาก "


ขอบคุณมากค่ะ เริ่มจากท่านแรกเป็นใครไม่ทราบนะคะ

เพื่อน Pin AIA นำมาฝาก จึงนำมาฝากเป็นวิทยาทานต่อที่นี้ด้วย


ด้วยความปรารถนาดี กานดา แสนมณี

วันอาทิตย์ที่ ๑๕ มีนาคม พ.ศ ๒๕๕๘


หมายเลขบันทึก: 587454เขียนเมื่อ 15 มีนาคม 2015 21:29 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 กรกฎาคม 2015 07:58 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (7)

สวัสดีค่ะพี่ดาที่คิดถึง

ขอบพระคุณมากๆนะคะ น้องจะแนะนำผู้ป่วยให้ลองทำกินบ้าง เป็นวิทยาทานค่ะพี่

ต้องไปทดลองแล้วครับ ต้องหอมเหมือนกลิ่นต้มยำแน่ๆ ครับ

Thank you for your kind contribution.

Though there is no report of toxicity of kafir lime leaves on the Internet, it is however a matter of concern that the information source for your post is a '.com' (commercial) website. Furthermore, I do think we should be more careful in offering 'medical' advice/information in order not to breach 'พรบ. computer 2550' (harm ทำให้...เสียหาย... see ผู้เยาว์ และ พรบ. คอมพิวเตอร์ 2550 https://www.gotoknow.org/posts/587345 for some excerpts of the law).

I would at least ensure that any medical related information is stated clearly by its source and accreditation (such as having been tested following the WHO guideline see - http://apps.who.int/medicinedocs/pdf/whozip42e/who...). Afterall, we don't want to offer information that harms people and we don't want to say 'sorry' after people have been harmed.

Would anyone care to summarise what the "General Guidelines for Methodologies on Research and Evaluation of Traditional Medicine 2000" says? I think we can learn from there how to evaluate web (medical) information.

I appreciate your efforts and well intention so far on Gotoknow. This comment is meant to improve the quality of "medical" information on Gotoknow.



"ใบมะกรูดมีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ช่วยลดความดันโลหิด และช่วยต้านเชื่อแบคเรียได้อีกด้วย โดยการนำใบมะกรูดแก่ 7-10 ใบ มาต้มน้ำดื่มเช้าเย็น เป็นประจำทุกวันก็จะช่วยให้ความดันโลหิตเป็นปกติได้"

ขอบคุณค่ะ

ดีเลยครับ ขอบคุณมาก ๆ ครับ วันนี้บ้านผมคงได้ดื่มชาใบมะกรูดแน่ๆ ครับ

K. sr, your comment to improve the quality of "medical" information on Gotoknow is a good intention.

However, your suggestion to obtain medical related information source and accreditation for Thai herbal usage would be nearly impossible, as the western test method guidelines and our guidelines are different.

Nonetheless, please appreciate the fact that our ancestors worldwide had been using herbs effectively long time ago . . . much longer before WHO came into existence.

Meanwhile, many western drugs which had passed vigorously tests following WHO guidelines and consequently approved by FDA were found to be toxic later. . . which is too late for many unfortunates as shown here:

http://en.wikipedia.org/wiki/List_of_withdrawn_dru...

Perhaps, due to this biased rules and regulations, herbal usage could never compete against prescribed drugs from multinational pharmaceutical corporations.

Hi rojfitness and all interested readers

I do not expect that we use WHO guideline or a 'western' (scientific) guideline. But I do expect we (bloggers) check information and sources of information before we post. I think it is time we do things in open and accountable manners. We can't just believe everything we see and hear on the Internet (you will see later in my note -- why). The Buddha taught us (in Kaalaama sutta of the Tipitaka) not to believe because someone said so. And the Internet is so full of self-interest blogs, it is not wise to 'just trust' what on the Internet.

The question is then 'is Gotoknow another one of those bloggers bragging littering rubbish about --uncaringly? I would like to see "NO" as the only answer. Gotoknow is a reliable source and experience of knowledge. Gotoknow is a blogging learning improving for 'quality community'.

Let have a look at my note after I read this post.

I looked for more info and found in a non-.com site:

ชาใบมะกรูดลดความดัน - สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพังงา
www.pngo.moph.go.th/index.php/health-knowledge/183...

...รายงานผลการทดลอง ในประเทศไทย ปี 1971 Mokkhasmit M.และคณะพบสารสกัดจากใบมะกรูดลดความดันโลหิตสูงได้
( ขอบคุณสรรพคุณใบมะกรูดฯ จากหนังสือสมุนไพรลดความดันโลหิตสูงโดย เภสัขกรหญิงจุไรรัตน์ เกิดดอนแฝก)
...ขอขอบคุณข้อมูลจาก https://www.gotoknow.org/posts/565838... Cyclic reference is not good.


Looking to read the reference:
Mokkhasmit, M., Swatdimongkol, K., Satrawaha, P., 1971. Study on toxicity of Thai medicinal plants. Bulletin of the Department of Medical Sciences 12, 36–65.
[Bulletin of the Department of Medical Sciences - วารสารกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์. [BDMS] Published by: Department of Medical Sciences, Ministry of Public Health.]
[Checking up http://thailand.digitaljournals.org/ and the earliest digital backcopy of the BDMS journal is 1971 Vol.13 No.1 1971 -- we are interested in is BDMS Vol. 12 pp 36-65; so this is the end of digital search for me.] [Perhaps someone has this issue of BDMS and would share the article so we know more about the finding that สารสกัดจากใบมะกรูดลดความดันโลหิตสูงได้]

A good support:
Encyclopedia of Thai Massage: A Complete Guide to ...
C. Pierce Salguero - 2004
https://books.google.com.au/books?id=X5CGAgAAQBAJ&...


But this says opposite:

http://www.stuartxchange.org/Kabuyaw.html
. Stimulating Effect of Oil / Aromatherapy: Study of kaffir lime essential oil from fresh peels of Citrus hystrix showed a significant increase in blood pressure and decrease in skin temperature. Findings likely represent stimulating / activating effects of the kaffir lime oil, providing some evidence for use in aromatherapy. (8)
[Chemical composition and stimulating effect of Citrus hystrix oil on humans / Tapanee Hongratanaworakit and Gerhard Buchbauer / Flavour and Fragrance Journal, Volume 22 Issue 5, Pages 443 - 449 / DOI 10.1002/ffj.1820]

Now I would rather have a warning note in the blog to highlight the different effects.

In any case, we as a community should advance from spreading romours, hearsays, stories on the Net (yes, including YouTubes) to asserting facts and telling our own experiences. I can give examples of such bloggers ยายธี (she posts pictures and her thoughts) หนูรี (she posts what she cooks), ...

If you try this makrut (kaffir is offensive in some places) leaf tea and find it works as claimed please give/post your support so we can say for sure that it is a good medicine ;-)

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท