Innovation กับมหาวิทยาลัยรามคำแหง


สวัสดีครับลูกศิษย์ปริญญาโท นวัตกรรมที่มหาวิทยาลัยรามคำแหงทุกท่าน และชาว Blog..               ผมรู้สึกยินดี และเป็นเกียรต...
มีต่อ

  กระผม ร.อ.วิรัตน์ ดุสิตา นักศึกษาโครงการหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการนวัตกรรม รุ่นที่ 1 มหาวิทยาลัยรามคำแหง รหัส 4914981493 ขอกราบขอบพระคุณอาจารย์ที่ได้ให้ความรู้และผลักดันให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้ด้านนวัตกรรมขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งถือว่าเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีในการค้นคว้าและแสวงหาความรู้ด้านนวัตกรรม

  กระผมขอตอบคำถามและเสนอข้อคิดเห็นจากคำถามที่อาจารย์ได้ให้ไว้ในการบรรยาย เรื่อง HR and Innovation ทั้ง 4 ข้อ โดยสรุปดังนี้

  เมื่อนวัตกรรมคือสิ่งใหม่ที่เกิดจากการใช้ความรู้และความคิดสร้างสรรค์.. ดังนั้นจุดกำเนิดของนวัตกรรมย่อมต้องเกิดจากทรัพยากรมนุษย์ที่มีความรู้และความคิดสร้างสรรค์...  กล่าวคือ ทรัพยากรมนุษย์ที่ได้รับการพัฒนาและสะสมองค์ความรู้ในด้านต่าง ๆ รวมทั้งด้านนวัตกรรมตามกลยุทธ์และเป้าหมายขององค์กร ย่อมสามารถที่จะนำแนวความคิดใหม่ ๆ ไปประยุกต์ให้เกิดเป็นโครงการ แผนงาน หรือแผนปฏิบัติการต่าง ๆ ได้ โดยปัจจัยแห่งความสำเร็จของโครงการเหล่านั้นขึ้นอยู่กับ

  - ศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ภายในองค์กร

  - องค์ความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และความร่วมมือกันภายในองค์กร

  - วิสัยทัศน์ กลยุทธ์ คุณธรรมและจริยธรรมขององค์กร

  - การบริหารการเปลี่ยนแปลงและความไม่แน่นอน ตลอดจนการแข่งขันระหว่างองค์กรตามกระแสโลกาภิวัฒน์

  ซึ่งศักยภาพที่แท้จริงของทรัพยากรมนุษย์และการบริหารจัดการถือว่าเป็นสิ่งสำคัญที่สุดที่บ่งชี้ว่าโครงการเหล่านั้นจะประสบความสำเร็จหรือล้มเหลว

  ในความคิดของผม ผมอยากจะนำความรู้ด้านทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ให้เกิดผลหรือทำโครงการเกี่ยวกับ " นวัตกรรมการบริการ " เพราะผมเห็นว่าองค์กรขนาดเล็กในประเทศยากที่จะแข่งขันด้านนวัตกรรมกับองค์กรขนาดใหญ่ การบริการแบบใหม่ที่เข้าถึงลูกค้าตั้งแต่ระดับรากหญ้า น่าจะสร้างมูลค่าเพิ่มได้มากกว่าผลิตภัณฑ์ที่มีการแข่งขันด้านเทคโนโลยีและราคา...

  -----------------------------

นายปทมพงศ์ บุบผาวงศ์

กระผม นายปทมพงศ์  บุบผาวงศ์ นักศึกษาโครงการหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการนวัตกรรม รุ่นที่ 1 มหาวิทยาลัยรามคำแหง รหัส 4914981385 ขอกราบขอบพระคุณอาจารย์ที่ได้ให้ความรู้และแนวความคิดในการเรียนรู้ต่างๆมากมาย  กระผมจึง

ขอตอบคำถาม เรื่อง HR and Innovation ในแนวทางสรุปทั้ง 4 ข้อ ดังนี้

       การดำเนินธุรกิจในสภาพแวดล้อมปัจจุบันที่ต้องมีการปรับตัวให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ต้องมีแนวคิดใหม่ๆที่นอกกรอบบาง เพื่อการแข่งขันและรองรับกับเทคโนโลยีใหม่ๆท่กำลังจะเกิดขึ้น และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของพนักงานให้มีความรู้ ความเข้าใจ ความคิดสร้างสรรค์ในสิ่งที่ตนสนใจจะทำ จะได้นำไปใช้ และต่อยอดได้อีก และยังสามารถช่วยในการคิด Project หรือ Action Plan ต่างๆได้ดังนี้

              - ช่วยให้ Project หรือ Action Plan ที่ทำนั้นมีความยั่งยืนและยาวนาน

              - มีความคิดที่รวดร็วและสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีคุณภาพ

              - มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ใหม่เพิ่มมากขึ้น

              -  สามารถวัดผลให้เป็นรูปธรรมได้

     และวิธีการทีจะทำให้สำเร็จได้คือ

             - ต้องทำงานกันเป็นทีม

             - รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นบ้าง

             - มีความร่วมมือกัน

             - มีความสามัคคีกัน

             - มีการคิดเชิงระบบ

             - ต้องมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน

     และความสำเร็จนั้นมันก็มีอุสรรคที่จะทำให้ไม่ประสบความสำเร็จก็คือ 3 C

             - Change Culture

             - Customer Base

             - Commond Control

    และมีพิ่มเติมอีกคือ

             - ไม่ชอบที่จะมีการเสี่ยง

             - ไม่มีจริยธรรม

             - ไม่มีการกล้าแสดงออก

          ส่วนโครงการที่จะทำนั้น ผมจะทำด้านการฝึกอบรมพนักงานเฉพาะด้านให้มีความชำนาญที่มากที่สุด เพราะ สามารถช่วยให้งานที่ทำอยู่มีผลผลิตเพิ่มขึ้น  แก้ปัญหาในการปฏิบัติงานได้รวดเร็ว  ลดอุบัติเหตุในการทำงาน  เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปสู่ทิศทางที่องค์กรต้องการ

นา เมื่อ HR เป็นฐาน ของ นวัตกรรม 

บ่ายวันจันทร์ หลังการเรียนกับ อ.ศุภชัย และ อ.จิระ ( ผมขอโทษที่ไม่ใช้ ดร. เพราะผมนับถือความเป็น อาจาร์ย มากกว่า ดีกรี ) วันอาทิตย์ที่ 21 สิงหาคม 2549 ผม(นาย ธเนศ รุจิวิพัฒน์ ID:4914981251 ลำดับที่ 61) ได้เรียนตามหลักสูตร MBA. Innovation Management ที่ รามคำแหง ในกระบวนวิชา  BM611ช่วงเช้า อ.ศุภชัย หล่อโลหะการ ผอ. สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ ให้ความรู้ ด้าน นวัตกรรม กับ HR และ ช่วงบ่าย กูรู ด้าน HR ท่านอาจาร์ย จิระ หงส์ลดารมภ์ พร้อมทีมงานมากมาย มาเน้นเรื่อง HR ว่าเป็น Partner กับ การสร้างนวัตกรรมนวัตกรรมHRนวัตกรรม.HR นวัตH..R..นวัต  .Rฟังไปฟังมา หลายครั้ง เลยรวมกันเป็น  น สระอานา.. ที่นานา สินทรัพย์พื้นฐาน ที่ ชาวไทย ชาวสังคมเกษตรกรอย่างเรา รู้จักกันดี  จะปลูกข้าว ปลูกมัน ปลูกอะไร ก็ต้องใช้ นา ซึ่งสอดคล้องกับ Human Resouce ไม่ว่าจะประกอบกิจการ อะไร ก็ต้อง มีคน เป็นทรัพยากรหลักแล้ว นา มันเกี่ยวอะไรกับ Innovation ล่ะ ครับ พี่น้อง ?เกี่ยวสิครับน้องพี่ !ผมคิดว่า สิงคโปร์ คงเข้าใจ ว่า ไมมี นา ที่ไหน วิเศษ เท่ากับ นา-HR ที่สามารถปลูกอะไรก็ได้ ปลูกมูลค่าเพิ่มแค่ไหนก็ได้ จนสามารถ ปลูก เทมาเส็ก ขึ้นมาและ ออกดอกออกผล เป็นระบบโทรคมนาคม ที่มีส่วนแบ่งการตลาดสูงสุดในบ้านเราได้เช่นเดียวกับ อิสราเอล ก็คงเข้าใจเช่นกันว่า นาพื้นนี้ สามารถ ออกดอก ออกผล ทวีค่า ทวีคูณไปได้อย่างไม่มีขอบเขต แถม ยังรักษา แก่นแท้แห่งเมล็ดพันธุ์ไว้ได้ แม้นจะมีการผสมข้ามสายพันธุ์ก็ตาม จนทำให้ อิสราเอล สามารถมีอิทธิพลต่อ ชาติยักษ์ใหญ่ ของโลกได้กลับมาดูที่ ประเทศอันเป็นที่รักของเรากันบ้าง คงยังไม่ ช้าเกินไปถ้าเรา จะเริ่ม มอง ที่นา-HR ของเรา ในมุมมองใหม่ๆ มองเป็น ที่นาวิเศษ เช่น1.       ปลูกอะไรก็ได้ เช่น จะปลูก IPOD , Starbuck , Academy Fantasia , Compitiveness , Value , Balanced Score card2.       ให้ดอกผล เป็นทวีคูณ เช่น 3M จะปลูก กาวแบบใหม่ ดันออกมาเป็น Post it ,3.       เพิ่มมูลค่าได้เอง และ เก็บรักษามูลค่าได้4.       เป็นสิ่งที่จับต้องไม่ได้  มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า แถม วัดค่าไม่ได้อีกหาก  ต้องใช้ ความเชื่อ สัมผัสมัน เหมือนที่หลายประเทศ ที่ประสบความสำเร็จ เขาเชื่อ อย่างจริงใจ และ ลงมือกระทำอย่าง จริงจัง เพื่อ สร้าง และ พัฒนา นาวิเศษ ที่มองไม่เห็นของเขา5.       เมื่อเป็นนาวิเศษ ก็ย่อม ต้องสร้าง ดูแล และ พัฒนา แบบพิเศษ เช่น -          ไถด้วย  ความรู้ จนเป็น สังคมแห่งการเรียนรู้  -          กลบด้วย ความคิด ต้องคิดเป็น ใช้ความรู้เป็น-          ลงหน้าดิน ด้วย Competency -          เติมความคิดสร้างสรรค์ , Intregrate thinking , ความกล้า จนเป็น สังคม แห่งนวัตกรรม-          ใส่ความคิด เชิงกลยุทธ์  การประเมินสภาพรอบข้าง จน สามารถ แข่งขันได้-          ใส่ความกล้า ความตั้งใจ ให้พร้อม ที่จะลงมือทำตลอดเวลาทั้งหมด ทั้งปวงที่ ผม พรรณนา มาก็เพื่อจะ สร้าง Mind set  ว่า  Human Resource เป็น ทุน ที่สำคัญ และ เป็น Critical Factor ต่อ ความสำเร็จ ของทุกวัตถุประสงค์ เราควร บริหารจัดการอย่างดี และ อย่างสอดคล้องกับ กลยุทธ์ของ องค์กร Harvard Businees Review  ได้ศึกษา กลยูทธ์ของ บริษัทตัวอย่างต่างๆ และ จัดรูปแบบ กลยุทธ์ ของ บริษัทเหล่า นั้นดังนี้( Remark : สังเกตุไหมว่า ขนาด Harvard ยัง สร้างความรู้ใหม่ โดยการ จัดหมวดหมู่ ความรู้เดิม )1.       Short Term เน้น ไปที่ Productivity เช่น TQM, ISO, QCC2.       Medium Term เน้น ที่ Customer เช่น CRM, Customer Loyalty3.       Long Term เน้นไปที่ Innovation เช่น New product&Service , New Businees , New core funtionโดยเขาเสนอ ผ่าน Model ของ Balanced Scorecard ซึ่งเป็น Model ที่ ตั้งบนสมมุติฐานที่ว่า Intangible assets อันได้แก่ Human Capital, IT Capital และ Organization Capital เป็น ปัจจัยพื้นฐานของความสำเร็จทาง กลยุทธ์ดังนั้น การจัดการ Human Capital จึงต้องทำอย่างสอดคล้องกับ กลยุทธ์ และ ผลของการจัดการ Human Capital จะส่งผลกลับไปยัง ความสำเร็จของกลยุทธ์ อย่างเป็นเหตุเป็นผล และ ตรวจสอบได้ ( เหมือนกระจกสะท้อน )ถ้าอ้างอิง จาก Model นี้ (ซึ่ง Harvard ได้ เสนอ ตั้งแต่ปี 1992 และ มีการพิสูจน์แล้วว่า Model นี้ใช้ได้ ผ่าน บริษัทมากมาย ) จะเห็นว่า Human Capital เป็น ฐาน ของ Innovation จริง  ถ้าเรา จะสร้าง Model การสร้างนวัตกรรม ขึ้นมา อาจเป็นดังนี้ ( เปรียบเทียบกับการปลูกข้าว )1.       การสร้าง Intangible Assets ( สร้างนา)  -  สร้าง พัฒนา ดูแล Human Capital2.       การเพาะปลูก Innovation ( หว่านเมล็ด ) Vision Mission, Strategy, Idea3.       กระบวนการ Innovate ( แตกหน่อ เติบโตเป็นต้น ) Project , Action plan, Action , Evaluate, 4.       ผลงาน (  ข้าวเปลือก ) - ผลงาน5.       Innovation ( ข้าวสาร ) ประสบความสำเร็จดังนั้น Idea ย่อมเกิดจาก การ สร้างนา ที่ดี และ Project ย่อม เป็นผลพวงจาก Vision Mission และ Idea แต่ จะประสบความสำเร็จหรือไม่ อยู่ที่ มุมมอง ของ ฝั่ง Demand  พร้อมหรือยัง ครับ ที่จะเริ่ม มอง HR ในมุมมองใหม่ เริ่มจาก ตัวเอง และ ห้อง 2 ของเรา  ช่วยกันสร้าง องค์กรแห่งการเรียนรู้ ให้แก่ เพื่อนๆ Sec 2 กันน่ะครับ

ผมในฐานะ  ทีมงานวิชาการ พร้อมร่วมมือ กับเพื่อน เสมอ และ นี้จะเป็น โครงการที่เราจะได้ใช้ความรู้จากการเรียนด้าน HR และ นวัตกรรม มาประยุกต์ใช้ร่วมกัน

พบกันใหม่ ให้ใกล้กว่าเดิม

นา เมื่อ HR เป็นฐาน ของ นวัตกรรม

บ่ายวันจันทร์ หลังการเรียนกับ อ.ศุภชัย และ อ.จิระ ( ผมขอโทษทีไม่ใช้ ดร. เพราะผมนับถือความเป็น อาจาร์ย มากกว่า ดีกรี )

วันอาทิตย์ที่ 21 สิงหาคม 2549 ผมได้เรียนตามหลักสูตร MBA. Innovation Management ที่ รามคำแหง ในกระบวนวิชา  BM611

ช่วงเช้า อ.ศุภชัย หล่อโลหะการ ผอ. สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ ให้ความรู้ ด้าน นวัตกรรม กับ HR และ ช่วงบ่าย กูรู ด้าน HR ท่านอาจาร์ย จิระ หงส์ลดารมภ์ พร้อมทีมงานมากมาย มาเน้นเรื่อง HR ว่าเป็น Partner กับ การสร้างนวัตกรรม

นวัตกรรมHRนวัตกรรม.HR นวัตH..R..นวัต  .Rฟังไปฟังมา หลายครั้ง เลยรวมกันเป็น  น สระอานา.. ที่นา

นา สินทรัพย์พื้นฐาน ที่ ชาวไทย ชาวสังคมเกษตรกรอย่างเรา รู้จักกันดี  จะปลูกข้าว ปลูกมัน ปลูกอะไร ก็ต้องใช้ นา ซึ่งสอดคล้องกับ Human Resouce ไม่ว่าจะประกอบกิจการ อะไร ก็ต้อง มีคน เป็นทรัพยากรหลัก

แล้ว นา มันเกี่ยวอะไรกับ Innovation ล่ะ ครับ พี่น้อง ?

เกี่ยวสิครับน้องพี่ !

ผมคิดว่า สิงคโปร์ คงเข้าใจ ว่า ไมมี นา ที่ไหน วิเศษ เท่ากับ นา-HR ที่สามารถปลูกอะไรก็ได้ ปลูกมูลค่าเพิ่มแค่ไหนก็ได้ จนสามารถ ปลูก เทมาเส็ก ขึ้นมาและ ออกดอกออกผล เป็นระบบโทรคมนาคม ที่มีส่วนแบ่งการตลาดสูงสุดในบ้านเราได้

เช่นเดียวกับ อิสราเอล ก็คงเข้าใจเช่นกันว่า นาพื้นนี้ สามารถ ออกดอก ออกผล ทวีค่า ทวีคูณไปได้อย่างไม่มีขอบเขต แถม ยังรักษา แก่นแท้แห่งเมล็ดพันธุ์ไว้ได้ แม้นจะมีการผสมข้ามสายพันธุ์ก็ตาม จนทำให้ อิสราเอล สามารถมีอิทธิพลต่อ ชาติยักษ์ใหญ่ ของโลกได้

กลับมาดูที่ ประเทศอันเป็นที่รักของเรากันบ้าง คงยังไม่ ช้าเกินไปถ้าเรา จะเริ่ม มอง ที่นา-HR ของเรา ในมุมมองใหม่ๆ มองเป็น ที่นาวิเศษ เช่น

ปลูกอะไรก็ได้ เช่น จะปลูก IPOD , Starbuck , Academy Fantasia , Compitiveness , Value , Balanced Score card

ให้ดอกผล เป็นทวีคูณ เช่น 3M จะปลูก กาวแบบใหม่ ดันออกมาเป็น Post it

เพิ่มมูลค่าได้เอง และ เก็บรักษามูลค่าได้

เป็นสิ่งที่จับต้องไม่ได้  มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า แถม วัดค่าไม่ได้อีกหาก  ต้องใช้ ความเชื่อ สัมผัสมัน เหมือนที่หลายประเทศ ที่ประสบความสำเร็จ เขาเชื่อ อย่างจริงใจ และ ลงมือกระทำอย่าง จริงจัง เพื่อ สร้าง และ พัฒนา นาวิเศษ ที่มองไม่เห็นของเขา

เมื่อเป็นนาวิเศษ ก็ย่อม ต้องสร้าง ดูแล และ พัฒนา แบบพิเศษ เช่น

ไถด้วย  ความรู้ จนเป็น สังคมแห่งการเรียนร้

 กลบด้วย ความคิด ต้องคิดเป็น ใช้ความรู้เป็น

 ลงหน้าดิน ด้วย Competency

เติมความคิดสร้างสรรค์ , Intregrate thinking , ความกล้า จนเป็น สังคม แห่งนวัตกรรม

ใส่ความคิด เชิงกลยุทธ์  การประเมินสภาพรอบข้าง จน สามารถ แข่งขันได้

ใส่ความกล้า ความตั้งใจ ให้พร้อม ที่จะลงมือทำตลอดเวลา

ทั้งหมด ทั้งปวงที่ ผม พรรณนา มาก็เพื่อจะ สร้าง Mind set  ว่า  Human Resource เป็น ทุน ที่สำคัญ และ เป็น Critical Factor ต่อ ความสำเร็จ ของทุกวัตถุประสงค์ เราควร บริหารจัดการอย่างดี และ อย่างสอดคล้องกับ กลยุทธ์ของ องค์กร

Harvard Businees Review  ได้ศึกษา กลยูทธ์ของ บริษัทตัวอย่างต่างๆ และ จัดรูปแบบ กลยุทธ์ ของ บริษัทเหล่า นั้นดังนี้

( Remark : สังเกตุไหมว่า ขนาด Harvard ยัง สร้างความรู้ใหม่ โดยการ จัดหมวดหมู่ ความรู้เดิม )

Short Term เน้น ไปที่ Productivity เช่น TQM, ISO, QCC

Medium Term เน้น ที่ Customer เช่น CRM, Customer Loyalty

Long Term เน้นไปที่ Innovation เช่น New product&Service , New Businees , New core funtion

โดยเขาเสนอ ผ่าน Model ของ Balanced Scorecard ซึ่งเป็น Model ที่ ตั้งบนสมมุติฐานที่ว่า Intangible assets อันได้แก่ Human Capital, IT Capital และ Organization Capital เป็น ปัจจัยพื้นฐานของความสำเร็จทาง กลยุทธ์

ดังนั้น การจัดการ Human Capital จึงต้องทำอย่างสอดคล้องกับ กลยุทธ์ และ ผลของการจัดการ Human Capital จะส่งผลกลับไปยัง ความสำเร็จของกลยุทธ์ อย่างเป็นเหตุเป็นผล และ ตรวจสอบได้ ( เหมือนกระจกสะท้อน )

ถ้าอ้างอิง จาก Model นี้ (ซึ่ง Harvard ได้ เสนอ ตั้งแต่ปี 1992 และ มีการพิสูจน์แล้วว่า Model นี้ใช้ได้ ผ่าน บริษัทมากมาย ) จะเห็นว่า Human Capital เป็น ฐาน ของ Innovation จริง 

ถ้าเรา จะสร้าง Model การสร้างนวัตกรรม ขึ้นมา อาจเป็นดังนี้ ( เปรียบเทียบกับการปลูกข้าว )

การสร้าง Intangible Assets ( สร้างนา)  -  สร้าง พัฒนา ดูแล Human Capital

การเพาะปลูก Innovation ( หว่านเมล็ด ) Vision Mission, Strategy, Idea

กระบวนการ Innovate ( แตกหน่อ เติบโตเป็นต้น ) Project , Action plan, Action , Evaluate, 

 ผลงาน (  ข้าวเปลือก ) - ผลงาน

Innovation ( ข้าวสาร ) ประสบความสำเร็จ

ดังนั้น Idea ย่อมเกิดจาก การ สร้างนา ที่ดี และ Project ย่อม เป็นผลพวงจาก Vision Mission และ Idea แต่ จะประสบความสำเร็จหรือไม่ อยู่ที่ มุมมอง ของ ฝั่ง Demand

พร้อมหรือยัง ครับ ที่จะเริ่ม มอง HR ในมุมมองใหม่ เริ่มจาก ตัวเอง และ ห้อง 2 ของเรา  ช่วยกันสร้าง องค์กรแห่งการเรียนรู้ ให้แก่ เพื่อนๆ Sec 2 กันน่ะครับ

ผมในฐานะผู้ดูแล งานวิชาการ พร้อมร่วมมือ กับเพื่อน เสมอพบกันใหม่ ให้ใกล้กว่าเดิม
กมลทิพย์ กรวิจิตรกุล
                        ในภาวะเศรษฐกิจปัจจุบัน  องค์การต่าง ๆ ล้วนจำเป็นต้องปรับตัวเพื่อความอยู่รอด         และความเจริญก้าวหน้าในสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว  ประสิทธิผลขององค์กรขึ้นอยู่กับความสามารถขององค์การในการเรียนรู้ถึงสถานการณ์แนวคิด  เทคนิคการดำเนินงานและเทคโนโลยีต่าง ๆ จากภายนอก  เรียนรู้จากประสบการณ์จากกันและกันภายในและภายนอกองค์กร  นำมาพัฒนาคิดสร้างสรรค์เพื่อให้เกิดนวัตกรรม  (Innovation)  ต่อไป                                                การพัฒนาองค์กรให้มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรมได้นั้น  ปัจจัยสำคัญที่สรรค์สร้างให้เกิดนวัตกรรม  ก็คือ  คน  ปัญญาความรู้  และทักษะความสามารถของทรัพยากรมนุษย์  เป็นหัวใจหลักของการสร้างประสิทธิภาพของการทำงาน  และขับเคลื่อนองค์กรให้เติบโตอย่างมั่นคง  ดังนั้น  จึงต้องมี  การจัดการทรัพยากรมนุษย์  ให้ต้องคิด  วิเคราะห์  และวางแผนโดยคาดคะเนถึงการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น  เพื่อเตรียมความพร้อมให้เท่าทัน  และตรงเงื่อนไขใหม่ ๆ ที่จะเกิดขึ้นอนาคต โดยผู้บริหารระดับสูงต้องมีความมุ่งมั่นในการนำองค์กรไปสู่องค์กรสร้างนวัตกรรม  สร้างบรรยากาศให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ การเปิดโอกาสให้ทุกคนในองค์กร  ได้คิดสร้างสรรค์และนำเสนอ  Idea  ได้อย่างอิสระ  กล้าที่จะเสี่ยงนำเอา Idea  ดี ๆ ไปพัฒนา รวมทั้งการใช้รางวัลเป็นตัวกระตุ้นให้บุคลากรขององค์กรได้คิดสรรค์สร้างงาน  สภาพแวดล้อมที่สบาย ๆ ไม่เคร่งเครียด  ไม่ถูกตีกรอบความคิด  ก็มีส่วนช่วยให้เกิด Idea  ใหม่ ๆ ในทางตรงกันข้าม  หากผู้บริหารระดับสูงไม่มีความมุ่งมั่น ไม่เปิดโอกาสให้ทุกคนในองค์กรสามารถคิดสร้างสรรค์และนำเสนอ Idea ได้อย่างอิสระ โดยไม่กล้าเสี่ยงที่จะนำ Idea ดี ๆ ไปพัฒนา  รวมทั้งไม่ใช้รางวัลเป็นตัวกระตุ้น  เหล่านี้  ล้วนเป็นปัญหาอุปสรรคที่ไม่อาจทำให้เกิดนวัตกรรมขึ้นในองค์กร  นอกจากนี้หากมองไปที่ต้นน้ำ  เริ่มจากสภาพปัญหาการศึกษาโดยเฉพาะหลักสูตรการศึกษาเปลี่ยนแปลงช้า  ระดับความรู้     ส่วนใหญ่ต่ำกว่าระดับขีดความสามารถทางสมองของเด็ก  ไม่สามารถปรับตัวตามสภาพเศรษฐกิจ  สังคม   และความก้าวหน้าของเทคโนโลยี  และองค์ความรู้ใหม่ ๆ วิธีการเรียนการสอนไม่นำไปสู่การเรียนรู้        ด้วยตนเอง  ไม่ได้กระตุ้นหรือส่งเสริมให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ได้ดี                                                การจะทดลองหรือลองทำโดยนำเอาความรู้เรื่องทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ให้เกิดผล              เป็นรูปธรรมในองค์กรปัจจุบันนี้  ต้องเข้าใจถึงเป้าประสงค์ขององค์กรเสียก่อน  กล่าวได้ว่าการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ไม่ได้เป็นสิ่งที่  สัมบูรณ์  (absolute)  ในตัวมันเอง  แต่ทว่าเป็นสิ่งที่จะต้อง  สัมพัทธ์  (relative)  ไปกับปัจจัยควบคุมนั้นคือ  นโยบายการบริหารจัดการองค์กร  หรือเป้าประสงค์ขององค์กรจะเป็นตัวกำหนดเป้าประสงค์ของการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์  จากนั้นก็สร้างวัฒนธรรมองค์กรให้เกิดกระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องกันใน 4 วิธีเป็นวงจร โดยเริ่มจากการเรียนรู้จากประสบการณ์และต่อมา  ลองสังเกต ไตร่ตรองเพื่อการศึกษาประสบการณ์นั้น ก็จะนำไปสู่การได้มาซึ่งแนวคิด เปลี่ยนแปลงไปเป็นแผนงาน  งาน/โครงการ  ที่จะนำไปทดลองปฏิบัติและพิจารณาการประเมินผล เพื่อเป็นประสบการณ์การเรียนรู้ ( learning experience )  การให้โอกาสบุคลากรในองค์กรได้คิดสร้างสรรค์และนำเสนอ  Idea  ได้อย่างอิสระนั้นในระยะแรกอาจมีไม่มาก หรือไม่มีเลย ก็ต้องใช้ปัจจัยที่กล่าวข้างต้นเป็นตัวกระตุ้นผลักดัน  และมีการพัฒนาองค์ประกอบต่าง ๆ ขึ้นเป็นขั้นเป็นลำดับ  ที่สำคัญคือการผลักดันให้เกิดนวัตกรรมอย่างเป็นรูปธรรมได้จริง  จะต้องมีความอดทนและกระทำอย่างต่อเนื่อง
ในภาวะเศรษฐกิจปัจจุบัน  องค์การต่าง ๆ ล้วนจำเป็นต้องปรับตัวเพื่อความอยู่รอด         และความเจริญก้าวหน้าในสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว  ประสิทธิผลขององค์กรขึ้นอยู่กับความสามารถขององค์การในการเรียนรู้ถึงสถานการณ์แนวคิด  เทคนิคการดำเนินงานและเทคโนโลยีต่าง ๆ จากภายนอก  เรียนรู้จากประสบการณ์จากกันและกันภายในและภายนอกองค์กร  นำมาพัฒนาคิดสร้างสรรค์เพื่อให้เกิดนวัตกรรม  (Innovation)  ต่อไป                                                การพัฒนาองค์กรให้มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรมได้นั้น  ปัจจัยสำคัญที่สรรค์สร้างให้เกิดนวัตกรรม  ก็คือ  คน  ปัญญาความรู้  และทักษะความสามารถของทรัพยากรมนุษย์  เป็นหัวใจหลักของการสร้างประสิทธิภาพของการทำงาน  และขับเคลื่อนองค์กรให้เติบโตอย่างมั่นคง  ดังนั้น  จึงต้องมี  การจัดการทรัพยากรมนุษย์  ให้ต้องคิด  วิเคราะห์  และวางแผนโดยคาดคะเนถึงการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น  เพื่อเตรียมความพร้อมให้เท่าทัน  และตรงเงื่อนไขใหม่ ๆ ที่จะเกิดขึ้นอนาคต โดยผู้บริหารระดับสูงต้องมีความมุ่งมั่นในการนำองค์กรไปสู่องค์กรสร้างนวัตกรรม  สร้างบรรยากาศให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ การเปิดโอกาสให้ทุกคนในองค์กร  ได้คิดสร้างสรรค์และนำเสนอ  Idea  ได้อย่างอิสระ  กล้าที่จะเสี่ยงนำเอา Idea  ดี ๆ ไปพัฒนา รวมทั้งการใช้รางวัลเป็นตัวกระตุ้นให้บุคลากรขององค์กรได้คิดสรรค์สร้างงาน  สภาพแวดล้อมที่สบาย ๆ ไม่เคร่งเครียด  ไม่ถูกตีกรอบความคิด  ก็มีส่วนช่วยให้เกิด Idea  ใหม่ ๆ ในทางตรงกันข้าม  หากผู้บริหารระดับสูงไม่มีความมุ่งมั่น ไม่เปิดโอกาสให้ทุกคนในองค์กรสามารถคิดสร้างสรรค์และนำเสนอ Idea ได้อย่างอิสระ โดยไม่กล้าเสี่ยงที่จะนำ Idea ดี ๆ ไปพัฒนา  รวมทั้งไม่ใช้รางวัลเป็นตัวกระตุ้น  เหล่านี้  ล้วนเป็นปัญหาอุปสรรคที่ไม่อาจทำให้เกิดนวัตกรรมขึ้นในองค์กร  นอกจากนี้หากมองไปที่ต้นน้ำ  เริ่มจากสภาพปัญหาการศึกษาโดยเฉพาะหลักสูตรการศึกษาเปลี่ยนแปลงช้า  ระดับความรู้     ส่วนใหญ่ต่ำกว่าระดับขีดความสามารถทางสมองของเด็ก  ไม่สามารถปรับตัวตามสภาพเศรษฐกิจ  สังคม   และความก้าวหน้าของเทคโนโลยี  และองค์ความรู้ใหม่ ๆ วิธีการเรียนการสอนไม่นำไปสู่การเรียนรู้        ด้วยตนเอง  ไม่ได้กระตุ้นหรือส่งเสริมให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ได้ดี                                                การจะทดลองหรือลองทำโดยนำเอาความรู้เรื่องทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ให้เกิดผล              เป็นรูปธรรมในองค์กรปัจจุบันนี้  ต้องเข้าใจถึงเป้าประสงค์ขององค์กรเสียก่อน  กล่าวได้ว่าการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ไม่ได้เป็นสิ่งที่  สัมบูรณ์  (absolute)  ในตัวมันเอง  แต่ทว่าเป็นสิ่งที่จะต้อง  สัมพัทธ์  (relative)  ไปกับปัจจัยควบคุมนั้นคือ  นโยบายการบริหารจัดการองค์กร  หรือเป้าประสงค์ขององค์กรจะเป็นตัวกำหนดเป้าประสงค์ของการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์  จากนั้นก็สร้างวัฒนธรรมองค์กรให้เกิดกระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องกันใน 4 วิธีเป็นวงจร โดยเริ่มจากการเรียนรู้จากประสบการณ์และต่อมา  ลองสังเกต ไตร่ตรองเพื่อการศึกษาประสบการณ์นั้น ก็จะนำไปสู่การได้มาซึ่งแนวคิด เปลี่ยนแปลงไปเป็นแผนงาน  งาน/โครงการ  ที่จะนำไปทดลองปฏิบัติและพิจารณาการประเมินผล เพื่อเป็นประสบการณ์การเรียนรู้ ( learning experience )  การให้โอกาสบุคลากรในองค์กรได้คิดสร้างสรรค์และนำเสนอ  Idea  ได้อย่างอิสระนั้นในระยะแรกอาจมีไม่มาก หรือไม่มีเลย ก็ต้องใช้ปัจจัยที่กล่าวข้างต้นเป็นตัวกระตุ้นผลักดัน  และมีการพัฒนาองค์ประกอบต่าง ๆ ขึ้นเป็นขั้นเป็นลำดับ  ที่สำคัญคือการผลักดันให้เกิดนวัตกรรมอย่างเป็นรูปธรรมได้จริง  จะต้องมีความอดทนและกระทำอย่างต่อเนื่อง
สาโรจน์ ปัชโชติพงษ์ รหัสประจำตัว 4914980155 MBAINNOVATION-RU
ผมขออนุญาตตอบคำถาม เรื่อง HR and Innovation  4 ข้อ ดังนี้

1) การจัดการทรัพยากรมนุษย์มีส่วนช่วยในการสร้างนวัตกรรมดังนี้

-         สร้างองค์ความรู้  ความคิดสร้างสรรค์  และการคิดอย่างเป็นระบบให้กับคนในองค์กร  เพื่อนำไปสู่การสร้างนวัตกรรม  โดยนำหลักการและความรู้พื้นฐานมาต่อยอด แตกแขนงและประยุกต์ให้เกิดสิ่งใหม่  เช่น ผลิตภัณฑ์ใหม่  การบริการรูปแบบใหม่  การนำไปใช้ประโยชน์แบบใหม่

-         ส่งเสริมให้เกิดความกล้า กล้าคิด กล้าทำ กล้าทดลอง กล้าล้มเหลว  มีการเรียนรู้จากประสบการณ์  นำความผิดพลาดมาเป็นบทเรียน  ไม่ทำผิดซ้ำรอยเดิม

-         สร้างกระบวนการมอบหมายและกระจายอำนาจ  ให้พนักงานได้แสดงความรู้ความสามารถ และการคิดตัดสินใจด้วยตนเอง

-         สร้างให้เกิดวัฒนธรรมรักการเปลี่ยนแปลง  ไม่ชอบการหยุดนิ่ง  เป็นนักพัฒนา  ไม่ท้อถอย พยายามแก้ปัญหาด้วยปัญญา

-         ส่งเสริมให้เกิดการกระจายและถ่ายทอดความรู้  ความคิดสร้างสรรค์  แบ่งปันประสบการณ์กันทั้งในและนอกองค์กร

2) การนำความคิดสร้างสรรค์ไปสร้างให้เกิดรูปธรรมในการทำงาน ต้องส่งเสริมความกล้าที่จะทำ ลองผิดลองถูก มีความมุ่งมั่นมุมานะบนพื้นฐานของความรู้  นำประสบการณ์ของความล้มเหลวมาพัฒนาเป็นบทเรียนแห่งความสำเร็จ  ต้องให้การยอมรับและสนับสนุนผู้ที่มีความคิดสร้างสรรค์ให้สามารถลงมือดำเนินการได้  และลดบทบาทของผู้ที่ชอบต่อต้านและชอบตรวจหาข้อเสียและจุดอ่อนในความคิดของผู้อื่นอย่างไม่มีเหตุผลเพียงพอ  ซึ่งเป็นการบั่นทอนกำลังใจของผู้ที่เสนอความคิดใหม่ๆ  ต้องสร้างจิตสำนึกและวัฒนธรรมองค์กรว่า  ความคิดสร้างสรรค์ต่างๆที่เสนอขึ้นมาเหล่านั้น  ล้วนเกิดขึ้นมาจากความรักและปรารถนาดีต่อองค์กร  เพื่อให้องค์กรเกิดการพัฒนา  แม้ว่าบางครั้งหลังจากได้ทดลองทำแล้วจะไม่ประสบผลสำเร็จก็ตาม  ต้องไม่เกิดการกล่าวโทษหรือซ้ำเติมเจ้าของความคิดนั้นๆ

3) การทำให้โครงการประสบความสำเร็จในการสร้างนวัตกรรม ต้องเกิดจากการส่งเสริมและสนับสนุนอย่างจริงจังจากเจ้าของหรือผู้บริหารสูงสุด  ทั้งทางด้านเงินทุน  เวลา  แรงงานและองค์ความรู้  ผู้บริหารต้องกำหนดนโยบายที่ชัดเจนในการสร้างนวัตกรรม  สร้างความร่วมแรงร่วมใจของคนทั้งองค์กรรวมถึงตัวผู้บริหารด้วย  และสร้างแรงจูงใจในทุกๆขั้นของการพัฒนา  กระตุ้นให้เกิดวัฒนธรรมรักการเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่ถูกต้อง  โดยมุ่งตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้า/ผู้บริโภคให้มีทางเลือกที่สร้างความพึงพอใจสูงสุด  และความสำเร็จที่เกิดขึ้นต้องยกให้เป็นผลงานของคนทั้งองค์กร  ส่วนความล้มเหลวต้องเป็นความรับผิดชอบของผู้บริหารแต่ผู้เดียว   อุปสรรคที่ขัดขวางความสำเร็จในการสร้างนวัตกรรมคือ

-         การต่อต้านการเปลี่ยนแปลงของคนในองค์กร  ซึ่งมักมองการเปลี่ยนแปลงในเชิงลบ  หาข้อเสียมากกว่าข้อดี และจินตนาการถึงความล้มเหลวก่อนที่จะลงมือทำด้วยซ้ำไป  ซึ่งเป็นสภาพแวดล้อมที่ทำลายการสร้างนวัตกรรม

-         การมองข้ามความต้องการของลูกค้า  ทำให้ขาดการยอมรับจากลูกค้า  เพราะลูกค้ามีภาพลักษณ์ในใจอยู่ก่อนแล้ว  การสร้างภาพลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ใหม่หรือรูปแบบการบริการใหม่ต้องใช้ความพยายามและการลงทุนอย่างมหาศาลเพื่อทดแทนสิ่งที่ฝังอยู่ในใจของลูกค้า  ดังนั้นจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเชื่อมโยงนวัตกรรมกับความต้องการของลูกค้า

-         คุณสมบัติของผู้บริหาร  ผู้บริหารบางคนอาจมีความคาดหวังต่อพนักงานสูงเกินไป  จนทำให้เกิดทัศนคติที่ไม่ดีต่อพนักงาน  ทำให้ไม่รับฟังความคิดเห็น  ไม่มั่นใจที่จะมอบหมายงานและอำนาจการตัดสินใจให้    หรือการขาดความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งของผู้บริหารในแนวทางการสร้างนวัตกรรม  หรือไม่อาจเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับพนักงาน

4) โครงการที่คาดว่าจะทำหลังจากการเรียน คือ การพัฒนาเพื่อผลิตบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม  โดยมีการใช้วัตถุดิบและกระบวนการผลิตทั้งหมดต้องเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมรวมถึงการนำกลับมาใช้ใหม่ การรีไซเคิลและการทำลายย่อยสลาย  ซึ่งจะสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าที่เน้นด้านสิ่งแวดล้อม  อีกทั้งสร้างภาพพจน์ที่ดีของผลิตภัณฑ์ที่บรรจุและบริษัทผู้ผลิตสินค้า

นาย จักร์กริช เงาแสงจันทร์, รหัส 4914980889, Tel : 011711339

รายงานนวัตกรรมกับการบริหารทรัพยกรมนุษย์

โครงการบริหารธุรกิจมหาบัญฑิต  MBA (Innovation)

นำเสนอ       ท่านอาจารย์ ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์จัดทำโดย  นาย จักร์กริช เงาแสงจันทร์     รหัสนักศึกษา     4914980889Tel: 01-1711339 จากหัวข้อ
  1. การจัดการทรัพยากรมนุษย์เกี่ยวข้องกับนวัตกรรม และมีแนวความคิดใหม่ ได้อย่างไร
นวัตกรรมกับการบริหารการจัดการด้านทรัพยากรมนุษย์เป็นที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง หรือจะกล่าวได้ว่าเป็นสิ่งต้องอยู่คู่กันทั้งในระดับองค์กร จะถึงระดับประเทศก็ว่าได้ เพราะนวัตกรรมทั้งหลายทั้งปวงจะเกิดขึ้นได้ก็ด้วยบุคคล  เช่นบุคคลากรในองค์กร มีแนวความคิด มีความสามารถในการประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่ๆ จากองค์ความรู้ (Knowledge) ที่มีอยู่เดิมในองค์กร หรือในตัวของแต่ละบุคคลเอง หรือองค์ความรู้ที่เกิดจากการวิจัย(Research) หรือ องค์ความรู้ที่เกิดจากการวิจัยและพัฒนาที่ได้สะสมมา (Research & Development : R&D) โดยการนำองค์ความรู้ต่างๆเหล่านั้นมาประสมประสานจนก่อให้เกิดเป็นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ หรือกระบวนการใหม่ (New Business Process) หรื่อก่อให้เกิดเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่หรือบริการใหม่ ซึ่งก่อให้เกิดประโยชน์ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม ประเทศชาติ และที่สำคัญคือเป็นประโยชน์ต่อมวลมนุษยชาติหากมองในระดับโลกาภิวัตน์ (Globalization) โดยไม่ได้หมายถึงประโยชน์ทางด้านการเงินเพียงอย่างเดียว แต่จะหมายถึงประโยชน์ที่เป็นมูลค่าทางด้านสังคมและจิตใจในอีกนัยหนึ่งด้วย ดังนั้นดังที่กล่าวมาทรัพยากรมนุษย์จึงเป็นสิ่งแรกที่จะต้องคำนึงถึง เป็นสิ่งที่ขาดเสียมิได้ และต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่จากองค์กร พร้อมกันนั้นการใช้การบริหารการจัดการทรัพยากรมนุษย์ต้องให้มีความทันสมัย ก่อให้เกิดเป็นกระบวนการที่เป็นรูปธรรมที่สามารถจับต้องและนำมาปฏิบัติจนประสพผลสำเร็จตามเป้าหมายหรือนโยบายที่ได้วางไว้ได้ (Achieved)  จากแนวความคิดใหม่ดังกล่าวจัดว่าเป็นการนำความรู้ความคิด และการนำประสบการณ์ที่ได้ในด้านทรัพยากรมนุษย์จนถูกริเริ่มนำมาใช้ ซึ่งจัดเป็นแนวความคิดใหม่จนก่อเกิดเป็นนวัตกรรมในด้านการบริหารการจัดการทรัพยากรมนุษย์ และเป็นนวัตกรรมที่สามารถจับต้องนำมาใช้ได้ เพื่อดูแลและพัฒนาบุคคลากรในองค์กรเหล่านั้นสู่ยุคแห่งการพัฒนาบุคลากรด้านนวัตกรรมในปัจจุบันและในอนาคตอันใกล้ที่กำลังจะมาถึง โดยนวัตกรรมด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ดังกล่าวเห็นว่าบุคลากรมีความสำคัญและมีค่า หรือที่ปัจจุบันเรียกว่า บุคลากรเป็นสินทรัพย์ที่สำคัญอย่างหนึ่งและมีคุณค่ากับองค์กร ที่ต้องดูแลรักษาหรือเก็บรักษาไว้” (Human Capital) บุคคลากรเหล่านั้นอาจก่อให้เกิดหรือสร้างนวัตกรรมได้ในภายหลัง       
  1. การจัดการทรัพยากรมนุษย์มีการทำงานที่เป็นรูปธรรม หรือ Project หรือ Action Plan สามารถทำได้อย่างไร
  นวัตกรรมจะเกิดได้จะต้องเกิดจากการสร้างกระบวนการที่สามารถจับต้องได้ และนำมาใช้ก่อให้เกิดเป็นรูปธรรมได้ ดังนั้นจากคำว่ากระบวนการ จัดอยู่ในเส้นทางที่เรียกว่ากลางน้ำ (Middle-Steam) เป็นกระบวนการในการทำหรือขั้นตอนในการนำไปสู่เป้าหมายที่วางไว้ของนวัตกรรมนั้น ประกอบด้วยการนำความรู้ที่จะต้องคำนึงถึง เช่น 5K, 8K, 4L, 2R และ 3Q เป็นต้น    ในการสร้างเป็นโครงการ (Projects) หรือ แผนปฏิบัติการ (Action Plan) สามารถทำได้โดยการนำโครงการต่างๆนำเสนอต่อผู้บริหารระดับสูงหรือ CEO ขององค์กรนั้น เช่น โครงการการพัฒนาบุคลากรนวัตกรรมในองค์การ (Innovation Human Development Project) มีระยะเวลาของโครงการ 3 เดือนโดยมีบุคลากรในฝ่ายต่างๆเข้าร่วม และจัดทำเป็นแผนปฎิบัติการ (Action Plan) นำเสนอนุมัติอีกครั้ง โดยในแผนปฏิบัติการต้องมีการกำหนดช่วงระยะเวลา และครอบคลุมเรื่องราวต่างดังนี้-          คัดเลือกบุคลากรจากฝ่ายต่างๆ ที่เหมาะสม-          กำหนดหลักสูตร และ Workshop ที่นำมาประกอบขึ้น-          เนื้อหาและขั้นตอนระยะเวลาปฏิบัติที่ต้องมีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผลสูงสุด-          ประเมินผลการฝึกอบรม-          เป็นต้น 
  1. ทำอย่างไรโครงการนวัตกรรมเหล่านั้นจึงจะประสพความสำเร็จ และไม่สำเร็จเพราะอะไร
          ความสำเร็จของนวัตกรรมจัดอยู่ในระดับปลายน้ำ (Down-Steam) ซึ่งจะประสพผลสำเร็จหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับนวัตกรรมนั้นก่อให้เกิดผลสำเร็จตามเป้าหมายหรือไม่ ดังนั้นการนวัตกรรมจะประสพความสำเร็จได้ต้องเกิดจากการประสมประสานที่ดีของ 3 ขั้นตอน (3 Stages) ดังต้องไปนี้
    1. เป็นสิ่งใหม่หรือนวัตกรรม โดยจะต้องคำนึงถึงด้านจริยธรรม (Ethic) เป็นหลัก จากการนำความรู้เดิมหรือความรู้ใหม่ที่เกิดจากการวิจัย นำมาลิเลียน หรือพัฒนาขึ้นใหม่ให้เกิดเป็นสิ่งใหม่ที่เรียกว่านวัตกรรม
    2. นำมาทำหรือปฏิบัติให้เกิดได้ (Getting, Done) เกิดผลเป็นจริง ตรงประเด็น (Reality,     : 2R)
    3. เป็นประโยชน์ต่อด้านเศรษฐกิจ และสังคม  จากการใช้นวัตกรรมนั้น 
               นวัตกรรมที่ไม่ประสพผลสำเร็จเกิดจากสิ่ง 3 สิ่งตามทฤษฎี (3C)1.       Communication Change หมายถึง บุคลากรไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลงในการสื่อสารของนวัตกรรมนั้น2.       Customer Base  หมายถึง นวัตกรรมเหล่านั้นไม่ตอบโจทย์ หรือตอบสนองความต้องการของลูกค้าต่างๆได้3.       Command Control หมายถึง การควบคุมสั่งการไปในทิศทางต้องถูกต้องเหมาะสมกับนวัตกรรมนั้นในความสำเร็จของนวัตกรรมนั้นควรมีการให้รางวัลกับบุคลากรเหล่านั้นเมื่อคิดค้นจนสามารถนำมาประดิษฐ์เป็นสิ่งใหม่ๆที่จัดเป็นผลงานในด้านนวัตกรรม (Innovation) ได้เป็นผลสำเร็จ เพื่อเป็นแรงจูงใจ และเป็นตัวอย่างแก่บุคลากรอื่นๆต่อไป       4.    หากท่านอยากทำนวัตกรรมด้านทรัพยากรมนุษย์เราจะทำในเรื่องใด?             หากข้าพเจ้าจะจัดทำโครงการด้านนวัตกรรมด้านการบริหารการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งข้าพเจ้าจะทำในเรื่องของ การสร้าง             วัฒนธรรมองค์กรเป็นหลัก (Cooperate Culture) เพราะวัฒนธรรมองค์กรที่ดีจัดเป็นการสร้างนวัตกรรมที่ท้าทายอย่างหนึ่ง โดย             จะมีผลดีกับองค์กร สังคม ประเทศชาติ และเป็นประโยชน์ต่อมวลมนุษยชาติในที่สุด  เพราะนวัตกรรมการสร้างวัฒนธรรมองค์กร             ที่ดีจะทำให้ทรัพยากรมนุษย์เหล่านั้นตระหนัก ถึงความสำคัญต่อตนเองและผู้อื่น สามารถประดิษฐคิดค้นและพัฒนาสิ่งต่างๆ ออก              สู่ภายนอก โดยเน้นการนำนวัตกรรมด้านสินค้า และบริการที่ทรงคุณค่า และจริยธรรมทางธุรกิจ ไปสู่สังคมและพลโลกในที่สุด              ข้าพเจ้าจะใช้หลักการ 3C เช่นกัน แต่เป็น 3C สู่ความสำเร็จ คือ-          Communication Clearly หมายถึง ฝึกอบรมให้มีการสื่อสารชัดเจนตรงประเด็น รับผิดชอบต่อการสื่อสารนั้น-          Continuous Human Resource Improvement หมายถึงพัฒนาแนวความคิดของบุคคลด้านการสร้างนวัตกรรมให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง-          Create Business culture on Business Ethic. หมายถึง การสร้างวัฒนธรรมด้านการทำธุรกิจบนจริยธรรมด้านธุรกิจ              เมื่อได้แนวทางและหลักการดังกล่าวก่อเกิดเป็นนวัตกรรมด้านการบริหารการจัดการด้ายทรัพยากรมนุษย์แล้วจากนั้นจะนำไปสร้าง                 กระบวนการและขั้นตอนเพื่อบรรลุเป้าหมายสู่ความสำเร็จต่อไป        

 

นาย จักร์กริช เงาแสงจันทร์ ID: 4914980889, Tel: 01 1711339
รายงานนวัตกรรมกับการบริหารทรัพยกรมนุษย์โครงการบริหารธุรกิจมหาบัญฑิต  MBA (Innovation)นำเสนอ       ท่านอาจารย์ ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์จัดทำโดย  นาย จักร์กริช เงาแสงจันทร์     รหัสนักศึกษา     4914980889Tel: 01-1711339 จากหัวข้อ
  1. การจัดการทรัพยากรมนุษย์เกี่ยวข้องกับนวัตกรรม และมีแนวความคิดใหม่ ได้อย่างไร
นวัตกรรมกับการบริหารการจัดการด้านทรัพยากรมนุษย์เป็นที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง หรือจะกล่าวได้ว่าเป็นสิ่งต้องอยู่คู่กันทั้งในระดับองค์กร จะถึงระดับประเทศก็ว่าได้ เพราะนวัตกรรมทั้งหลายทั้งปวงจะเกิดขึ้นได้ก็ด้วยบุคคล  เช่นบุคคลากรในองค์กร มีแนวความคิด มีความสามารถในการประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่ๆ จากองค์ความรู้ (Knowledge) ที่มีอยู่เดิมในองค์กร หรือในตัวของแต่ละบุคคลเอง หรือองค์ความรู้ที่เกิดจากการวิจัย(Research) หรือ องค์ความรู้ที่เกิดจากการวิจัยและพัฒนาที่ได้สะสมมา (Research & Development : R&D) โดยการนำองค์ความรู้ต่างๆเหล่านั้นมาประสมประสานจนก่อให้เกิดเป็นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ หรือกระบวนการใหม่ (New Business Process) หรื่อก่อให้เกิดเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่หรือบริการใหม่ ซึ่งก่อให้เกิดประโยชน์ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม ประเทศชาติ และที่สำคัญคือเป็นประโยชน์ต่อมวลมนุษยชาติหากมองในระดับโลกาภิวัตน์ (Globalization) โดยไม่ได้หมายถึงประโยชน์ทางด้านการเงินเพียงอย่างเดียว แต่จะหมายถึงประโยชน์ที่เป็นมูลค่าทางด้านสังคมและจิตใจในอีกนัยหนึ่งด้วย ดังนั้นดังที่กล่าวมาทรัพยากรมนุษย์จึงเป็นสิ่งแรกที่จะต้องคำนึงถึง เป็นสิ่งที่ขาดเสียมิได้ และต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่จากองค์กร พร้อมกันนั้นการใช้การบริหารการจัดการทรัพยากรมนุษย์ต้องให้มีความทันสมัย ก่อให้เกิดเป็นกระบวนการที่เป็นรูปธรรมที่สามารถจับต้องและนำมาปฏิบัติจนประสพผลสำเร็จตามเป้าหมายหรือนโยบายที่ได้วางไว้ได้ (Achieved)  จากแนวความคิดใหม่ดังกล่าวจัดว่าเป็นการนำความรู้ความคิด และการนำประสบการณ์ที่ได้ในด้านทรัพยากรมนุษย์จนถูกริเริ่มนำมาใช้ ซึ่งจัดเป็นแนวความคิดใหม่จนก่อเกิดเป็นนวัตกรรมในด้านการบริหารการจัดการทรัพยากรมนุษย์ และเป็นนวัตกรรมที่สามารถจับต้องนำมาใช้ได้ เพื่อดูแลและพัฒนาบุคคลากรในองค์กรเหล่านั้นสู่ยุคแห่งการพัฒนาบุคลากรด้านนวัตกรรมในปัจจุบันและในอนาคตอันใกล้ที่กำลังจะมาถึง โดยนวัตกรรมด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ดังกล่าวเห็นว่าบุคลากรมีความสำคัญและมีค่า หรือที่ปัจจุบันเรียกว่า บุคลากรเป็นสินทรัพย์ที่สำคัญอย่างหนึ่งและมีคุณค่ากับองค์กร ที่ต้องดูแลรักษาหรือเก็บรักษาไว้” (Human Capital) บุคคลากรเหล่านั้นอาจก่อให้เกิดหรือสร้างนวัตกรรมได้ในภายหลัง       
  1. การจัดการทรัพยากรมนุษย์มีการทำงานที่เป็นรูปธรรม หรือ Project หรือ Action Plan สามารถทำได้อย่างไร
  นวัตกรรมจะเกิดได้จะต้องเกิดจากการสร้างกระบวนการที่สามารถจับต้องได้ และนำมาใช้ก่อให้เกิดเป็นรูปธรรมได้ ดังนั้นจากคำว่ากระบวนการ จัดอยู่ในเส้นทางที่เรียกว่ากลางน้ำ (Middle-Steam) เป็นกระบวนการในการทำหรือขั้นตอนในการนำไปสู่เป้าหมายที่วางไว้ของนวัตกรรมนั้น ประกอบด้วยการนำความรู้ที่จะต้องคำนึงถึง เช่น 5K, 8K, 4L, 2R และ 3Q เป็นต้น    ในการสร้างเป็นโครงการ (Projects) หรือ แผนปฏิบัติการ (Action Plan) สามารถทำได้โดยการนำโครงการต่างๆนำเสนอต่อผู้บริหารระดับสูงหรือ CEO ขององค์กรนั้น เช่น โครงการการพัฒนาบุคลากรนวัตกรรมในองค์การ (Innovation Human Development Project) มีระยะเวลาของโครงการ 3 เดือนโดยมีบุคลากรในฝ่ายต่างๆเข้าร่วม และจัดทำเป็นแผนปฎิบัติการ (Action Plan) นำเสนอนุมัติอีกครั้ง โดยในแผนปฏิบัติการต้องมีการกำหนดช่วงระยะเวลา และครอบคลุมเรื่องราวต่างดังนี้-          คัดเลือกบุคลากรจากฝ่ายต่างๆ ที่เหมาะสม-          กำหนดหลักสูตร และ Workshop ที่นำมาประกอบขึ้น-          เนื้อหาและขั้นตอนระยะเวลาปฏิบัติที่ต้องมีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผลสูงสุด-          ประเมินผลการฝึกอบรม-          เป็นต้น 
  1. ทำอย่างไรโครงการนวัตกรรมเหล่านั้นจึงจะประสพความสำเร็จ และไม่สำเร็จเพราะอะไร
          ความสำเร็จของนวัตกรรมจัดอยู่ในระดับปลายน้ำ (Down-Steam) ซึ่งจะประสพผลสำเร็จหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับนวัตกรรมนั้นก่อให้เกิดผลสำเร็จตามเป้าหมายหรือไม่ ดังนั้นการนวัตกรรมจะประสพความสำเร็จได้ต้องเกิดจากการประสมประสานที่ดีของ 3 ขั้นตอน (3 Stages) ดังต้องไปนี้
    1. เป็นสิ่งใหม่หรือนวัตกรรม โดยจะต้องคำนึงถึงด้านจริยธรรม (Ethic) เป็นหลัก จากการนำความรู้เดิมหรือความรู้ใหม่ที่เกิดจากการวิจัย นำมาลิเลียน หรือพัฒนาขึ้นใหม่ให้เกิดเป็นสิ่งใหม่ที่เรียกว่านวัตกรรม
    2. นำมาทำหรือปฏิบัติให้เกิดได้ (Getting, Done) เกิดผลเป็นจริง ตรงประเด็น (Reality, Relevancy : 2R)
    3. เป็นประโยชน์ต่อด้านเศรษฐกิจ และสังคม  จากการใช้นวัตกรรมนั้น 
               นวัตกรรมที่ไม่ประสพผลสำเร็จเกิดจากสิ่ง 3 สิ่งตามทฤษฎี (3C)1.       Communication Change หมายถึง บุคลากรไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลงในการสื่อสารของนวัตกรรมนั้น2.       Customer Base  หมายถึง นวัตกรรมเหล่านั้นไม่ตอบโจทย์ หรือตอบสนองความต้องการของลูกค้าต่างๆได้3.       Command Control หมายถึง การควบคุมสั่งการไปในทิศทางต้องถูกต้องเหมาะสมกับนวัตกรรมนั้นในความสำเร็จของนวัตกรรมนั้นควรมีการให้รางวัลกับบุคลากรเหล่านั้นเมื่อคิดค้นจนสามารถนำมาประดิษฐ์เป็นสิ่งใหม่ๆที่จัดเป็นผลงานในด้านนวัตกรรม (Innovation) ได้เป็นผลสำเร็จ เพื่อเป็นแรงจูงใจ และเป็นตัวอย่างแก่บุคลากรอื่นๆต่อไป       4.    หากท่านอยากทำนวัตกรรมด้านทรัพยากรมนุษย์เราจะทำในเรื่องใด?             หากข้าพเจ้าจะจัดทำโครงการด้านนวัตกรรมด้านการบริหารการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งข้าพเจ้าจะทำในเรื่องของ การสร้าง             วัฒนธรรมองค์กรเป็นหลัก (Cooperate Culture) เพราะวัฒนธรรมองค์กรที่ดีจัดเป็นการสร้างนวัตกรรมที่ท้าทายอย่างหนึ่ง โดย             จะมีผลดีกับองค์กร สังคม ประเทศชาติ และเป็นประโยชน์ต่อมวลมนุษยชาติในที่สุด  เพราะนวัตกรรมการสร้างวัฒนธรรมองค์กร             ที่ดีจะทำให้ทรัพยากรมนุษย์เหล่านั้นตระหนัก ถึงความสำคัญต่อตนเองและผู้อื่น สามารถประดิษฐคิดค้นและพัฒนาสิ่งต่างๆ ออก              สู่ภายนอก โดยเน้นการนำนวัตกรรมด้านสินค้า และบริการที่ทรงคุณค่า และจริยธรรมทางธุรกิจ ไปสู่สังคมและพลโลกในที่สุด              ข้าพเจ้าจะใช้หลักการ 3C เช่นกัน แต่เป็น 3C สู่ความสำเร็จ คือ-          Communication Clearly หมายถึง ฝึกอบรมให้มีการสื่อสารชัดเจนตรงประเด็น รับผิดชอบต่อการสื่อสารนั้น-          Continuous Human Resource Improvement หมายถึงพัฒนาแนวความคิดของบุคคลด้านการสร้างนวัตกรรมให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง-          Create Business culture on Business Ethic. หมายถึง การสร้างวัฒนธรรมด้านการทำธุรกิจบนจริยธรรมด้านธุรกิจ              เมื่อได้แนวทางและหลักการดังกล่าวก่อเกิดเป็นนวัตกรรมด้านการบริหารการจัดการด้ายทรัพยากรมนุษย์แล้วจากนั้นจะนำไปสร้าง                 กระบวนการและขั้นตอนเพื่อบรรลุเป้าหมายสู่ความสำเร็จต่อไป        
นักศึกษาปริญญาโท ด้านการจัดการนวัตกรรม

                ทุกสิ่งในโลกล้วนแล้วแต่เป็นฝีมือมนุษย์ทั้งสิน  มนุษย์เป็นตัวก่อให้เกิดทุกสิ่งไม่ว่าจะเป็นปัญหา  หรือ ความสำเร็จต่างๆ  บางครั้งความสำเร็จก็มาจากความล้มเหลวได้เหมือนกัน  แต่อะไรหละที่เป็นตัวทำให้เกิดการพัฒนาในมนุษย์ได้  โดยการใช้ความรู้  ความคิดสร้างสรร ความมีคุณธรรม  ก็สามารถทำให้เกิดคุณค่ากับตัวเองและสังคมได้  เมื่อทุกสิ่งมารวมกัน  ก็เกิดความคิดสร้างสรรเป็น นวัตกรรม ขึ้น 

           ดังนั้นทรัพยากรมนุษย์จึงมีบทบาทในการเปลี่ยนแปลงทุกสิ่งทุกอย่าง บนโลกได้  โดยการนำความคิดสร้างสรรนั้น ไปทำให้เกิดเป็นรูปธรรม ซึ่งต้องใช้ความรู้  การจัดการ ที่ดี ถ้าทรัพยากรมนุษย์ขาดความรู้ ขาดความสามารถ และขาดการจัดการที่ดี  ก็ไม่สามารถนำความคิดสร้างสรรเหล่านั้น  แสดงออกมาสู่สาธารณชนได้รับรู้ได้                                  ความคิดสร้างสรร (IDEA)                                                               ¯                                  ขั้นตอนการจัดการ (ACTION PLAN)                                                               ¯                                  โครงการ  (PROJECT)                             โดยการใช้ความรู้จากการศึกษา  ค้นคว้า และทดลองในสิ่งที่สร้างสรรขึ้น  โดยความรอบครอบรอบรู้ และประสพการณ์จากผู้รู้รอบๆข้าง  ที่ผ่านขบวนการคิด วิเคราะห์  พัฒนา  และกล้าทำ  กล้าเสี่ยงที่จะพบกับความล้มเหลวได้  อุปสรรคที่ทำให้ไม่ประสบความสำเร็จ    เกิดจากขาดความรู้  ความเข้าใจในสิ่งที่คิดสร้างสรรขึ้น   และสำคัญที่สุดคือ  ขาดความกล้า  ที่จะลงมือทำ และ กล้าที่จะพบกับความผิดหวัง                จากความตั้งใจตั้งแต่แรกว่า จะต้องมี BRAND  ของตัวเองให้ได้     อยากสร้าง สินค้าที่สามารถแก้ปัญหาให้กับผู้สูงอายุ  ให้สามารถดำเนินชีวิตประจำวันได้อย่างมีความสุข และ ปลอดภัยนี่คือ สิ่งที่ตั้งใจไว้   เพราะในปัจจุบันนี้  ผู้สูงอายุจะมีจำนวนมากขึ้น เพราะวิวัฒนาการในทุกๆด้านเจริญก้าวหน้าขึ้น ผู้คนอายุยืนขึ้น นอกจากสุขภาพแล้ว  ผู้สูงอายุทั้งหลายยังประสพกับการดำเนินชีวิตที่ยุ่งยาก  เช่น  จะดื่มน้ำ แต่ไม่มีแรงจะยกแก้วน้ำ  จะลุกขึ้นยืนก็ต้องใช้แรงในการดันตัวเองอย่างมาก   ดังนั้นเมื่อได้อยู่ในสาย นวัตกรรม แล้ว จะออกแบบสินค้าใดๆเพื่อตอบสนองการใช้งานของผู้สูงอายุทั้งหลายให้ได้

 

นาย จักร์กริช เงาแสงจันทร์ ID: 4914980889, Tel: 01 1711339

รายงานนวัตกรรมกับการบริหารการจัดการทรัพยากรมนุษย์ (ฉบับสมบูรณ์)

โครงการบริหารธุรกิจมหาบัญฑิต  MBA (Innovation)นำเสนอ       ท่านอาจารย์ ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์จัดทำโดย  นาย จักร์กริช เงาแสงจันทร์     รหัสนักศึกษา     4914980889Tel: 01-1711339 จากหัวข้อ
  1. การจัดการทรัพยากรมนุษย์เกี่ยวข้องกับนวัตกรรม และมีแนวความคิดใหม่ ได้อย่างไร
นวัตกรรมกับการบริหารการจัดการด้านทรัพยากรมนุษย์เป็นที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง หรือจะกล่าวได้ว่าเป็นสิ่งต้องอยู่คู่กันทั้งในระดับองค์กร จะถึงระดับประเทศก็ว่าได้ เพราะนวัตกรรมทั้งหลายทั้งปวงจะเกิดขึ้นได้ก็ด้วยบุคคล  เช่นบุคคลากรในองค์กร มีแนวความคิด มีความสามารถในการประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่ๆ จากองค์ความรู้ (Knowledge) ที่มีอยู่เดิมในองค์กร หรือในตัวของแต่ละบุคคลเอง หรือองค์ความรู้ที่เกิดจากการวิจัย(Research) หรือ องค์ความรู้ที่เกิดจากการวิจัยและพัฒนาที่ได้สะสมมา (Research & Development : R&D) โดยการนำองค์ความรู้ต่างๆเหล่านั้นมาประสมประสานจนก่อให้เกิดเป็นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ หรือกระบวนการใหม่ (New Business Process) หรื่อก่อให้เกิดเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่หรือบริการใหม่ ซึ่งก่อให้เกิดประโยชน์ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม ประเทศชาติ และที่สำคัญคือเป็นประโยชน์ต่อมวลมนุษยชาติหากมองในระดับโลกาภิวัตน์ (Globalization) โดยไม่ได้หมายถึงประโยชน์ทางด้านการเงินเพียงอย่างเดียว แต่จะหมายถึงประโยชน์ที่เป็นมูลค่าทางด้านสังคมและจิตใจในอีกนัยหนึ่งด้วย ดังนั้นดังที่กล่าวมาทรัพยากรมนุษย์จึงเป็นสิ่งแรกที่จะต้องคำนึงถึง เป็นสิ่งที่ขาดเสียมิได้ และต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่จากองค์กร พร้อมกันนั้นการใช้การบริหารการจัดการทรัพยากรมนุษย์ต้องให้มีความทันสมัย ก่อให้เกิดเป็นกระบวนการที่เป็นรูปธรรมที่สามารถจับต้องและนำมาปฏิบัติจนประสพผลสำเร็จตามเป้าหมายหรือนโยบายที่ได้วางไว้ได้ (Achieved)  จากแนวความคิดใหม่ดังกล่าวจัดว่าเป็นการนำความรู้ความคิด และการนำประสบการณ์ที่ได้ในด้านทรัพยากรมนุษย์จนถูกริเริ่มนำมาใช้ ซึ่งจัดเป็นแนวความคิดใหม่จนก่อเกิดเป็นนวัตกรรมในด้านการบริหารการจัดการทรัพยากรมนุษย์ และเป็นนวัตกรรมที่สามารถจับต้องนำมาใช้ได้ เพื่อดูแลและพัฒนาบุคคลากรในองค์กรเหล่านั้นสู่ยุคแห่งการพัฒนาบุคลากรด้านนวัตกรรมในปัจจุบันและในอนาคตอันใกล้ที่กำลังจะมาถึง โดยนวัตกรรมด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ดังกล่าวเห็นว่าบุคลากรมีความสำคัญและมีค่า หรือที่ปัจจุบันเรียกว่า บุคลากรเป็นสินทรัพย์ที่สำคัญอย่างหนึ่งและมีคุณค่ากับองค์กร ที่ต้องดูแลรักษาหรือเก็บรักษาไว้” (Human Capital) บุคคลากรเหล่านั้นอาจก่อให้เกิดหรือสร้างนวัตกรรมได้ในภายหลัง       
  1. การจัดการทรัพยากรมนุษย์มีการทำงานที่เป็นรูปธรรม หรือ Project หรือ Action Plan สามารถทำได้อย่างไร
  นวัตกรรมจะเกิดได้จะต้องเกิดจากการสร้างกระบวนการที่สามารถจับต้องได้ และนำมาใช้ก่อให้เกิดเป็นรูปธรรมได้ ดังนั้นจากคำว่ากระบวนการ จัดอยู่ในเส้นทางที่เรียกว่ากลางน้ำ (Middle-Steam) เป็นกระบวนการในการทำหรือขั้นตอนในการนำไปสู่เป้าหมายที่วางไว้ของนวัตกรรมนั้น ประกอบด้วยการนำความรู้ที่จะต้องคำนึงถึง เช่น 5K, 8K, 4L, 2R และ 3Q เป็นต้น    ในการสร้างเป็นโครงการ (Projects) หรือ แผนปฏิบัติการ (Action Plan) สามารถทำได้โดยการนำโครงการต่างๆนำเสนอต่อผู้บริหารระดับสูงหรือ CEO ขององค์กรนั้น เช่น โครงการการพัฒนาบุคลากรนวัตกรรมในองค์การ (Innovation Human Development Project) มีระยะเวลาของโครงการ 3 เดือนโดยมีบุคลากรในฝ่ายต่างๆเข้าร่วม และจัดทำเป็นแผนปฎิบัติการ (Action Plan) นำเสนอนุมัติอีกครั้ง โดยในแผนปฏิบัติการต้องมีการกำหนดช่วงระยะเวลา และครอบคลุมเรื่องราวต่างดังนี้-          คัดเลือกบุคลากรจากฝ่ายต่างๆ ที่เหมาะสม-          กำหนดหลักสูตร และ Workshop ที่นำมาประกอบขึ้น-          เนื้อหาและขั้นตอนระยะเวลาปฏิบัติที่ต้องมีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผลสูงสุด-          ประเมินผลการฝึกอบรม-          เป็นต้น 
  1. ทำอย่างไรโครงการนวัตกรรมเหล่านั้นจึงจะประสพความสำเร็จ และไม่สำเร็จเพราะอะไร
          ความสำเร็จของนวัตกรรมจัดอยู่ในระดับปลายน้ำ (Down-Steam) ซึ่งจะประสพผลสำเร็จหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับนวัตกรรมนั้นก่อให้เกิดผลสำเร็จตามเป้าหมายหรือไม่ ดังนั้นการนวัตกรรมจะประสพความสำเร็จได้ต้องเกิดจากการประสมประสานที่ดีของ 3 ขั้นตอน (3 Stages) ดังต้องไปนี้
    1. เป็นสิ่งใหม่หรือนวัตกรรม โดยจะต้องคำนึงถึงด้านจริยธรรม (Ethic) เป็นหลัก จากการนำความรู้เดิมหรือความรู้ใหม่ที่เกิดจากการวิจัย นำมาลิเลียน หรือพัฒนาขึ้นใหม่ให้เกิดเป็นสิ่งใหม่ที่เรียกว่านวัตกรรม
    2. นำมาทำหรือปฏิบัติให้เกิดได้ (Getting, Done) เกิดผลเป็นจริง ตรงประเด็น (Reality, Relevancy : 2R)
    3. เป็นประโยชน์ต่อด้านเศรษฐกิจ และสังคม  จากการใช้นวัตกรรมนั้น 
               นวัตกรรมที่ไม่ประสพผลสำเร็จเกิดจากสิ่ง 3 สิ่งตามทฤษฎี (3C)1.       Communication Change หมายถึง บุคลากรไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลงในการสื่อสารของนวัตกรรมนั้น2.       Customer Base  หมายถึง นวัตกรรมเหล่านั้นไม่ตอบโจทย์ หรือตอบสนองความต้องการของลูกค้าต่างๆได้3.       Command Control หมายถึง การควบคุมสั่งการไปในทิศทางต้องถูกต้องเหมาะสมกับนวัตกรรมนั้นในความสำเร็จของนวัตกรรมนั้นควรมีการให้รางวัลกับบุคลากรเหล่านั้นเมื่อคิดค้นจนสามารถนำมาประดิษฐ์เป็นสิ่งใหม่ๆที่จัดเป็นผลงานในด้านนวัตกรรม (Innovation) ได้เป็นผลสำเร็จ เพื่อเป็นแรงจูงใจ และเป็นตัวอย่างแก่บุคลากรอื่นๆต่อไป       4.    หากท่านอยากทำนวัตกรรมด้านทรัพยากรมนุษย์เราจะทำในเรื่องใด?             หากข้าพเจ้าจะจัดทำโครงการด้านนวัตกรรมด้านการบริหารการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งข้าพเจ้าจะทำในเรื่องของ การสร้าง             วัฒนธรรมองค์กรเป็นหลัก (Cooperate Culture) เพราะวัฒนธรรมองค์กรที่ดีจัดเป็นการสร้างนวัตกรรมที่ท้าทายอย่างหนึ่ง โดย             จะมีผลดีกับองค์กร สังคม ประเทศชาติ และเป็นประโยชน์ต่อมวลมนุษยชาติในที่สุด  เพราะนวัตกรรมการสร้างวัฒนธรรมองค์กร             ที่ดีจะทำให้ทรัพยากรมนุษย์เหล่านั้นตระหนัก ถึงความสำคัญต่อตนเองและผู้อื่น สามารถประดิษฐคิดค้นและพัฒนาสิ่งต่างๆ ออก              สู่ภายนอก โดยเน้นการนำนวัตกรรมด้านสินค้า และบริการที่ทรงคุณค่า และจริยธรรมทางธุรกิจ ไปสู่สังคมและพลโลกในที่สุด              ข้าพเจ้าจะใช้หลักการ 3C เช่นกัน แต่เป็น 3C สู่ความสำเร็จ คือ-          Communication Clearly หมายถึง ฝึกอบรมให้มีการสื่อสารชัดเจนตรงประเด็น รับผิดชอบต่อการสื่อสารนั้น-          Continuous Human Resource Improvement หมายถึงพัฒนาแนวความคิดของบุคคลด้านการสร้างนวัตกรรมให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง-          Create Business culture on Business Ethic. หมายถึง การสร้างวัฒนธรรมด้านการทำธุรกิจบนจริยธรรมด้านธุรกิจ              เมื่อได้แนวทางและหลักการดังกล่าวก่อเกิดเป็นนวัตกรรมด้านการบริหารการจัดการด้ายทรัพยากรมนุษย์แล้วจากนั้นจะนำไปสร้าง                 กระบวนการและขั้นตอนเพื่อบรรลุเป้าหมายสู่ความสำเร็จต่อไป        
อัจฉริยาพร ภูสดศรี

อัจฉริยาพร  ภูสดศรี  ID 4914980686  (no.32)

ลูกศิษย์อาจารย์ที่รามคำแหงนะคะ  ประทับใจมากกับการสอน  เร้าใจและตรงประเด็น

และขอตอบคำถามอย่างตรงประเด็นเลยนะคะ

ในความเข้าใจของดิฉัน นวัตกรรม คือ การทำสิ่งที่มีอยู่แล้ว ให้เกิดเป็นสิ่งที่ดีขึ้น เป็นการดึงศักยภาพที่แท้จริงออกมา โดยอาศัยคนมีฝีมือ

1.มนุษย์เป็นทรัพยากรที่สำคัญในการผลักดันให้เกิดนวัตกรรม (แต่ต้องเป็นคนเก่งด้วยนะ)  เหมือนที่เล่าปี่ได้ขงเบ้งมาช่วยงาน  แล้วขงเบ้ง(HR) ก็สร้างนวัตกรรมโดยการใช้สิ่งที่อยู่ (กวนอู+เตียวหุย) อย่างถูกทางในการรบขยายดินแดน (ถึงแม้ตอนท้ายจะทำไม่สำเร็จ )

2.ขงเบ้งก็ได้นำ idea ของเล่าปี่ (การรวบรวมแผ่นดินวงศ์ฮั่น) มาวางแผนการที่ดี  และมีผู้ปฏิบัติการตามแผนที่วางไว้อย่างดีเยี่ยม และเปิดตัวได้ดี กับการจัดการกับทหารโจโฉ โดยเอาชนะได้แม้มีคนน้อยกว่า

3.โครงการจะประสบผลสำเร็จหรือไม่นั้น อยู่ที่ทิศทางที่ชัดเจนเด็ดเดี่ยวของผู้นำ การบำรุงขวัญกำลังใจลูกน้องที่เหมาะสมตามความชอบ  ส่วนที่ทำให้ไม่ประสบผลสำเร็จ  ส่วนใหญ่แล้วมักมาจากผู้นำที่ไม่ดี โลเลไม่กล้าตัดสินใจ ใจแคบ  และเหตุการณ์เฉพาะหน้าต่างๆที่ควบคุมไม่ได้

4.โครงการที่อยากจะทำนั่นคือ การเปิดโรงเรียนอนุบาลเพื่อสร้างเยาวชนเพื่อเป็นผู้นำที่ดี คิดเป็น ทำเป็น เพราะส่งเหล่านี้ถ้าได้รับการปลูกฝังที่ดีตั้งแต่เด็ก

ดิฉันเชื่อว่าเมื่อโตขึ้นพวกเขาจะเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีค่า ในการนำนวัตกรรมต่างๆให้เกิดขึ้น

เพราะในทุกสังคมมีต้องผู้นำ และยิ่งถ้าเป็นผู้นำที่ดีมีศักยภาพ สังคมนั้นก็จะดีตามไปด้วย

 

 

นาย จักร์กริช เงาแสงจันทร์ ID: 4914980889 Tel: 01 1711339

รายงานนวัตกรรมกับการบริหารการจัดการทรัพยากรมนุษย์ (ฉบับสมบูรณ์)

โครงการบริหารธุรกิจมหาบัญฑิต  MBA (Innovation)นำเสนอ       ท่านอาจารย์ ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์จัดทำโดย  นาย จักร์กริช เงาแสงจันทร์     รหัสนักศึกษา     4914980889Tel: 01-1711339 จากหัวข้อ
  1. การจัดการทรัพยากรมนุษย์เกี่ยวข้องกับนวัตกรรม และมีแนวความคิดใหม่ ได้อย่างไร
นวัตกรรมกับการบริหารการจัดการด้านทรัพยากรมนุษย์เป็นที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง หรือจะกล่าวได้ว่าเป็นสิ่งต้องอยู่คู่กันทั้งในระดับองค์กร จะถึงระดับประเทศก็ว่าได้ เพราะนวัตกรรมทั้งหลายทั้งปวงจะเกิดขึ้นได้ก็ด้วยบุคคล  เช่นบุคคลากรในองค์กร มีแนวความคิด มีความสามารถในการประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่ๆ จากองค์ความรู้ (Knowledge) ที่มีอยู่เดิมในองค์กร หรือในตัวของแต่ละบุคคลเอง หรือองค์ความรู้ที่เกิดจากการวิจัย(Research) หรือ องค์ความรู้ที่เกิดจากการวิจัยและพัฒนาที่ได้สะสมมา (Research & Development : R&D) โดยการนำองค์ความรู้ต่างๆเหล่านั้นมาประสมประสานจนก่อให้เกิดเป็นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ หรือกระบวนการใหม่ (New Business Process) หรื่อก่อให้เกิดเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่หรือบริการใหม่ ซึ่งก่อให้เกิดประโยชน์ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม ประเทศชาติ และที่สำคัญคือเป็นประโยชน์ต่อมวลมนุษยชาติหากมองในระดับโลกาภิวัตน์ (Globalization) โดยไม่ได้หมายถึงประโยชน์ทางด้านการเงินเพียงอย่างเดียว แต่จะหมายถึงประโยชน์ที่เป็นมูลค่าทางด้านสังคมและจิตใจในอีกนัยหนึ่งด้วย ดังนั้นดังที่กล่าวมาทรัพยากรมนุษย์จึงเป็นสิ่งแรกที่จะต้องคำนึงถึง เป็นสิ่งที่ขาดเสียมิได้ และต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่จากองค์กร พร้อมกันนั้นการใช้การบริหารการจัดการทรัพยากรมนุษย์ต้องให้มีความทันสมัย ก่อให้เกิดเป็นกระบวนการที่เป็นรูปธรรมที่สามารถจับต้องและนำมาปฏิบัติจนประสพผลสำเร็จตามเป้าหมายหรือนโยบายที่ได้วางไว้ได้ (Achieved)  จากแนวความคิดใหม่ดังกล่าวจัดว่าเป็นการนำความรู้ความคิด และการนำประสบการณ์ที่ได้ในด้านทรัพยากรมนุษย์จนถูกริเริ่มนำมาใช้ ซึ่งจัดเป็นแนวความคิดใหม่จนก่อเกิดเป็นนวัตกรรมในด้านการบริหารการจัดการทรัพยากรมนุษย์ และเป็นนวัตกรรมที่สามารถจับต้องนำมาใช้ได้ เพื่อดูแลและพัฒนาบุคคลากรในองค์กรเหล่านั้นสู่ยุคแห่งการพัฒนาบุคลากรด้านนวัตกรรมในปัจจุบันและในอนาคตอันใกล้ที่กำลังจะมาถึง โดยนวัตกรรมด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ดังกล่าวเห็นว่าบุคลากรมีความสำคัญและมีค่า หรือที่ปัจจุบันเรียกว่า บุคลากรเป็นสินทรัพย์ที่สำคัญอย่างหนึ่งและมีคุณค่ากับองค์กร ที่ต้องดูแลรักษาหรือเก็บรักษาไว้” (Human Capital) บุคคลากรเหล่านั้นอาจก่อให้เกิดหรือสร้างนวัตกรรมได้ในภายหลัง       
  1. การจัดการทรัพยากรมนุษย์มีการทำงานที่เป็นรูปธรรม หรือ Project หรือ Action Plan สามารถทำได้อย่างไร
  นวัตกรรมจะเกิดได้จะต้องเกิดจากการสร้างกระบวนการที่สามารถจับต้องได้ และนำมาใช้ก่อให้เกิดเป็นรูปธรรมได้ ดังนั้นจากคำว่ากระบวนการ จัดอยู่ในเส้นทางที่เรียกว่ากลางน้ำ (Middle-Steam) เป็นกระบวนการในการทำหรือขั้นตอนในการนำไปสู่เป้าหมายที่วางไว้ของนวัตกรรมนั้น ประกอบด้วยการนำความรู้ที่จะต้องคำนึงถึง เช่น 5K, 8K, 4L, 2R และ 3Q เป็นต้น    ในการสร้างเป็นโครงการ (Projects) หรือ แผนปฏิบัติการ (Action Plan) สามารถทำได้โดยการนำโครงการต่างๆนำเสนอต่อผู้บริหารระดับสูงหรือ CEO ขององค์กรนั้น เช่น โครงการการพัฒนาบุคลากรนวัตกรรมในองค์การ (Innovation Human Development Project) มีระยะเวลาของโครงการ 3 เดือนโดยมีบุคลากรในฝ่ายต่างๆเข้าร่วม และจัดทำเป็นแผนปฎิบัติการ (Action Plan) นำเสนอนุมัติอีกครั้ง โดยในแผนปฏิบัติการต้องมีการกำหนดช่วงระยะเวลา และครอบคลุมเรื่องราวต่างดังนี้-          คัดเลือกบุคลากรจากฝ่ายต่างๆ ที่เหมาะสม-          กำหนดหลักสูตร และ Workshop ที่นำมาประกอบขึ้น-          เนื้อหาและขั้นตอนระยะเวลาปฏิบัติที่ต้องมีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผลสูงสุด-          ประเมินผลการฝึกอบรม-          เป็นต้น 
  1. ทำอย่างไรโครงการนวัตกรรมเหล่านั้นจึงจะประสพความสำเร็จ และไม่สำเร็จเพราะอะไร
          ความสำเร็จของนวัตกรรมจัดอยู่ในระดับปลายน้ำ (Down-Steam) ซึ่งจะประสพผลสำเร็จหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับนวัตกรรมนั้นก่อให้เกิดผลสำเร็จตามเป้าหมายหรือไม่ ดังนั้นการนวัตกรรมจะประสพความสำเร็จได้ต้องเกิดจากการประสมประสานที่ดีของ 3 ขั้นตอน (3 Stages) ดังต้องไปนี้
    1. เป็นสิ่งใหม่หรือนวัตกรรม โดยจะต้องคำนึงถึงด้านจริยธรรม (Ethic) เป็นหลัก จากการนำความรู้เดิมหรือความรู้ใหม่ที่เกิดจากการวิจัย นำมาลิเลียน หรือพัฒนาขึ้นใหม่ให้เกิดเป็นสิ่งใหม่ที่เรียกว่านวัตกรรม
    2. นำมาทำหรือปฏิบัติให้เกิดได้ (Getting, Done) เกิดผลเป็นจริง ตรงประเด็น (Reality, Relevancy : 2R)
    3. เป็นประโยชน์ต่อด้านเศรษฐกิจ และสังคม  จากการใช้นวัตกรรมนั้น 
               นวัตกรรมที่ไม่ประสพผลสำเร็จเกิดจากสิ่ง 3 สิ่งตามทฤษฎี (3C)1.       Communication Change หมายถึง บุคลากรไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลงในการสื่อสารของนวัตกรรมนั้น2.       Customer Base  หมายถึง นวัตกรรมเหล่านั้นไม่ตอบโจทย์ หรือตอบสนองความต้องการของลูกค้าต่างๆได้3.       Command Control หมายถึง การควบคุมสั่งการไปในทิศทางต้องถูกต้องเหมาะสมกับนวัตกรรมนั้นในความสำเร็จของนวัตกรรมนั้นควรมีการให้รางวัลกับบุคลากรเหล่านั้นเมื่อคิดค้นจนสามารถนำมาประดิษฐ์เป็นสิ่งใหม่ๆที่จัดเป็นผลงานในด้านนวัตกรรม (Innovation) ได้เป็นผลสำเร็จ เพื่อเป็นแรงจูงใจ และเป็นตัวอย่างแก่บุคลากรอื่นๆต่อไป       4.    หากท่านอยากทำนวัตกรรมด้านทรัพยากรมนุษย์เราจะทำในเรื่องใด?             หากข้าพเจ้าจะจัดทำโครงการด้านนวัตกรรมด้านการบริหารการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งข้าพเจ้าจะทำในเรื่องของ การสร้าง             วัฒนธรรมองค์กรเป็นหลัก (Cooperate Culture) เพราะวัฒนธรรมองค์กรที่ดีจัดเป็นการสร้างนวัตกรรมที่ท้าทายอย่างหนึ่ง โดย             จะมีผลดีกับองค์กร สังคม ประเทศชาติ และเป็นประโยชน์ต่อมวลมนุษยชาติในที่สุด  เพราะนวัตกรรมการสร้างวัฒนธรรมองค์กร             ที่ดีจะทำให้ทรัพยากรมนุษย์เหล่านั้นตระหนัก ถึงความสำคัญต่อตนเองและผู้อื่น สามารถประดิษฐคิดค้นและพัฒนาสิ่งต่างๆ ออก              สู่ภายนอก โดยเน้นการนำนวัตกรรมด้านสินค้า และบริการที่ทรงคุณค่า และจริยธรรมทางธุรกิจ ไปสู่สังคมและพลโลกในที่สุด              ข้าพเจ้าจะใช้หลักการ 3C เช่นกัน แต่เป็น 3C สู่ความสำเร็จ คือ-          Communication Clearly หมายถึง ฝึกอบรมให้มีการสื่อสารชัดเจนตรงประเด็น รับผิดชอบต่อการสื่อสารนั้น-          Continuous Human Resource Improvement หมายถึงพัฒนาแนวความคิดของบุคคลด้านการสร้างนวัตกรรมให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง-          Create Business culture on Business Ethic. หมายถึง การสร้างวัฒนธรรมด้านการทำธุรกิจบนจริยธรรมด้านธุรกิจ              เมื่อได้แนวทางและหลักการดังกล่าวก่อเกิดเป็นนวัตกรรมด้านการบริหารการจัดการด้ายทรัพยากรมนุษย์แล้วจากนั้นจะนำไปสร้าง                 กระบวนการและขั้นตอนเพื่อบรรลุเป้าหมายสู่ความสำเร็จต่อไป        
นาย จักร์กริช เงาแสงจันทร์ ID: 4914980889 Tel: 01 1711339
รายงานนวัตกรรมกับการบริหารการจัดการทรัพยากรมนุษย์โครงการบริหารธุรกิจมหาบัญฑิต  MBA (Innovation)นำเสนอ       ท่านอาจารย์ ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์จัดทำโดย  นาย จักร์กริช เงาแสงจันทร์     รหัสนักศึกษา     4914980889Tel: 01-1711339 จากหัวข้อ 1.  การจัดการทรัพยากรมนุษย์เกี่ยวข้องกับนวัตกรรม และมีแนวความคิดใหม่ ได้อย่างไรนวัตกรรมกับการบริหารการจัดการด้านทรัพยากรมนุษย์เป็นที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง หรือจะกล่าวได้ว่าเป็นสิ่งต้องอยู่คู่กันทั้งในระดับองค์กร จะถึงระดับประเทศก็ว่าได้ เพราะนวัตกรรมทั้งหลายทั้งปวงจะเกิดขึ้นได้ก็ด้วยบุคคล  เช่นบุคคลากรในองค์กร มีแนวความคิด มีความสามารถในการประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่ๆ จากองค์ความรู้ (Knowledge) ที่มีอยู่เดิมในองค์กร หรือในตัวของแต่ละบุคคลเอง หรือองค์ความรู้ที่เกิดจากการวิจัย(Research) หรือ องค์ความรู้ที่เกิดจากการวิจัยและพัฒนาที่ได้สะสมมา (Research & Development : R&D) โดยการนำองค์ความรู้ต่างๆเหล่านั้นมาประสมประสานจนก่อให้เกิดเป็นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ หรือกระบวนการใหม่ (New Business Process) หรื่อก่อให้เกิดเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่หรือบริการใหม่ ซึ่งก่อให้เกิดประโยชน์ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม ประเทศชาติ และที่สำคัญคือเป็นประโยชน์ต่อมวลมนุษยชาติหากมองในระดับโลกาภิวัตน์ (Globalization) โดยไม่ได้หมายถึงประโยชน์ทางด้านการเงินเพียงอย่างเดียว แต่จะหมายถึงประโยชน์ที่เป็นมูลค่าทางด้านสังคมและจิตใจในอีกนัยหนึ่งด้วย ดังนั้นดังที่กล่าวมาทรัพยากรมนุษย์จึงเป็นสิ่งแรกที่จะต้องคำนึงถึง เป็นสิ่งที่ขาดเสียมิได้ และต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่จากองค์กร พร้อมกันนั้นการใช้การบริหารการจัดการทรัพยากรมนุษย์ต้องให้มีความทันสมัย ก่อให้เกิดเป็นกระบวนการที่เป็นรูปธรรมที่สามารถจับต้องและนำมาปฏิบัติจนประสพผลสำเร็จตามเป้าหมายหรือนโยบายที่ได้วางไว้ได้ (Achieved)  จากแนวความคิดใหม่ดังกล่าวจัดว่าเป็นการนำความรู้ความคิด และการนำประสบการณ์ที่ได้ในด้านทรัพยากรมนุษย์จนถูกริเริ่มนำมาใช้ ซึ่งจัดเป็นแนวความคิดใหม่จนก่อเกิดเป็นนวัตกรรมในด้านการบริหารการจัดการทรัพยากรมนุษย์ และเป็นนวัตกรรมที่สามารถจับต้องนำมาใช้ได้ เพื่อดูแลและพัฒนาบุคคลากรในองค์กรเหล่านั้นสู่ยุคแห่งการพัฒนาบุคลากรด้านนวัตกรรมในปัจจุบันและในอนาคตอันใกล้ที่กำลังจะมาถึง โดยนวัตกรรมด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ดังกล่าวเห็นว่าบุคลากรมีความสำคัญและมีค่า หรือที่ปัจจุบันเรียกว่า บุคลากรเป็นสินทรัพย์ที่สำคัญอย่างหนึ่งและมีคุณค่ากับองค์กร ที่ต้องดูแลรักษาหรือเก็บรักษาไว้” (Human Capital) บุคคลากรเหล่านั้นอาจก่อให้เกิดหรือสร้างนวัตกรรมได้ในภายหลัง        2. การจัดการทรัพยากรมนุษย์มีการทำงานที่เป็นรูปธรรม หรือ Project หรือ Action Plan สามารถทำได้อย่างไร  นวัตกรรมจะเกิดได้จะต้องเกิดจากการสร้างกระบวนการที่สามารถจับต้องได้ และนำมาใช้ก่อให้เกิดเป็นรูปธรรมได้ ดังนั้นจากคำว่ากระบวนการ จัดอยู่ในเส้นทางที่เรียกว่ากลางน้ำ (Middle-Steam) เป็นกระบวนการในการทำหรือขั้นตอนในการนำไปสู่เป้าหมายที่วางไว้ของนวัตกรรมนั้น ประกอบด้วยการนำความรู้ที่จะต้องคำนึงถึง เช่น 5K, 8K, 4L, 2R และ 3Q เป็นต้น    ในการสร้างเป็นโครงการ (Projects) หรือ แผนปฏิบัติการ (Action Plan) สามารถทำได้โดยการนำโครงการต่างๆนำเสนอต่อผู้บริหารระดับสูงหรือ CEO ขององค์กรนั้น เช่น โครงการการพัฒนาบุคลากรนวัตกรรมในองค์การ (Innovation Human Development Project) มีระยะเวลาของโครงการ 3 เดือนโดยมีบุคลากรในฝ่ายต่างๆเข้าร่วม และจัดทำเป็นแผนปฎิบัติการ (Action Plan) นำเสนอนุมัติอีกครั้ง โดยในแผนปฏิบัติการต้องมีการกำหนดช่วงระยะเวลา และครอบคลุมเรื่องราวต่างดังนี้-          คัดเลือกบุคลากรจากฝ่ายต่างๆ ที่เหมาะสม-          กำหนดหลักสูตร และ Workshop ที่นำมาประกอบขึ้น-          เนื้อหาและขั้นตอนระยะเวลาปฏิบัติที่ต้องมีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผลสูงสุด-          ประเมินผลการฝึกอบรม-          เป็นต้น 3.  ทำอย่างไรโครงการนวัตกรรมเหล่านั้นจึงจะประสพความสำเร็จ และไม่สำเร็จเพราะอะไร          ความสำเร็จของนวัตกรรมจัดอยู่ในระดับปลายน้ำ (Down-Steam) ซึ่งจะประสพผลสำเร็จหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับนวัตกรรมนั้นก่อให้เกิดผลสำเร็จตามเป้าหมายหรือไม่ ดังนั้นการนวัตกรรมจะประสพความสำเร็จได้ต้องเกิดจากการประสมประสานที่ดีของ 3 ขั้นตอน (3 Stages) ดังต้องไปนี้
    1. เป็นสิ่งใหม่หรือนวัตกรรม โดยจะต้องคำนึงถึงด้านจริยธรรม (Ethic) เป็นหลัก จากการนำความรู้เดิมหรือความรู้ใหม่ที่เกิดจากการวิจัย นำมาลิเลียน หรือพัฒนาขึ้นใหม่ให้เกิดเป็นสิ่งใหม่ที่เรียกว่านวัตกรรม
    2. นำมาทำหรือปฏิบัติให้เกิดได้ (Getting, Done) เกิดผลเป็นจริง ตรงประเด็น (Reality, Relevancy : 2R)
    3. เป็นประโยชน์ต่อด้านเศรษฐกิจ และสังคม  จากการใช้นวัตกรรมนั้น 
               นวัตกรรมที่ไม่ประสพผลสำเร็จเกิดจากสิ่ง 3 สิ่งตามทฤษฎี (3C)1.       Communication Change หมายถึง บุคลากรไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลงในการสื่อสารของนวัตกรรมนั้น2.       Customer Base  หมายถึง นวัตกรรมเหล่านั้นไม่ตอบโจทย์ หรือตอบสนองความต้องการของลูกค้าต่างๆได้3.       Command Control หมายถึง การควบคุมสั่งการไปในทิศทางต้องถูกต้องเหมาะสมกับนวัตกรรมนั้นในความสำเร็จของนวัตกรรมนั้นควรมีการให้รางวัลกับบุคลากรเหล่านั้นเมื่อคิดค้นจนสามารถนำมาประดิษฐ์เป็นสิ่งใหม่ๆที่จัดเป็นผลงานในด้านนวัตกรรม (Innovation) ได้เป็นผลสำเร็จ เพื่อเป็นแรงจูงใจ และเป็นตัวอย่างแก่บุคลากรอื่นๆต่อไป   

   

4.  หากท่านอยากทำนวัตกรรมด้านทรัพยากรมนุษย์เราจะทำในเรื่องใด?             หากข้าพเจ้าจะจัดทำโครงการด้านนวัตกรรมด้านการบริหารการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งข้าพเจ้าจะทำในเรื่องของ การสร้าง             วัฒนธรรมองค์กรเป็นหลัก (Cooperate Culture) เพราะวัฒนธรรมองค์กรที่ดีจัดเป็นการสร้างนวัตกรรมที่ท้าทายอย่างหนึ่ง โดย             จะมีผลดีกับองค์กร สังคม ประเทศชาติ และเป็นประโยชน์ต่อมวลมนุษยชาติในที่สุด  เพราะนวัตกรรมการสร้างวัฒนธรรมองค์กร             ที่ดีจะทำให้ทรัพยากรมนุษย์เหล่านั้นตระหนัก ถึงความสำคัญต่อตนเองและผู้อื่น สามารถประดิษฐคิดค้นและพัฒนาสิ่งต่างๆ ออก              สู่ภายนอก โดยเน้นการนำนวัตกรรมด้านสินค้า และบริการที่ทรงคุณค่า และจริยธรรมทางธุรกิจ ไปสู่สังคมและพลโลกในที่สุด              ข้าพเจ้าจะใช้หลักการ 3C เช่นกัน แต่เป็น 3C สู่ความสำเร็จ คือ-          Communication Clearly หมายถึง ฝึกอบรมให้มีการสื่อสารชัดเจนตรงประเด็น รับผิดชอบต่อการสื่อสารนั้น-          Continuous Human Resource Improvement หมายถึงพัฒนาแนวความคิดของบุคคลด้านการสร้างนวัตกรรมให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง-          Create Business culture on Business Ethic. หมายถึง การสร้างวัฒนธรรมด้านการทำธุรกิจบนจริยธรรมด้านธุรกิจ              เมื่อได้แนวทางและหลักการดังกล่าวก่อเกิดเป็นนวัตกรรมด้านการบริหารการจัดการด้ายทรัพยากรมนุษย์แล้วจากนั้นจะนำไปสร้าง                 กระบวนการและขั้นตอนเพื่อบรรลุเป้าหมายสู่ความสำเร็จต่อไป        
นาย จักร์กริช เงาแสงจันทร์ ID: 4914980889 Tel: 011711339
รายงานนวัตกรรมกับการบริหารการจัดการทรัพยากรมนุษย์โครงการบริหารธุรกิจมหาบัญฑิต  MBA (Innovation)นำเสนอ       ท่านอาจารย์ ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์จัดทำโดย  นาย จักร์กริช เงาแสงจันทร์     รหัสนักศึกษา     4914980889Tel: 01-1711339 จากหัวข้อ
  1. การจัดการทรัพยากรมนุษย์เกี่ยวข้องกับนวัตกรรม และมีแนวความคิดใหม่ ได้อย่างไร
นวัตกรรมกับการบริหารการจัดการด้านทรัพยากรมนุษย์เป็นที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง หรือจะกล่าวได้ว่าเป็นสิ่งต้องอยู่คู่กันทั้งในระดับองค์กร จะถึงระดับประเทศก็ว่าได้ เพราะนวัตกรรมทั้งหลายทั้งปวงจะเกิดขึ้นได้ก็ด้วยบุคคล  เช่นบุคคลากรในองค์กร มีแนวความคิด มีความสามารถในการประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่ๆ จากองค์ความรู้ (Knowledge) ที่มีอยู่เดิมในองค์กร หรือในตัวของแต่ละบุคคลเอง หรือองค์ความรู้ที่เกิดจากการวิจัย(Research) หรือ องค์ความรู้ที่เกิดจากการวิจัยและพัฒนาที่ได้สะสมมา (Research & Development : R&D) โดยการนำองค์ความรู้ต่างๆเหล่านั้นมาประสมประสานจนก่อให้เกิดเป็นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ หรือกระบวนการใหม่ (New Business Process) หรื่อก่อให้เกิดเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่หรือบริการใหม่ ซึ่งก่อให้เกิดประโยชน์ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม ประเทศชาติ และที่สำคัญคือเป็นประโยชน์ต่อมวลมนุษยชาติหากมองในระดับโลกาภิวัตน์ (Globalization) โดยไม่ได้หมายถึงประโยชน์ทางด้านการเงินเพียงอย่างเดียว แต่จะหมายถึงประโยชน์ที่เป็นมูลค่าทางด้านสังคมและจิตใจในอีกนัยหนึ่งด้วย ดังนั้นดังที่กล่าวมาทรัพยากรมนุษย์จึงเป็นสิ่งแรกที่จะต้องคำนึงถึง เป็นสิ่งที่ขาดเสียมิได้ และต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่จากองค์กร พร้อมกันนั้นการใช้การบริหารการจัดการทรัพยากรมนุษย์ต้องให้มีความทันสมัย ก่อให้เกิดเป็นกระบวนการที่เป็นรูปธรรมที่สามารถจับต้องและนำมาปฏิบัติจนประสพผลสำเร็จตามเป้าหมายหรือนโยบายที่ได้วางไว้ได้ (Achieved)  จากแนวความคิดใหม่ดังกล่าวจัดว่าเป็นการนำความรู้ความคิด และการนำประสบการณ์ที่ได้ในด้านทรัพยากรมนุษย์จนถูกริเริ่มนำมาใช้ ซึ่งจัดเป็นแนวความคิดใหม่จนก่อเกิดเป็นนวัตกรรมในด้านการบริหารการจัดการทรัพยากรมนุษย์ และเป็นนวัตกรรมที่สามารถจับต้องนำมาใช้ได้ เพื่อดูแลและพัฒนาบุคคลากรในองค์กรเหล่านั้นสู่ยุคแห่งการพัฒนาบุคลากรด้านนวัตกรรมในปัจจุบันและในอนาคตอันใกล้ที่กำลังจะมาถึง โดยนวัตกรรมด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ดังกล่าวเห็นว่าบุคลากรมีความสำคัญและมีค่า หรือที่ปัจจุบันเรียกว่า บุคลากรเป็นสินทรัพย์ที่สำคัญอย่างหนึ่งและมีคุณค่ากับองค์กร ที่ต้องดูแลรักษาหรือเก็บรักษาไว้” (Human Capital) บุคคลากรเหล่านั้นอาจก่อให้เกิดหรือสร้างนวัตกรรมได้ในภายหลัง        2.    การจัดการทรัพยากรมนุษย์มีการทำงานที่เป็นรูปธรรม หรือ Project หรือ Action Plan สามารถทำได้อย่างไร  นวัตกรรมจะเกิดได้จะต้องเกิดจากการสร้างกระบวนการที่สามารถจับต้องได้ และนำมาใช้ก่อให้เกิดเป็นรูปธรรมได้ ดังนั้นจากคำว่ากระบวนการ จัดอยู่ในเส้นทางที่เรียกว่ากลางน้ำ (Middle-Steam) เป็นกระบวนการในการทำหรือขั้นตอนในการนำไปสู่เป้าหมายที่วางไว้ของนวัตกรรมนั้น ประกอบด้วยการนำความรู้ที่จะต้องคำนึงถึง เช่น 5K, 8K, 4L, 2R และ 3Q เป็นต้น    ในการสร้างเป็นโครงการ (Projects) หรือ แผนปฏิบัติการ (Action Plan) สามารถทำได้โดยการนำโครงการต่างๆนำเสนอต่อผู้บริหารระดับสูงหรือ CEO ขององค์กรนั้น เช่น โครงการการพัฒนาบุคลากรนวัตกรรมในองค์การ (Innovation Human Development Project) มีระยะเวลาของโครงการ 3 เดือนโดยมีบุคลากรในฝ่ายต่างๆเข้าร่วม และจัดทำเป็นแผนปฎิบัติการ (Action Plan) นำเสนอนุมัติอีกครั้ง โดยในแผนปฏิบัติการต้องมีการกำหนดช่วงระยะเวลา และครอบคลุมเรื่องราวต่างดังนี้-          คัดเลือกบุคลากรจากฝ่ายต่างๆ ที่เหมาะสม-          กำหนดหลักสูตร และ Workshop ที่นำมาประกอบขึ้น-          เนื้อหาและขั้นตอนระยะเวลาปฏิบัติที่ต้องมีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผลสูงสุด-          ประเมินผลการฝึกอบรม-          เป็นต้น 3.   ทำอย่างไรโครงการนวัตกรรมเหล่านั้นจึงจะประสพความสำเร็จ และไม่สำเร็จเพราะอะไร          ความสำเร็จของนวัตกรรมจัดอยู่ในระดับปลายน้ำ (Down-Steam) ซึ่งจะประสพผลสำเร็จหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับนวัตกรรมนั้นก่อให้เกิดผลสำเร็จตามเป้าหมายหรือไม่ ดังนั้นการนวัตกรรมจะประสพความสำเร็จได้ต้องเกิดจากการประสมประสานที่ดีของ 3 ขั้นตอน (3 Stages) ดังต้องไปนี้
    1. เป็นสิ่งใหม่หรือนวัตกรรม โดยจะต้องคำนึงถึงด้านจริยธรรม (Ethic) เป็นหลัก จากการนำความรู้เดิมหรือความรู้ใหม่ที่เกิดจากการวิจัย นำมาลิเลียน หรือพัฒนาขึ้นใหม่ให้เกิดเป็นสิ่งใหม่ที่เรียกว่านวัตกรรม
    2. นำมาทำหรือปฏิบัติให้เกิดได้ (Getting, Done) เกิดผลเป็นจริง ตรงประเด็น (Reality, Relevancy : 2R)
    3. เป็นประโยชน์ต่อด้านเศรษฐกิจ และสังคม  จากการใช้นวัตกรรมนั้น 
               นวัตกรรมที่ไม่ประสพผลสำเร็จเกิดจากสิ่ง 3 สิ่งตามทฤษฎี (3C)1.       Communication Change หมายถึง บุคลากรไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลงในการสื่อสารของนวัตกรรมนั้น2.       Customer Base  หมายถึง นวัตกรรมเหล่านั้นไม่ตอบโจทย์ หรือตอบสนองความต้องการของลูกค้าต่างๆได้3.       Command Control หมายถึง การควบคุมสั่งการไปในทิศทางต้องถูกต้องเหมาะสมกับนวัตกรรมนั้นในความสำเร็จของนวัตกรรมนั้นควรมีการให้รางวัลกับบุคลากรเหล่านั้นเมื่อคิดค้นจนสามารถนำมาประดิษฐ์เป็นสิ่งใหม่ๆที่จัดเป็นผลงานในด้านนวัตกรรม (Innovation) ได้เป็นผลสำเร็จ เพื่อเป็นแรงจูงใจ และเป็นตัวอย่างแก่บุคลากรอื่นๆต่อไป       4.    หากท่านอยากทำนวัตกรรมด้านทรัพยากรมนุษย์เราจะทำในเรื่องใด?             หากข้าพเจ้าจะจัดทำโครงการด้านนวัตกรรมด้านการบริหารการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งข้าพเจ้าจะทำในเรื่องของ การสร้าง             วัฒนธรรมองค์กรเป็นหลัก (Cooperative Culture) เพราะวัฒนธรรมองค์กรที่ดีจัดเป็นการสร้างนวัตกรรมที่ท้าทายอย่างหนึ่ง โดย             จะมีผลดีกับองค์กร สังคม ประเทศชาติ และเป็นประโยชน์ต่อมวลมนุษยชาติในที่สุด  เพราะนวัตกรรมการสร้างวัฒนธรรมองค์กร             ที่ดีจะทำให้ทรัพยากรมนุษย์เหล่านั้นตระหนัก ถึงความสำคัญต่อตนเองและผู้อื่น สามารถประดิษฐคิดค้นและพัฒนาสิ่งต่างๆ ออก              สู่ภายนอก โดยเน้นการนำนวัตกรรมด้านสินค้า และบริการที่ทรงคุณค่า และจริยธรรมทางธุรกิจ ไปสู่สังคมและพลโลกในที่สุด              ข้าพเจ้าจะใช้หลักการ 3C เช่นกัน แต่เป็น 3C สู่ความสำเร็จ คือ-          Communication Clearly หมายถึง ฝึกอบรมให้มีการสื่อสารชัดเจนตรงประเด็น รับผิดชอบต่อการสื่อสารนั้น-          Continuous Human Resource Improvement หมายถึงพัฒนาแนวความคิดของบุคคลด้านการสร้างนวัตกรรมให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง-          Create Business culture on Business Ethic. หมายถึง การสร้างวัฒนธรรมด้านการทำธุรกิจบนจริยธรรมด้านธุรกิจ              เมื่อได้แนวทางและหลักการดังกล่าวก่อเกิดเป็นนวัตกรรมด้านการบริหารการจัดการด้ายทรัพยากรมนุษย์แล้วจากนั้นจะนำไปสร้าง                 กระบวนการและขั้นตอนเพื่อบรรลุเป้าหมายสู่ความสำเร็จต่อไป        
น.ส.สุมาลี พัชรภิญโญ
น.ส.สุมาลี พัชรภิญโญ MBA INNOVATION MANAGEMENT –RU ID 4914981658 กราบเรียนท่านศาสตราจารย์ ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์ ที่เคารพ ดิฉันเป็นรู้สึกเป็นเกียรติและยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ได้เรียนกับอาจารย์ ค่ะ ดิฉันเป็นคนหนึ่งที่ขาดความรู้ และ ประสบการณ์ในเรื่องการบริหารงานบุคคล เนื่องจากดิฉันทำงานด้านการเงินและการบัญชี มาโดยตลอด อย่างไรก็ตามในเรื่องของทรัพยากรมนุษย์ หรือ ทุนมนุษย์ ก็มีความสำคัญมากต่อธุรกิจ ดิฉันขอตอบคำถามที่อาจารย์ได้ถามตามความเห็นของตนเองดังนี้ค่ะ 1)ทรัพยากรมนุษย์มีส่วนช่วย INNOVATION อย่างไร? ดิฉันคิดว่าถ้าไม่มีมนุษย์ก็ไม่มี INNOVATION เพราะไม่มีคนคิดสิ่งประดิษฐ์และก็ไม่มีการนำมาใช้หรือปฏิบัติ รวมไปถึงไม่มีการพัฒนา โลกก็ไม่มีการเปลี่ยนแปลง การที่เรามีทรัพยากรมนุษย์ ที่ดี อยู่ในองค์กรย่อมนำมาซึ่งความเจริญก้าวหน้าต่อองค์กร ในความหมายของทรัพยามนุษย์ ที่ดี นั้นหมายถึง คนที่มีความเก่ง มีสติปัญญาดี และมีทักษะในสาขาวิชาชีพต่างๆ มีคุณธรรม จริยธรรม และ ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ตนทำ รวมทั้งเป็นคนที่มีความคิดเปิด คือเป็นคนที่สามารถพัฒนาได้ ดังนั้นถ้าองค์กรได้ทรัพยากรมนุษย์ที่ดีสามารถพัฒนาได้ องค์กร และสังคมก็สามารถนำความรู้ และนวัตกรรมมาใช้เพื่อเพิ่มศากยภาพในการแข่งขันได้ ดิฉันจึงเห็นว่าทรัพยากรมนุษย์มีส่วนช่วย INNOVATION เป็นอย่างมากค่ะ 2)ทรัพยากรมนุษย์ช่วยในการนำ IDEA เพื่อทำให้เกิด PROJECTหรือ ACTION PLANอย่างไร? ดิฉันเห็นว่าถ้าเรามีคนที่มี IDEA มีความสามารถ กล้าทำกล้ารับในส่งที่อาจล้มเหลว หรือ สำเร็จได้ กล้าตัดสินใจ และกล้าที่จะทำในสิ่งที่เป็นสิ่งใหม่อยู่ในองค์กรของเรา ย่อมมี IDEA ที่มีการผลักดันให้เกิดเป็นโครงการ และ มีแผนในการปฏิบัติงานในแนวทางใหม่ขึ้นได้ไม่ยาก นั่นหมายความว่าเราต้องมีทรัพยากรมนุษย์ ที่มีลักษณะดังที่ได้รับกล่าวมาแล้ว แต่เราจะสรรหาอย่างไรเพื่อให้ได้คนเช่นนี้เข้ามาร่วมงาน และ เราจะพัฒนาพวกเขาเหล่านั้นอย่างไร ซึ่งสิ่งนี้เป็นสิ่งที่ยากและท้าทาย 3)ทำอย่างไรจึงจะทำให้โครงการเหล่านั้นประสบความสำเร็จ อุปสรรคในการทรัพยากรมนุษย์ที่ทำให้โครงการไม่ประสบความสำเร็จมีอะไรบ้าง? ดิฉันเห็นว่านอกจากคนที่มีความรู้ ความสามารถ การพัฒนาคนเป็นเรื่องที่สำคัญมากๆ โครงการที่เราคิดขึ้นมาต้องสรรหาบุคคลที่เหมาะสมในทุกด้าน ซึ่งข้อนี้ดิฉันคิดว่าทฤษฏี 3 Q ของอาจารย์ยม ทีว่า QUALITY OF HUMEN RESOURCE,QUALITY OF THIKING&ACTION,QUALITY OF INNOVATION น่าจะตอบคำถามข้อนี้ได้ดีที่สุด ทั้งนั้รวมถึงการมอบอำนาจในการตัดสินใจที่เหมาะสมกับเขาเพื่อความคล่องตัวในการทำงาน ในเรื่องของอุปสรรคในการทรัพยากรมนุษย์ที่ทำให้โครงการไม่ประสบความสำเร็จตามความเห็นของดิฉันคือ 1.เลือกคนไม่เหมาะกับงาน หมายถึง คุณสมบัติทั้งความรู้ ความสามารถส่วนบุคคลไม่เหมาะกับโครงการ 2.คนที่เลือกมาอาจไม่มีความพร้อมที่จะทำงานก็ได้ เช่น เขาอาจมีสภาวะจิตใจในช่วงขณะนั้นไม่พร้อมที่จะทำงานในโครงการ 3.เกิดความขัดแย้งในความเห็นระหว่างกันในขณะที่ทำงานอย่างรุนแรงจนไม่สามารถทำงานร่วมกันได้ ต่างคนต่างคิด ต่างคนต่างทำ 4.อติของแต่ละคนที่คิดว่าทำไม่ได้ เป็นไปไม่ได้ ก่อนที่จะลงมือทำด้วยซ้ำไป ของคนที่ถูกคัดเลือกมา 4)เราจะนำความรู้เรื่องทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ให้ได้ผลจริงๆ หรือทำโครงการที่เป็นรูปธรรมในเรื่องใด? ดิฉันคิดว่าควรนำความรู้เรื่อง 8 K ของอาจารย์มาประยุกต์ใช้ค่ะ กล่าวคือ 1.เราต้องคัดเลือกคนให้เหมาะกับงาน กล่าวคือ เราต้องการความรู้ในการสาขาวิชาชีพไหน เราก็เลือกจากพื้นความรู้เป็นอันดับแรก 2.เราต้องดูว่าคนๆนั้นมีทัศนะคติอย่างไร เป็นคนที่พัฒนาได้หรือไม่ ซึ่งจะรู้ได้จากการพูดคุย 3.ดูผลของงานที่มอบหมายให้ทำที่ผ่านมา เป็นตัววัด ความรับผิดชอบของแต่ละบุคคลว่ามีแค่ไหน 4.ดูว่าเขาเหล่านั้นทำงานอย่างมีความสุขหรือไม่ โดยสังเกตจากปฏิกิริยา คนเราถ้าทำงานด้วยความสุข หรือมีความสุขกับการทำงาน งานนั้นๆ ก็จะออกมาดี 5.มีจริยธรรมในการทำงานหรือไม่ ง่ายที่สุด ดูจากว่าเขาเหล่านั้นมีจรรยาบรรณในวิชาชีพหรือไม่ ทำงานอย่างเห็นแก่ตัวหรือเปล่า 6.จัดให้มีการพัฒนาความสามารถในการใช้เทคโนโลยีใหม่ แก่พนักงานอยู่เสมอ 7.จัดให้มีกิจกรรมทางด้านสังคมทั้งในองค์กร และ สังคมส่วนรวม เช่นการจัดกิจกรรมที่เน้นเรื่องการอยู่ร่วมกันและความสามัคคี รวมถึงให้มีจิตสำนึกรักองค์กร การจัด Walk Rally ต่างๆ เพื่อการกุศลที่เชิญชวนให้พนักงานเข้าร่วมกิจกรรม ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ในหลายองค์กรก็จัดทำขึ้นเป็นประจำ 8.ส่งเสริมให้มีการพัฒนาความรู้และทักษะอาชีพ อยู่เสมอ ในความเห็นส่วนตัวของดิฉันคิดว่านวัตกรรมน่าจะมีหลายรูปแบบ ทั้งด้านของการผลิตสินค้า และ บริการ รวมไปถึงด้านการศึกษาด้วย สำหรับโครงการที่ดิฉันคาดหวังไว้คือการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านนวัตกรรมในทุกๆด้าน ทั้งด้านผลิตภัณฑ์ การบริการ และการศึกษาด้วย ไม่น่าจะมุ่งเน้นที่ผลิตภัณฑ์เพียงอย่างเดียว และควรที่มุ่งไปสู่ระดับนานาชาติด้วย โดยควรทำควบคู่กันทั้งระบบ เนื่องจากดิฉันทำงานสายบริการด้านการขนส่งสินค้าทางทะเล รวมถึงการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ และงานด้าน Logistics ดิฉันมีความคิดเห็นว่า การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ให้มีจิตสำนึก ของผู้ให้บริการ เป็นสิ่งที่สำคัญที่สุด ในธุรกิจบริการและเป็นสิ่งที่ทำให้เป็นรูปธรรมได้ และนอกจากการมีจิตสำนึกของผู้ให้บริการแล้ว นวัตกรรมก็น่าจะมีส่วนช่วยให้งานบริการในลักษณะนี้มีการพัฒนาในเรื่องการบริการที่สะดวก รวดเร็ว และปลอดภัย โดยการใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วย ที่กล่าวมาทั้งหมดเป็นเพียงความเห็นเล็กๆ จากมุมมองของคนในธุรกิจบริการค่ะ ขอแสดงความเคารพอย่างสูง
นายเอกรัตน์ อุ่นแอบ
นาย เอกรัตน์ อุ่นแอบ นักศึกษาโครงการหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการนวัตกรรม รุ่นที่ 1 มหาวิทยาลัยรามคำแหง รหัส 4914981290 ขอขอบคุณ ศ.ดร.จิระ หงส์ลดารมภ์ ที่ได้มาให้ความรู้และมุมมองใหม่ๆ ในวิชา HR and Innovation ทำให้เกิดแนวความคิดต่างๆ ที่เพิ่มมากขึ้นในวิชาดังกล่าว ทั้งนี้ขอแสดงความคิดเห็น ต่อคำถามที่ได้รับจากวิชานี้ ดังนี้คือ 1 ไอเดียใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น ความรู้ใหม่ ๆ นั้น ทรัพยากรมนุษย์ จะสามารถช่วยรองรับและผลักดันแนวความคิดดังกล่าวนั้นให้เกิดขึ้นได้โดยสามารถที่จะดำเนินการไปในทิศทางและแนวทางเดียวกันและเกิดเป็นนวัตกรรม ทั้งนี้จะต้องมีเป้าหมายและแบบแผนที่อยู่บนพื้นฐานทางความคิดแบบเดียวกันด้วย และทรัพยากรมนุษย์ที่ดีนั้นจะต้องเริ่มจากพื้นฐานความคิดที่จะต้องมีความคิดและมุมมองที่หลากหลาย พร้อมทั้งยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น มีการแลกเปลี่ยนความคิดกันและยอมรับในสิ่งต่างๆที่เปลี่ยนแปลง หากว่าไม่มีการจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่ดีแล้วการดำเนินการทางด้านนวัตกรรมนั้นก็ดูจะเป็นไปได้ยาก แนวความคิดของทรัพยากรมนุษย์เพื่อนวัตกรรม ประกอบด้วย 4 I*s -Independence Idia -Interactive -Interchange -and Innovation 2 ทรัพยากรมนุษย์ สามารถช่วยการทำงานที่เป็นรูปธรรมได้ เพราะการเริ่มต้นของทุกสิ่งทุกอย่างนั้นจะต้องมาจากจุดเริ่มที่ดีเพื่อที่จะไปสู่เป้าหมายที่วางไว้ได้ การสร้างสรรค์นวัตกรรมนั้น ไม่สามารถที่จะเกิดขึ้นและประสพผลสำเร็จได้เพียงจาก ความคิดหนึ่งความคิดเดียวแต่จะต้องเกิดจากองค์ความรู้หลายๆ ด้านประกอบกัน และการมีทรัพยากรมนุษย์ที่หลากหลายนั้น สามารถทำให้มีความคิดรอบด้านและสามารถแลกเปลี่ยนความคิดต่อกันและเป็นไปในทิศทางเดียวกันพร้อมที่จะผลักดัน ให้เป็นรูปธรรมจะต้องอาศัยปัจจัยที่ดีจากทรัพยากรที่มีอยู่ และต้องมีความสัมพันธ์กันในการทำงาน การมีทรัพยากรที่ดี ก็เท่ากับเรามีทุนที่ดีทางด้านการทำงานที่ดีไปแล้วครึ่งหนึ่ง ส่วนที่เหลือที่จะตามมาก็คือความสำเร็จที่จะเกิดขึ้น การมีทุนทางด้านทรัพยากรมนุษย์ เช่นเดียวกับมีทุนทางด้านความคิด และแน่นอนความคิดที่ดีก็จะนำพาไปสู่การทำให้เป็นรูปเป็นร่างได้ และการที่จะนำความคิด ไอเดีย ไปสู่การทำให้เกิดเป็นโครงการ หรือ เป็นรูปธรรมได้ นั้น ทุนทางด้านความคิดและแนวทางในกการทำงานนั้นจะต้องมี V – TEC ซึ่งประกอบไปด้วย -VISION -TEAM WORK -EMPOWER -CREATIVE + POSITIVE thinking 3 การที่จะก้าวเป็นอันดับหนึ่งนั้นยากที่จะไปถึงได้ แต่การรักษาอันดับหนี่งไว้นั้นยากกว่าการทำเริ่มต้นที่ดีก็เท่ากับเราสำเร็จไปแล้วครึ่งหนึ่ง แต่การจะทำให้ได้รับผลสำเร็จจริงๆในท้ายที่สุดนั้นอาจเป็นเรื่องที่ยากพอสมควร แต่ถึงกระนั้นก็อาจต้องใช้เวลา ซึ่งในช่วงแรกนั้นการที่จะได้มาในสิ่งที่ง่ายดายก็ย่อมที่จะพบกับความยากลำบากและอุปสรรค ควบคู่กันไปทั้งนี้อุปสรรคของทรัพยากรมนุษย์ที่จะเกิดขึ้นนั้น สรุปได้ดังนี้คือ -การไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลง -เราควรเปลี่ยนแปลงตัวเราเองก่อนอย่างน้อยก็ความคิด -การไม่รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น -ไอเดียนั้นไม่จำเป็นจะต้องมาจากหัวหน้าเสมอไป -วัฒนธรรมในการทำงานที่ไม่ดี -การใช้อำนาจอิทธิพล ระบบอุปถัมภ์ -จริยธรรมและความยุติธรรม -จรรยาบรรณในการทำงานจะได้รับผลในระยะยาว -การมีเป้าหมายที่ชัดเจน -จะต้องมีเป้าหมายในทิศทางเดียวกัน ร่วมกัน 4 โครงการในอนาคต คือการตรวจสอบอาหารที่มีการปนเปื้อนสิ่งต้องห้ามในศาสนาอิสลามแบบรวดเร็วเพื่อการส่งออกอาหารที่มีคุณภาพสู่ตลาดตะวันออกกลางและประเทศต่าง ๆ ทั้งนี้ การตรวจสอบในปัจจุบันต้องใช้เวลาและขั้นตอนต่างๆ ทางวิทยาศาสตร์หลายขั้นตอน หากมีเครื่องมือที่สามารถตรวจสอบได้รวดเร็วแล้วก็จะสามารถลดขั้นตอน และเอื้อประโยชน์ให้มีการผลิตอาหารฮาลาลได้มากขึ้นรวมทั้ง เพื่อประเทศผู้บริโภคก็สามารถตรวจสอบได้รวดเร็วเช่นกันรวมไปถึงผู้บริโภคทั่วๆไป ที่ต้องการตรวจสอบการปนเปื้อนดังกล่าว ทั้งนี้จะต้องมีทรัพยากรมนุษย์ในหลายๆด้าน ที่เกี่ยวข้องเช่นนักวิทยาศาสตร์ นักศาสนา นักคหกรรม อุตสาหกรรมการผลิตอาหาร รวมไปถึงประเทศผู้นำเข้าและบริโภคสินค้าดังกล่าว

น.ส.รุ่งฤดี ประมัย MBA Innovation Management ID:4914980170

การสร้างความรู้

การที่จะได้ Idea ใหม่เพื่อก่อให้เกิด Innovation นั้นต้องอยู่ในบรรยากาศที่เหมาะสม ซึ่งอาจจะต้องเป็นบรรยากาศที่กดดันให้เรามองหาสิ่งใหม่ๆ มาช่วยบรรเทาความกดดันขณะนั้น หรืออาจจะเป็นบรรยากาศที่สบายๆ แล้วเกิด Idea โป๊ะเช๊ะขึ้นมา ซึ่งการจะเกิด Innovation ได้นั้นต้องมีพื้นฐานของความรู้ และองค์กรจะต้องส่งเสริมให้คนในองค์กรเกิดความรู้ ไม่ว่าจะเป็นการบังคับให้รู้โดยการ Training หรือกระตุ้นให้อยากเรียนรู้ด้วยตนเอง (หนึ่งใน 7 habits: Sharpen the saw) เป็นการสร้างให้องค์กรเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ เสมือนเป็นอุตสากรรมต้นน้ำ ซึ่งจะนำไปสู่อุตสาหรรมปลายน้ำก็คือ Innovation อย่างเช่นที่อาจารย์ศุภชัยและอาจารย์จิระได้กล่าวไว้นั่นเอง

 กล้าที่จะลงมือทำ

เมื่อเกิด Idea แล้วก็ต้องสร้างบรรยากาศที่ส่งเสริมให้คนในองค์กรกล้าที่จะนำ Idea นั้นมาทำให้เป็นจริง โดย Idea ที่ได้มานั้นต้องอยู่บนหลักความรู้และความจริง ไม่ใช่สิ่งเพ้อฝัน ตรงกับความต้องการของตลาด ต้องมีจริยธรรม และมีกระบวนการที่ชัดเจนเป็นรูปธรรม เพื่อก่อให้เกิดการลงมือปฏิบัติได้จริง ดังเช่นที่อาจารย์ศุภชัยท่านกล่าวไว้ว่า Innovation ไม่สำคัญเท่ากับกระบวนการที่ก่อให้เกิด Innovation (ถึงจะได้เงินสนับสนุนจาก สนช.)

 ความเสี่ยงสูง

            ก่อนอื่นองค์กรต้องยอมรับความจริงว่าโอกาสที่ Innovation จะประสบความสำเร็จนั้นค่อนข้างยาก เรียกว่าล้มเหลวซะเป็นส่วนมากซึ่งก็คือเม็ดเงินที่ต้องลงทุนแล้วสูญเปล่าแต่ก็ต้องทำเพราะอะไร ก็เป็นที่ทราบกันอยู่แล้วว่าถ้าองค์กรพัฒนาไม่ทันกับโลกภายนอกก็เหมือรอวันเจ๊ง ดังคำพูดของอาจารย์ศุภชัยว่า การทำ Innovation มีโอกาสที่จะเจ๊ง แต่ถ้าไม่ทำเลยก็เจ๊งแน่นอนเพราะฉะนั้นการทำเรื่องนวัตกรรมต้องได้รับความร่วมมือจากฝ่ายบริหาร ซึ่งฝ่ายบริหารต้องรับเป็นเจ้าภาพในเรื่องความเสี่ยง และต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจจากคนทั้งองค์กรเป็นแรงผลักดันให้เกิดความสำเร็จ ส่วนอุปสรรคที่ขัดขว้างความสำเร็จก็คือคนอีกเช่นกัน ดังเช่นทฤษฎี 3C ของอาจารย์จิระ ก็เกิดจากคนทั้งนั้น เพราะคนขาดความรู้ความเข้าใจ ซึ่งเป็นการสะท้อนถึงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่ล้มเหลว

             เรื่องนวัตกรรมที่สนใจนั้นสนใจในเรื่องการสร้าง By Product ไม่ว่าจะเป็นทางด้านสินค้าหรือบริการให้เกิดมูลค่าเพิ่มที่สูงขึ้น
นายธาดา มั่นคง รหัสนักศึกษา 4914980743

นายธาดา มั่นคง รหัสนักศึกษา 4914980743

1. ทรัพยากรมนุษย์มีส่วนช่วยใน innovation อย่างไร                มนุษย์เกิดมาบนพื้นฐานที่แตกต่างกัน ไม่ว่าจะเป็นทางด้านความคิด, ทักษะ, ความสามารถ, เผ่าพันธุ์, เชื้อชาติ หรือแม้แต่ศาสนา ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นปัจจัยอย่างหนึ่งที่ทำให้มนุษย์มีความคิดที่แตกต่างกันไป ความแตกต่างกันนี้ช่วยสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ให้เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลาไม่ว่าจะเป็นด้านวิชาการ, เทคโนโลยี,รวมถึงความต้องการที่ตอบสนองตัวเองให้มากที่สุด จึงเกิดการคิดสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ มาเพื่อทดแทน หรือต่อยอดสิ่งที่มีอยู่นั้นให้ดีและมีประสิทธิภาพ สิ่งเหล่านี้เรียกว่า นวัตกรรม  คำว่า นวัตกรรม นั้นจะไม่สามารถเกิดขึ้นได้ถ้าปราศจากความคิด ความต้องการ(ต้องการที่จะก่อให้เกิดสิ่งใหม่) รวมถึงความกล้า อีกด้วย (กล้าที่จะลงมือทำในสิ่งที่คิดค้นให้เป็นรูปธรรมขึ้นมา) ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะเกิดขึ้นไม่ได้ถ้าไม่ใช่มนุษย์ลงมือคิดค้นและทำขึ้นมา ดังนั้นทรัพยากรมนุษย์จึงมีส่วนก่อให้เกิด นวัตกรรมขึ้น อย่างหลากหลาย สิ่งเหล่านี้เกิดสาเหตุเนื่องจากมนุษย์ต้องการความสะดวกสบายจึงได้หาวิธีตอบสนองตัวเองให้มากที่สุดเท่าที่ทำได้จึงคิดค้นหาวิธีเพื่อให้สิ่งที่มีอยู่นั้นมีประสิทธิภาพมากขึ้น ที่กล่าวมาในข้างต้นถ้าปราศจากทรัพยากรมนุษย์ก็เหมือนขาดสมองที่คอยสั่งการ ถ้าไม่มีสมอง ความคิดสร้างสรรค์ ก็คงจะไม่เกิดขึ้นมา สิ่งเหล่านี้ก็ไม่ก่อให้เกิดธุรกิจ โลกก็ย่อมไม่มีการเปลี่ยนแปลง และทุกอย่างก็คงไม่มีการพัฒนาขึ้นไป ดังนั้นทรัพยากรมนุษย์จึงเป็นปัจจัยสำคัญต่อการเกิด นวัตกรรม และยังส่งผลให้มนุษย์นั่นรู้จักที่จะคิดที่จะสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ ซึ่งอาจทำให้เกิดการคิดนอกกรอบและสิ่งเหล่านั้นจะส่งผลต่อการต้องการที่จะเรียนรู้เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ต่อไปในระบบธุรกิจอีกด้วย2. ทรัพยากรมนุษย์ช่วยในการนำ idea เพื่อทำให้เกิด Project หรือ action plan อย่างไร                ความคิดสร้างสรรค์ ที่เกิดจากมนุษย์ เป็นพรสวรรค์ บวกกับพรแสวงของแต่ละบุคคลที่เกิดขึ้น แล้วนำ ความคิด นั้นมาสร้างสรรค์ให้เกิด Project เพื่อนำ Project นี้ก่อให้เกิดเป็นรูปธรรมขึ้นมา คนต่างๆ สามารถมีความคิดได้ แต่ถ้าเมื่อใดความคิดนั้นได้ถูกเก็บไว้กับตัวก็จะไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ ดังนั้นความคิดต่างๆที่แต่ละบุคคลคิดขึ้นมาอาจก่อให้เกิดประโยชน์ได้ในระดับสังคม หรือประเทศก็เป็นได้ หรือแม้แต่ความคิดที่จะปรับเปลี่ยนสิ่งต่างๆ ที่มีอยู่แล้วของมนุษย์ให้เป็นประโยชน์มากยิ่งขึ้นก็ถือเป็นความคิดที่ก่อให้เกิด Project ใหม่ๆ ได้เช่นกัน มนุษย์มีส่วนก่อให้เกิดการกระทำต่างๆ มากมาย กล่าวคือ ถ้าความคิดนั้นถูกเก็บไว้ดังที่กล่าวมาแล้ว ก็ไม่สามารถสร้าง นวัตกรรมขึ้นมาได้ แต่ถ้าเมื่อใด กล้าที่จะเสี่ยงและลงมือปฏิบัติ นวัตกรรมนั้นก็จะเกิดเป็นรูปธรรมขึ้นมาซึ่ง นวัตกรรมนี้อาจก่อประโยชน์ต่อสังคม ธุรกิจและระดับโลกก็เป็นไปได้เช่นกัน ดังนั้นจะเห็นได้ถึงบทบาทของทรัพยากรมนุษย์ว่ามีบทบาทสำคัญเพียงใดต่อการก่อเกิดซึ่ง นวัตกรรม ถ้าไม่มีมนุษย์ที่ใช้ความคิดสร้างสรรค์ต่างๆ นวัตกรรม ก็ย่อมไม่เกิดขึ้น3. ทำอย่างไรจึงจะทำให้โครงการเหล่านั้นประสบความสำเร็จ และอุปสรรค์ที่ทำให้โครงการไม่ประสบความสำเร็จมีอะไรบ้าง ความสำเร็จของโครงการ§     การคิด ถ้าความคิดนั้นเป็นความคิดที่สร้างสรรค์ เพื่อก่อให้เกิดสิ่งใหม่ที่ไม่เคยมีใครทำมาก่อนหรือ เป็นการต่อยอดจากของเดิมที่มีอยู่  ก็จะก่อให้เกิด นวัตกรรม ที่ดีต่อสังคมและประเทศได้ซึ่งถือเป็นความสำเร็จในด้านความคิดของโครงการ§     การดู เมื่อผ่านกระบวนการคิดที่ดีแล้ว ก็นำสิ่งที่คิดนั้นมาดูความเป็นไปได้ที่จะก่อให้เกิดนวัตกรรม ด้วยการศึกษาจากแหล่งวิชาการต่างๆ ตลาด ธุรกิจ และดูถึงระดับโลกในระยะยาวว่าสิ่งนี้จะสำเร็จได้ถึงในระดับใด รวมทั้งการคำนึงถึงคุณธรรมของ นวัตกรรม นั้น และสามารถตั้งเป้าหมายที่วางไว้เพื่อให้นำมาซึ่งการสนับสนุนความคิดของเรา§     การทำ เมื่อผ่านกระบวนการศึกษาอย่างรอบคอบแล้วก็ลงมือกระทำให้เกิดเป็นรูปธรรมขึ้นมา ซึ่งการลงมือกระทำนั้น ต้องกล้าที่จะเสี่ยง เสี่ยงต่อผลที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ซึ่งถ้าการทำนั้นก่อให้เกิด นวัตกรรมที่ดีและมีประโยชน์ ก็จะทำให้เกิดความสำเร็จในระดับตนเอง สังคม รวมถึงประเทศอีกด้วยอุปสรรค์ที่ทำให้ไม่ประสบความสำเร็จ§     การกลัวการเปลี่ยนแปลง มนุษย์กลัวการเปลี่ยนแปลงมากที่สุดจนในบางครั้งอาจปิดกั้นความคิดสร้างสรรค์ที่จะทำให้เกิด นวัตกรรม ขึ้นมาซึ่งสิ่งเหล่านี้ เป็นเสมือนกำแพงที่ถูกกั้นไว้ระหว่างความคิดกับสิ่งที่จะทำ เป็นอุปสรรค์อย่างยิ่งต่อการพัฒนา นวัตกรรม§     การที่ไม่กล้าเสี่ยง ในหลายๆคนไม่กล้าที่จะเสี่ยงต่อการทำอย่างใดอย่างหนึ่งเนื่องมาจากความกลัว และความขัดแย้งภายในจิตใจ กล่าวคือ อาจกลัวที่จะทำ กลัวที่จะถูกตำหนิ กลัวที่จะถูกต่อว่า และความกลัวต่างๆ อีกมากมาย ซึ่งทำให้บุคคลนั้นเกิดความไม่แน่ใจ และลังเลที่จะทำหรือไม่ทำ ทำให้ นวัตกรรม นั้นอาจเกิดและตายในคนๆนั้นไปโดยมิได้ถ่ายทอดสิ่งนั้นออกมาเลยก็ได้เช่นกัน§     การไม่แชร์ความรู้ให้กัน คนส่วนใหญ่เมื่อมีความคิดที่เป็นของตนเองและคิดว่าความคิดของตนนั้นเป็นความคิดที่เยี่ยมยอด จึงไม่ต้องการที่จะแบ่งปันความคิดของตนให้กับคนอื่นๆ ทำให้เกิดปัญหาตามมาก็คือ ความไม่เข้าใจในมุมมองของ นวัตกรรม ซึ่งสิ่งนี่จำเป็นต้องแชร์กันในด้านความรู้ ความคิด และกระบวนการต่างๆ รวมถึงผลที่ออกมาให้บุคคลอื่นๆ ได้รับรู้จึงถือเป็น นวัตกรรม ที่สมบูรณ์ ที่สุด กล่าวคือสามารถทำให้คนหลายๆ คนได้เข้าใจในสิ่งที่ผู้นั้นได้คิด นวัตกรรม ออกมา แล้วนำนวัตกรรมนั้นไปใช้ประโยชน์ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมต่อไป§     การปิดกั้นทางด้านความคิดของผู้ที่มีอำนาจเหนือกว่า ไม่ว่าจะเป็นการดูถูกทั้งด้านการศึกษา, สถาบัน, และความคิดสร้างสรรค์ของผู้ที่ด้อยกว่า ตัวอย่างเช่น นาย ก จบการศึกษาจากมหาลัยแห่งหนึ่งที่ไม่ค่อยมีชื่อเสียงเท่าไร แต่นาย ก ก็รู้จักที่จะคิดและปฏิบัติ รวมถึงการศึกษาค้นคว้ามาโดยตลอด เมื่อนาย ก ได้คิดค้น นวัตกรรม แล้วไปเสนอต่อผู้ที่มีอำนาจเหนือกว่าให้พิจารณา ผู้มีอำนาจผู้นั้นอาจปิดกั้นความคิดของนาย ก ด้วยการดูถูกถึงสถาบันการศึกษาที่นาย ก จบมาว่าไม่มีชื่อเสียง เกรดเฉลี่ยนาย ก ที่ได้ไม่ดี รวมถึงความคิดสร้างสรรค์ต่างๆ ของนาย ก อีกด้วย สิ่งนี้เป็นอุปสรรคอย่างยิ่งต่อการเกิด นวัตกรรม ซึ่งอคตินี้สมควรลบออกจากความคิดของผู้มีอำนาจเหนือกว่า ใช่ว่าคนที่จบจากสถานศึกษาที่ไม่มีชื่อเสียงมาก จะไม่มีหัวคิด และจะเป็นผู้ปฏิบัติงานไม่เป็นเสมอไป4. เราจะเอาความรู้เรื่องทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ให้ได้ผลจริงๆ หรือทำเป็นโครงการที่เป็นรูปธรรมในเรื่องใด                ก่อนอื่นจะต้องสร้างทักษะของมนุษย์ให้ตรงกับความต้องการที่จะผลิต นวัตกรรม นั้นๆให้เกิดขึ้นเสียก่อน เพราะทักษะไม่ว่าจะเป็นด้านความคิด หรือการปฏิบัติงานจะมีผลต่อการผลิตสิ่งๆหนึ่งขึ้นมา ในด้านทักษะของผมเป็นทางด้าน Developer เกี่ยวกับWebsite ดังนั้นทักษะก็จะเป็นไปในทาง Website และ การคีย์ Code จึงมีความสนใจในการสร้างนวัตกรรมทางด้าน ซอฟต์แวร์ หรือแม้แต่ ฮาร์ดแวร์  สิ่งที่คิดไว้คือการสร้าง ซอฟต์แวร์ ผนวกกับ ฮาร์ดแวร์เพื่อผลิตยา ณ ทันทีทันใด ภายในโรงพยาบาล (เป็นแค่ความคิดหรือจินตนาการ) กล่าวคือ โรงพยาบาลเพียงแค่สั่งวัตถุดิบตัวยามาเพื่อเข้าเครื่องผลิตยา ตามการสั่งยาของแพทย์ เนื่องจากจะได้ปริมาณยาที่พอกับความต้องการของคนไข้ เช่น คนไข้คนหนึ่งมีอาการปวดหัวเล็กน้อยแต่ไอมาก เพียงแค่แพทย์สั่งยาว่าปริมาณยาแก้ปวดเท่าไร ยาแก้ไอเท่าไรที่เหมาะแก่คนไข้รายนี้ เครื่องก็จะคำนวณปริมาณและผลิตออกมาเป็นยาเพียงเม็ดเดียว(ผสมยาแก้ปวดกับแก้ไอรวมกันแล้วอัดเป็นเม็ดออกมา) ไม่ต้องแยกยาแก้ปวด ยาแก้ไอออกจากกัน และเป็นปริมาณที่เหมาะสมกว่ายาแก้ปวดทั่วไปเม็ดหนึ่งเนื่องจากยาเม็ดหนึ่งอาจมีปริมาณตัวยามากเกินความต้องการของคนไข้ก็ได้ แต่เครื่องนี้จะผสมยาในส่วนที่เหมาะสมกับคนไข้เป็นรายๆไป                      

 

นางสาวปัทมา นันติยะ รหัสนักศึกษา 4914980213
เรียนท่านศาสตราจารย์ ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์ ที่เคารพ ดิฉันนางสาวปัทมา  นันติยะ  รหัสนักศึกษา 4914980213 ลำดับที่ 9  นักศึกษาโครงการบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต  สาขาวิชาการจัดการนวัตกรรม   มหาวิทยาลัยรามคำแหง  รู้สึกเป็นเกียรติและยินดีเป็นอย่างยิ่งที่อาจารย์ได้มาให้ความรู้ดิฉันและเพื่อนๆในเรื่องเกี่ยวกับการจัดการทรัพยกรมนุษย์   ดิฉันขอเสนอความคิดเห็นกับคำถามของอาจารย์ตามความคิดและมุมมองของดิฉันดังนี้  หากมีข้อบกพร่องและผิดพลาดประการใดรบกวนอาจารย์ช่วยชี้แนะด้วยค่ะ                คนเป็นทรัพยากรที่มีค่าที่สุดขององค์กร การทำธุรกิจโดยไม่พัฒนาเรื่องคน  เป็นเรื่องที่ใช้ไม่ได้  ทั้งหมดนี้เป็นคำกล่าวของ คุณพารณ  อิศรเสนา  ณ อยุธยา  จากคำกล่าวข้างต้นสามารถสรุปได้ว่า การพัฒนามนุษย์โดยมุ่งเน้นการเรียนรู้พร้อมทั้งกลยุทธ์  ในการสร้างความเป็นเลิศให้องค์กรจากแรงจูงใจ  ซึ่งการที่องค์กรจะประสบความสำเร็จหรือล้มเหลวขึ้นอยู่กับคน (ทรัพยากรมนุษย์) ในองค์กรเป็นหลัก  ดังนั้นจึงต้องมี การจัดการทรัพยากรมนุษย์ ให้ต้องคิด  วิเคราะห์  และวางแผนโดยคาดคะเนถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น  เพื่อเตรียมความพร้อมให้เท่าทันกับสิ่งที่เกิดขึ้นในอนาคต  โดยสิ่งที่ทุกคนในองค์กรต้องตระหนัก  คือ ทุกคนในองค์กร คือ พลังงานขับเคลื่อนสำคัญที่จะทำให้องค์กรทะยานสู่ความเป็นเลิศบนเส้นทางการดำเนินการธุรกิจ  ก้าวข้ามปัญหา  อุปสรรค  และการเปลี่ยนแปลงต่างๆที่เกิดขึ้น  องค์กรจะเติบโตได้อย่างมั่นคงต้องอาศัยปัจจัยสำคัญ 3 ประการ ดังนี้                1.  เทคโนโลยี                2.  กระบวนการบริหารจัดการ                3.  การที่พนักงานมีความรู้ความสามารถและมีการพัฒนาตนเองให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง                ซึ่งปัจจัยสำคัญ 3  ประกอบนี้  สามารถนำมาพัฒนาคิดสร้างสรรค์เพื่อให้เกิดนวัตกรรม (Innovation) กับองค์กรได้   โดยผู้บริหารระดับสูงต้องมีความมุ่งมั่นในการนำองค์กรไปสู่องค์กรสร้างนวัตกรรม  สร้างบรรยากาศให้เกิดความคิดสร้างสรรค์  การเปิดโอกาสให้ทุกคนในองค์กร  ได้คิดสร้างสรรค์และนำเสนอ Idea ได้อย่างอิสระ  กล้าที่จะเสี่ยงนำเอา Idea ดีๆ ไปพัฒนารวมทั้งการใช้รางวัลเป็นตัวกระตุ้นให้บุคลากรขององค์กรได้คิดสรรค์สร้างงาน  สภาพแวดล้อมที่สบายๆ ไม่เคร่งเครียด  ไม่ถูกตีกรอบความคิด  ก็มีส่วนช่วยให้เกิด Idea ใหม่ๆ เกิดขึ้น   ในทางตรงกันข้าม  หากผู้บริหารระดับสูง  ไม่เปิดโอกาสให้ทุกคนในองค์กรสามารถคิดสร้างสรรค์  และนำเสนอ Idea ได้อย่างอิสระ  โดยไม่กล้าเสี่ยงที่จะนำ Idea ดีๆ ไปพัฒนา  รวมทั้งไม่ใช้รางวัลเป็นตัวกระตุ้น  ไม่ชอบการเปลี่ยนแปลง  เพราะวัฒนธรรมองค์กรไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลงหรือที่เรียกว่า Cultural Change สิ่งต่างๆ เหล่านี้  ล้วนเป็นปัญหาอุปสรรคที่ไม่อาจทำให้เกิดนวัตกรรมขึ้นในองค์กร

 

ยม "HR and Innovation ทฤษฎี นวตกรรม 3Q's"

 สวัสดีครับ ศ.ดร.จีระ ทีมงานและนักศึกษา ป.โท การจัดการนวัตกรรม ม.รามคำแหงทุกท่าน

  เมื่อวันอาทิตย์ทีผ่านมา ผมรู้สึกเป็นเกียรติอย่างสูงที่ได้มีโอกาสไปร่วมแชร์ความรู้และประสบการณ์ร่วมกับ ศ.ดร.จีระ และนักศึกษาที่ เรื่อง HR and Innovation ให้แก่นักศึกษาปริญญาโทหลักสูตรที่สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติร่วมกับมหาวิทยาลัยรามคำแหงจัดขึ้นแห่งแรกในประเทศไทย ต้องขอขอบพระคุณ ศ.ดร.จีระ เป็นอย่างมากที่เปิดโอกาสให้เข้าไปร่วมกิจกรรมนี้   ถึงแม้นักศึกษาในรุ่นนี้ มีจำนวนมาก แต่บรรยากาศในการเรียนรู้ดีมากขึ้นตามลำดับ  ศ.ดร.จีระ ได้แลกเปลี่ยนความรู้ให้นักศึกษาได้ทราบเรื่องโลกาภิวัตน์  เรื่องทรัพยากรมนุษย์ และเรื่อง Innovation นักศึกษาบางคนคิดทฤษฎีของตัวเองได้ หลังจากที่ได้เรียนรู้จาก ศ.ดร.จีระ และหลังจากที่ผมได้ยกทฤษฎี นวัตกรรม 3 Q’s ซึ่งได้แชร์กับนักศึกษา ทฤษฎีดังกล่าว ผมขออธิบายเพิ่มเติมดังนี้ทฤษฎี นวัตกรรม 3 Q’s มีดังนี้ Quality of Human Resources คุณภาพทรัพยากรมนุษย์ นวัตกรรมเกิดได้จากทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพ มีพื้นฐานทฤษฎีทุน 8K’s ของ ศ.ดร.จีระ อย่างครบถ้วน เมื่อทรัพยากรมนุษย์ มีคุณภาพ ย่อมทำให้เกิด Q ต่อมา คือ  Quality of Thinking, Action and Continue Improvement ทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพเมื่อมีทุน 8K’s ครบถ้วน จะเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่เก่งและดี มีคุณธรรม ซึ่งจะคิดและทำดี คิดสร้างสรรค์ ศึกษาหาความรู้และพัฒนาตนเอง พัฒนางานอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิด Q ตัวต่อมาคือ Quality of Innovation นวัตกรรมที่มีคุณภาพ ซึ่งได้มาจากทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพ อีกเรื่องหนึ่งที่ผมเห็นว่านักศึกษาสนใจถามผมมากก็คือ เรื่อง Blog ของ ศ.ดร.จีระ หลายคนยังไม่มีประสบการณ์ในเรื่องนี้ และกังวลว่าจะทำได้ไม่ดี   นักศึกษาหลายคน มีความตั้งใจสมกับเรียนด้านการจัดการนวัตกรรมในระดับ ปริญญาโท การเขียน Blog กับ ศ.ดร.จีระ หากนักศึกษาทำเป็นนิสัย  จะทำให้เกิดนวตกรรมเกิดขึ้นทางปัญญา โดยไม่รู้ตัว    

ฉะนั้น ถ้านักศึกษาต้องการให้การเรียนหลักสูตรนี้ได้ผลดียิ่งขึ้น ต้องคิดเสมอว่าไม่มีอะไรที่เราทำไม่ได้ และเราจะทำ ท้าทายทำในสิ่งที่ไม่เคยทำมาก่อน ด้วยความอดทน และการทำอย่างมุ่งมั่น ก็จะทำให้เกิดนวตกรรมทางปัญญา เห็นความแตกต่างของสรรพสิ่งทั้งหลาย ย่อมจะทำให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ ซึ่งจะนำไปสู่ประตูแห่งนวตกรรมทางความคิด ทางปัญญา และนวตกรรมด้านอื่น ๆ จะตามมา  ที่สำคัญ นักศึกษาต้องสะสม ทุน 8 ทุน (ทฤษฎี 8K’s ของ ศ.ดร.จีระ) มีอะไร บ้าง ผมแนะนำให้เข้าไปศึกษาได้ที่ http://www.chiraacademy.com/ ส่วนการเขียน Blog แนะนำให้เข้าไปที่ http://gotoknow.org/blog/chirakm   ตัวอักษรที่ใช้เขียนข้อความลงใน Blog ผมแนะนำให้ใช้ตัวอักษรแบบ Tahoma ขนาด 12 ครับ จะได้ตัวอักษรรูปแบบและขนาดพอดีและเหมาะกับการเขียน Blog

 ในช่วงท้ายของชั่วโมง บรรยากาศดีมาก ผมได้ขึ้นไปนั่งกับ ศ.ดร.จีระ และได้ร่วมสรุปและแชร์ความรู้บนหน้าเวทีหน้าชั้นเรียน ซึ่ง อาจารย์ส่วนใหญ่ไม่ค่อยทำกัน  และที่สำคัญ คือเปิดโอกาสให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มได้ร่วมแสดงความคิดเห็น บรรยากาศการเรียน เป็นไปตามทฤษฎี 4 L's ทำให้ผมพลอยได้บุญไปกับ ศ.ดร.จีระ ด้วยหลายคนขอนามบัตรผมจนไม่พอแจก นักศึกษาจะรู้จักผมได้มากขึ้นจาก Blog ของ ศ.ดร.จีระ นี้ Email address  ของผม [email protected] โทร. 01-9370144    สุดท้าย หนังสือ HR สายพันธุ์แท้ ที่นักศึกษาได้ไป ในหนังสือมีสาระที่น่าศึกษา ขอให้นักศึกษาค่อย ๆ อ่านวันละ 30 นาที หรือมากกว่านั้น แล้วพกติดตัวไปไหนไปด้วย อ่านให้หมดเล่ม แล้วหมั่นทบทวน จะทำให้นักศึกษา ได้เข้าใจเกี่ยวกับทรัพยากรมนุษย์มากขึ้น การเรียน นวตกรรม ต้องเข้าใจเรื่องทรัพยากรมนุษย์ด้วย มิเช่นนั้น จะไม่มีคำว่านวตกรรม เพราะนวตกรรมมาจากทรัพยากรมนุษย์  ผมขอขอบพระคุณ ศ.ดร.จีระ อีกครั้ง ที่ให้เกียรติเปิดโอกาสให้ผมร่วมเวทีนี้ด้วย ขอให้นักศึกษาทุกคนจงประสบความสำเร็จสมดังตั้งใจ เจริญด้วยศีล สติ ปัญญา สมาธิ   สวัสดีครับ  ยมนักศึกษาปริญญาเอกรัฐประศาสนศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต
ยม "HR and Innovation ทฤษฎี นวตกรรม 3Q's"
 สวัสดีครับ ศ.ดร.จีระ ทีมงานและนักศึกษา ป.โท การจัดการนวัตกรรม ม.รามคำแหงทุกท่าน
  เมื่อวันอาทิตย์ทีผ่านมา ผมรู้สึกเป็นเกียรติอย่างสูงที่ได้มีโอกาสไปร่วมแชร์ความรู้และประสบการณ์ร่วมกับ ศ.ดร.จีระ และนักศึกษาที่ เรื่อง HR and Innovation ให้แก่นักศึกษาปริญญาโทหลักสูตรที่สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติร่วมกับมหาวิทยาลัยรามคำแหงจัดขึ้นแห่งแรกในประเทศไทย ต้องขอขอบพระคุณ ศ.ดร.จีระ เป็นอย่างมากที่เปิดโอกาสให้เข้าไปร่วมกิจกรรมนี้   
ถึงแม้นักศึกษาในรุ่นนี้ มีจำนวนมาก แต่บรรยากาศในการเรียนรู้ดีมากขึ้นตามลำดับ  ศ.ดร.จีระ ได้แลกเปลี่ยนความรู้ให้นักศึกษาได้ทราบเรื่องโลกาภิวัตน์  เรื่องทรัพยากรมนุษย์ และเรื่อง Innovation นักศึกษาบางคนคิดทฤษฎีของตัวเองได้ หลังจากที่ได้เรียนรู้จาก ศ.ดร.จีระ และหลังจากที่ผมได้ยกทฤษฎี นวัตกรรม 3 Q’s ซึ่งได้แชร์กับนักศึกษา ทฤษฎีดังกล่าว ผมขออธิบายเพิ่มเติมดังนี้ทฤษฎี นวัตกรรม 3 Q’s มีดังนี้
Quality of Human Resources คุณภาพทรัพยากรมนุษย์ นวัตกรรมเกิดได้จากทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพ มีพื้นฐานทฤษฎีทุน 8K’s ของ ศ.ดร.จีระ อย่างครบถ้วน เมื่อทรัพยากรมนุษย์ มีคุณภาพ ย่อมทำให้เกิด Q ต่อมา คือ 
Quality of Thinking, Action and Continue Improvement ทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพ คื่อทรัพยากรมนุษย์ที่มีทุน 8K’sของ ศ.ดร.จีระ อย่างครบถ้วน จะเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่เก่งและดี มีคุณธรรม ซึ่งจะคิดและทำดี คิดสร้างสรรค์ ศึกษาหาความรู้และพัฒนาตนเอง พัฒนางานอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิด Q ตัวต่อมาคือ 
Quality of Innovation นวัตกรรมที่มีคุณภาพ จะได้มาจากทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพ เท่านั้น
อีกเรื่องหนึ่งที่ผมเห็นว่านักศึกษาสนใจถามผมมากก็คือ เรื่อง Blog ของ ศ.ดร.จีระ หลายคนยังไม่มีประสบการณ์ในเรื่องนี้ และกังวลว่าจะทำได้ไม่ดี   นักศึกษาหลายคน มีความตั้งใจสมกับเรียนด้านการจัดการนวัตกรรมในระดับ ปริญญาโท การเขียน Blog กับ ศ.ดร.จีระ หากนักศึกษาทำเป็นนิสัย  จะทำให้เกิดนวตกรรมเกิดขึ้นทางปัญญา โดยไม่รู้ตัว  
  

ฉะนั้น ถ้านักศึกษาต้องการให้การเรียนหลักสูตรนี้ได้ผลดียิ่งขึ้น ต้องคิดเสมอว่าไม่มีอะไรที่เราทำไม่ได้ และเราจะทำ ท้าทายทำในสิ่งที่ไม่เคยทำมาก่อน ด้วยความอดทน และการทำอย่างมุ่งมั่น ก็จะทำให้เกิดนวตกรรมทางปัญญา เห็นความแตกต่างของสรรพสิ่งทั้งหลาย ย่อมจะทำให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ ซึ่งจะนำไปสู่ประตูแห่งนวตกรรมทางความคิด ทางปัญญา และนวตกรรมด้านอื่น ๆ จะตามมา  ที่สำคัญ นักศึกษาต้องสะสม ทุน 8 ทุน (ทฤษฎี 8K’s ของ ศ.ดร.จีระ) มีอะไร บ้าง

 ในช่วงท้ายของชั่วโมง บรรยากาศดีมาก ผมได้ขึ้นไปนั่งกับ ศ.ดร.จีระ และได้ร่วมสรุปและแชร์ความรู้บนหน้าเวทีหน้าชั้นเรียน ซึ่ง อาจารย์ส่วนใหญ่ไม่ค่อยทำกัน  และที่สำคัญ คือเปิดโอกาสให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มได้ร่วมแสดงความคิดเห็น บรรยากาศการเรียน เป็นไปตามทฤษฎี 4 L's ทำให้ผมพลอยได้บุญไปกับ ศ.ดร.จีระ ด้วยหลายคนขอนามบัตรผมจนไม่พอแจก นักศึกษาจะรู้จักผมได้มากขึ้นจาก Blog ของ ศ.ดร.จีระ นี้ Email address  ของผม [email protected] โทร. 01-9370144    

 

ผมแนะนำให้เข้าไปศึกษาแนวคิดทฤษฎี ทุน 8 K's และทฤษฎีอื่น ๆ ที่น่าสนใจ ของ ศ.ดร.จีระได้ที่http://www.chiraacademy.com/ ส่วนการเขียน Blog แนะนำให้เข้าไปที่http://gotoknow.org/blog/chirakm   ตัวอักษรที่ใช้เขียนข้อความลงใน Blog ผมแนะนำให้ใช้ตัวอักษรแบบ Tahoma ขนาด 12 ครับ จะได้ตัวอักษรรูปแบบและขนาดพอดีและเหมาะกับการเขียน Blog

 

สุดท้าย หนังสือ HR สายพันธุ์แท้ ที่นักศึกษาได้ไป ในหนังสือมีสาระที่น่าศึกษา ขอให้นักศึกษาค่อย ๆ อ่านวันละ 30 นาที หรือมากกว่านั้น แล้วพกติดตัวไปไหนไปด้วย อ่านให้หมดเล่ม แล้วหมั่นทบทวน จะทำให้นักศึกษา ได้เข้าใจเกี่ยวกับทรัพยากรมนุษย์มากขึ้น

การเรียน นวตกรรม ต้องเข้าใจเรื่องทรัพยากรมนุษย์ด้วย มิเช่นนั้น จะไม่มีคำว่านวตกรรม เพราะนวตกรรมมาจากทรัพยากรมนุษย์  ผมขอขอบพระคุณ ศ.ดร.จีระ อีกครั้ง ที่ให้เกียรติเปิดโอกาสให้ผมร่วมเวทีนี้ด้วย ขอให้นักศึกษาทุกคนจงประสบความสำเร็จสมดังตั้งใจ เจริญด้วยศีล สติ ปัญญา สมาธิ   

 

สวัสดีครับ 

 

ยม

 

นักศึกษาปริญญาเอกรัฐประศาสนศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต

จรัสพิมพ์ ลิ่มสิริตรังค์

น.ส.จรัสพิมพ์ ลิ่มสิริตรังค์ รหัส 4914980277 นักศึกษาโครงการหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการนวัตกรรม รุ่นที่ 1  มหาวิทยาลัยรามคำแหง  ขอกราบขอบพระคุณอาจารย์ที่ได้ให้ความรู้และความคิดใหม่ ๆ เพิ่มเติมค่ะ ขอตอบคำถาม เรื่อง HR and Innovation ในแนวทางสรุปทั้ง 4 ข้อ ดังนี้

1. ทรัพยากรมนุษย์ช่วยเหลือ Innovation อย่างไร

      1.1 ในทางด้านของการบริหารจัดการคน ทำให้มีการจัดการที่ดี มีศักยภาพเพิ่มขึ้น ให้พนักงานได้แสดงความรู้ความสามารถ และการคิดตัดสินใจด้วยตนเอง

       1.2 ในด้านของความคิด เป็นการให้คนกล้าที่จะแสดงความคิดเห็น การแสดงออก เป็นการเปิดโอกาสให้แต่ละคนแสดงศักยภาพที่อยู่ในตัวออกมาให้มากที่สุด

       1.3 ในด้านของการเปลี่ยนแปลง  ไม่หยุดนิ่งอยู่กับที่  แสวงหาสิ่งใหม่ ๆ อยุ่ตลอดเวลา

2. ทรัพยากรมนุษย์ช่วยในการนำ Idea เพื่อทำให้เกิด Project หรือ Action Plan อย่างไร

       - ช่วยให้ Project หรือ Action Plan เป็นรูปเป็นร่าง มีการต่อยอดไปหาสิ่งใหม่ ๆ เสมอ

        - ช่วยให้มีการเปลี่ยนแปลงในด้านของความคิด การกล้าที่จะแสดงความคิดเห็นมากขึ้น

        - ช่วยให้แต่ละคนสามารถแสดงศักยภาพที่อยู่ในตัวออกมาได้เต็มที่

        - ทำให้เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ

3. ทำอย่างไรถึงทำให้โครงการเหล่านั้นประสบความสำเร็จ อุปสรรคในทรัพยากรมนุษย์ที่ทำให้โครงการเหล่านั้นไม่ประสบความสำเร็จมีอะไรบ้าง

         การที่จะทำให้โครงการเหล่านั้นประสบความสำเร็จ เราต้องมีการวางแผนการจัดการทรัพยากรมนุษย์ให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด ไม่ว่าจะเป็นการจัดวางบุคคลากรให้เหมาะสมกับตำแหน่งงาน การจัดกำลังคนให้เหมาะกับงานเหล่านั้น การเปิดกว้างสำหรับความคิดทุกความคิด การให้โอกาส การทำงานเป็นทีม ร่วมมือร่วมใจกันทำงาน

         ส่วนในเรื่องของอุปสรรคที่ทำให้โครงการเหล่านั้นไม่ประสบความสำเร็จนั้น อาจจะมีปัจจัยหลายด้านไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของการปิดกั้นทางความคิด การใช้อิทธิพลจากตำแหน่งงานในการบีบบังคับ การแบ่งพรรคแบ่งพวกและยังรวมถึงทฤษฎี 3 C's คือ Culture Change , Customer Base และ Command Control

4. เราจะเอาความรู้เรื่องทรัพยากรมนุษย์นั้นไปใช้ให้ได้ผลจริง ๆ หรือทำโครงการที่เป็นรูปธรรมในเรื่องใด

          ในโลกปัจจุบันเป็นโลกของการแข่งขันไม่ว่าจะเป็นทางด้านการตลาด การขายไอเดีย และการบริการ ซึ่งในส่วนของการบริการนั้นเราจะเห็นได้จากทุก ๆ ที่ไม่ว่าจะเป็นบนสายการบิน ตามห้างสรรพสินค้า ต่าง ๆ หรือแม้กระทั่งตามร้านอาหาร ก็จะต้องมีการบริการที่คอยอำนวยความสะดวกให้กับผู้มาใช้บริการแต่โดยส่วนใหญ่แล้วการบริการจะถูกละเลยจากทุกคน เพราะเห็นเป็นแค่ service ที่ทุกแห่งต้องมี แต่ในความเป็นจริงการบริการเป็นสิ่งสำคัญ ซึ่งโครงการที่จะทำนั้นเป็นโครงการเกี่ยวกับ "การบริการกับการพัฒนา" เพื่อให้บุคคลที่เป็นผู้ให้บริการได้รับการฝึกอบรมอย่างต่อเนื่อง นำไปสู่การพัฒนาไปหาสิ่งที่ดีขึ้น การเอาใจเขามาใส่ใจเรา โดยคำนึงว่าบุคคลที่เรากำลังบริการอยู่นั้นคือตัวเราเอง การให้เกียรติและเป็นมิตรกับผู้รับบริการ การแสดงความเอาใจใส่และอำนวยความสะดวกให้กับผู้รับบริการจากเราสิ่งที่เราได้กระทำออกไปด้วยใจที่ จะสะท้อนให้เห็นถึงผลตอบรับที่ได้กลับมาในภายหลัง

นางสาวศิริลักษณ์ จูฑะจันทร์ ID 4914980907

                ขอกราบขอบพระคุณอาจารย์ที่ได้ให้ความรู้ และทำให้รู้สึกว่าวิชาบริหารทรัพยากรบุคคลนั้นสำคัญอย่างยิ่ง  ซึ่งดิฉันได้รู้สึกเป็นเกียรติและยินดีเป็นอย่างสูงที่ได้เป็นลูกศิษย์อาจารย์ค่ะ  ขอเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับคำถาม 4 ข้อดังนี้ค่ะ

 

1.       ทรัพยากรมนุษย์มีส่วนช่วยใน  Innovation อย่างไร

ตอบ  ทรัพยากรมนุษย์เป็นโครงสร้างพื้นฐานของการที่จะก่อให้เกิด Innovation ถ้าทรัพยากรบุคคลมีแนวคิดและความรู้ที่ดี และมองโอกาสออก ก็จะก่อให้เกิด Innovation ที่มีประสิทธิภาพได้ ซึ่งถ้ามองในมุมขององค์กร ถ้าต้องการให้มีคนกลุ่มนี้อยู่ในองค์กรจะต้องมีระบบบริการทรัพยากรมนุษย์ที่มีประสิทธิภาพที่มุ่งเน้นให้คนคิดให้เป็น ถึงจะสามารถสร้างประโยชน์ให้กับองค์กรได้ 

2.       ทรัพยากรมนุษย์ช่วยในการทำ idea ให้เกิด project หรือ action plan อย่างไร

ตอบ  ทรัพยากรมนุย์เมื่อเกิดความคิดสร้างสรรค์ที่จะทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งแล้ว เมื่อไม่เกิดการสานต่อความคิดนั้นก็จะไม่มีตัวตน ไม่มีประโยชน์ โดยความคิด (Idea) นั้นจะต้องไม่เพ้อเจ้อ สามารถทำได้จริง โดยนำหลักวิชาการมาวัดในหลักความคิด ฉะนั้น เมื่อคิดแล้วต้องมีการร่างโครงการ หลักปฏิบัติ เขียนเป็นแผนวิชาการ แผนการลงทุน เพื่อให้มองออกเป็นรูปธรรมและได้แนวทางในการทำขอบเขตของงาน ประโยชน์ที่จะได้รับ รวมทั้งกรรมวิธีทำงาน หรือระยะเวลาที่จะสร้างให้เกิดสิ่ง ที่คิดขึ้นมาให้สำเร็จ (Action plan) หลังจากนั้นต้องลงมือทำ

 

3.       ทำอย่างไรถึงจะทำให้โครงการเหล่านั้นประสบความสำเร็จ อุปสรรคในเรื่องทรัพยากรบุคคล ที่ทำให้โครงการไม่ประสบความสำเร็จมีอะไรบ้าง

ตอบ เมื่อมีโครงการขึ้นมาถ้าจะทำให้โครงการประสบความสำเร็จประกอบด้วย

1.)     ต้องมีการตั้งเป้าหมายโครงการ เพื่อให้ทุกคนที่มีส่วนร่วมในโครงการมีเป้าหมายเดียวกัน

2.)     จัดทีมที่มีความสามารถเหมาะสม

3.)     มีระยะเวลาโครงการที่แน่นอน

4.)     มีโอกาสที่เหมาะสม

5.)     มีการเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม

6.)     ไม่ขัดแย้งกับระบอบสังคม และหลักคุณธรรม จริยธรรม

7.)     เป็นความต้องการที่แท้จริงของผู้บริโภค หรือ สอดคล้องกับพฤติกรรมของผู้บริโภค

 

อุปสรรคในเรื่องทรัพยากรบุคคลที่ทำให้โครงการไม่ประสบความสำเร็จคือ

1.)     ผู้บริหารไม่ให้ความร่วมมือ

2.)     ผู้เข้าร่วมโครงการไม่เข้าใจเป้าหมายที่ต้องการอย่างแท้จริง

3.)     ผู้เข้าร่วมโครงการไม่มีความคิดสร้างสรรค์

4.)     ผู้เข้าร่วมโครงการไม่เปลี่ยนแนวความคิด ใช้การทำงานแบบเก่าไม่ปรับให้เหมาะสมในแต่ละงาน

5.)     ขาดการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ

 

4.       เราจะเอาความรู้เรื่องทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ให้ได้ผลจริง ๆ หรือทำให้เกิดโครงการที่เป็นรูปธรรมในเรื่องใด

ตอบ  ทำโครงการการฝึกอบรมแนวความคิดของพนักงานในแผนก ให้รู้จักคิดเป็น และแสดงความคิดเห็นในเรื่องของงานที่ทำอยู่ปัจจุบัน รวมทั้ง Product ที่น่าจะเกิดขึ้นในอนาคต โดยเฉพาะ Product และบริการทำอยู่เป็นเกี่ยวกับในเรื่องของการศึกษา ฉะนั้นจะต้องหาวิธีการที่ทำให้เด็กไทยรักการศึกษาและค้นคว้าหาความรู้อย่างไม่มีที่สิ้นสุด
นายสุรัตน์ จิรานุสรณ์กุล รหัสนักศึกษา 4914980986 RU-MBA Innovation รุ่น 1

ผมต้องขอขอบคุณท่าน ศ.ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์ พร้อมทีมงานเป็นอย่างสูง สำหรับการได้รับเกียรติในการรับการถ่ายทอด ชี้นำความรู้ มุมมองและแง่คิดใหม่ๆ ในด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์เพื่อให้สอดรับกับการพัฒนานวัตกรรม ซึ่งในปัจจุบันกลายเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับธุรกิจยุคใหม่ไปเสียแล้ว.

ต่อข้อถามที่ได้ฝากไว้นั้น ผมใคร่อยากจะขอขยายความตามความคิดเห็นส่วนตัวดังนี้

1)การจัดการทรัพยากรมนุษย์มีส่วนช่วยสร้างนวัตกรรมได้อย่างไร

เป็นสิ่งที่ปฎิเสธไม่ได้เลยสำหรับองค์กรต่างๆ หากจะกล่าวถึงทรัพยากรมนุษย์นั้น ต้องถือว่าเป็นทรัพยากรที่มีค่าที่สุดสำหรับองค์กรนั้นๆ เพราะทรัพยากรมนุษย์ที่ถูกบรรจุอยู่ภายในองค์กร จะเป็นกลจักรในการขับเคลื่อนองค์กรให้เดินไปข้างหน้า โดยอาศัยเทคโนโลยีและองค์ความรู้ที่มีอยู่ ปรับใช้อย่างเหมาะสมเพื่อให้องค์กรสามารถพัฒนาตนเองให้ก้าวล้ำ หลีกหนีออกจากภาวะการแข่งขันที่ไม่มีผู้ใดได้ประโยชน์จากสงครามครั้งนี้. การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงองค์กรนั้นจะเกิดขึ้นได้จำต้องอาศัยนวัตกรรมใหม่ๆ ไม่ว่าจะเป็นการนำเสนอสินค้าในหลากหลายรูปแบบทั้งที่จับต้องได้และจับต้องไม่ได้ หมายรวมถึงงานบริการต่างๆ ทั้งนี้การจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่มีความเป็นเลิศเท่านั้น(เช่นตามทฎษฏี 4L) ที่สามารถที่จะก่อให้เกิดนักคิดที่สามารถที่จะสรรสร้างสิ่งใหม่ๆให้เกิดขึ้นกับองค์กรอย่างเป็นระบบ นำความเป็นไปได้ในแง่มุมต่างๆ ผลได้ผลเสีย มาประมวลผลหาผลลัพธ์และวิถีทางที่ดีที่สุดในการพัฒนาองค์กร เห็นได้ชัดว่าหากไม่มีการจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่มีประสิทธิผลแล้ว ก็ยากยิ่งนักที่จะก่อให้เกิดนวัตกรรมที่จะช่วยพัฒนาองค์กรให้ล้ำหน้า และสิ่งที่สำคัญอีกประการหนึ่งก็คือนวัตกรรมควรได้รับการส่งเสริมให้มีการใช้ความคิดต่อยอด ของบุคคลในองค์กรหรือภายนอกองค์กร และกำหนดแนวทางการพัฒนาไปในแนวทางเดียวกัน โดยอาศัยการยอมรับจากผู้บริหารระดับสูงในการปรับใช้.

2) ทรัพยากรมนุษย์ช่วยทำให้เกิดการทำงาน project หรือ Action Plan อย่างไรบ้าง

การจัดการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่มีประสิทธิภาพ ให้มีความคิดที่เป็นระบบ อาศัยองค์ความรู้ที่มีอยู่ มาต่อยอดทางความคิด รวบรวมโอกาสความเป็นไปได้ต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับผลได้ผลเสียของโครงการ วิถีทางปฎิบัติที่เป็นไปได้ตามแนววิธีการคิด สรุปออกมาเป็นแนวทางในการดำเนินโครงการนั้นๆ.

3) Idea หรือโครงการใหม่ๆ นั้นจะทำอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ.

ต้องอาศัยนักคิดที่มีคุณภาพ ที่ได้รับการพัฒนาจากระบบการจัดการทรัพยากรบุคคล สืบค้นหาวิถีทางที่เหมาะสม อาจมีการลองผิดลองถูก แต่ถึงอย่างไรนวัตกรรมที่เกิดขึ้นก็ยังคงมีความเสี่ยง ซึ่งจำต้องได้รับการยอมรับจากฝ่ายบริหารระดับสูงในผลของการดำเนินการเพื่อนำพาให้เกิดนักคิดที่สามารถคิดต่อยอดไปอย่างไม่มีที่สิ้นสุด มิฉะนั้นจะกลายเป็นการสกัดกั้นมิให้องค์กรสร้างบุคคลากรที่มีคุณภาพ หรือนวัตกรรมต่างๆ เนื่องจากความเกรงกลัวผลที่อาจเกิดขึ้นจากการกระทำที่ผิดพลาด ทำให้ไม่กล้าแสดงออก กลายเป็นการปิดประตูไม่ยอมรับความเปลี่ยนแปลงใดๆ องค์กรหรือโครงการก็จะไม่สามารถประสบความสำเร็จได้ตามวัตถุประสงค์.

4)จะนำความรู้เรื่องทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ให้ได้ผลจริงหรือก่อให้เกิดโครงการที่เป็นรูปธรรมในเรื่องใด

ผมให้ความสำคัญกับการ empowerment ทั้งนี้เนื่องจากการให้ความสำคัญกับทุกๆ ฟันเฟืองขององค์กร จะช่วยส่งเสริมให้เกิดความรักในองค์กร ตั้งใจพัฒนาร่วมกัน ในทุกระดับของการบริหารในองค์กรจะมีความคิดและมุมมองที่แตกต่างเนื่องจากระดับความรับผิดชอบ การพบปะ ปฎิสัมพันธ์ ทั้งนี้จะก่อให้เกิดนวัตกรรมที่หลากลายในหลายระดับการบังคับบัญชา และหากทุกฟันเฟืองมีแนวความคิดที่จะพัฒนาองค์กรร่วมกัน นวัตกรรมจะเกิดขึ้นอย่างไม่มีที่สิ้นสุด และก้าวไปเป็นองค์กรที่แข็งแกร่งและยั่งยืน โดยมีอัตราการโยกย้ายเปลี่ยนแปลงงานต่ำที่สุด.

ขอขอบคุณสำหรับเนื้อที่ในการแสดงความคิดเห็น.

กราบเรียนท่านอาจารย์  ดร. จีระ  หงส์ลดารมภ์      รู้สึกปลาบปลื้มและเป็นพระคุณมากมายนักที่ได้รับเกียติ  จากท่านอาจารย์และทีมงาน ในการเสียสละเวลามาถ่ายทอดความรู้ให้  ขอบคุณตนเองด้วยค่ะที่มาเรียน ตั้งแต่เริ่มเรียนในบ่ายของวันอาทิตย์ที่ 20  สิงหาคม  รู้สึกอึ้ง และมีตื่นตัวปรารถนาที่จะฟังตลอดเวลา  โดยปกติบางวิชาจะง่วงบ้าง              กว่าจะเสร็จงานก็ 5 ทุ่ม ค่ะ  รีบเปิด www.  และได้อ่านข้อความเพื่อนไปบ้างแล้วค่ะ  ขอบพระคุณท่านอาจารย์จิระ  ขอบพระคุณอาจารย์ศุภชัย   ขอบคุณคุณยม  คุณเอ  คุณเอ้  คุณปิง  กับแสงแห่งปัญญาใหม่ๆ    ค่ะน.ส. สุภาวาริน   ศิริวิชัย  รหัสนักศึกษา   491-498-0840ขออภัยด้วยนะคะ  ที่โพสต์เนื้อความที่ไม่ใช่งานค่ะ            *** การบ้าน จะส่งวันหลังนะคะ ***

กระผม โสทร สารธรรม นักศึกษานักศึกษาโครงการหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการนวัตกรรม รุ่นที่ 1 มหาวิทยาลัยรามคำแหง รหัส 4914981166 ขอตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นทั้ง 4 ข้อโดยสรุปดังนี้

 

1)การจัดการทรัพยากรมนุษย์มีส่วนช่วยสร้างนวัตกรรมได้อย่างไร

นวัตกรรม คือ สิ่งใหม่ที่เกิดจากการใช้ความรู้และความคิดสร้างสรรค์จากความหมายดังกล่าวข้างต้นจะเห็นว่านวัตกรรมจะเกิดขึ้นไม่ได้เลยถ้าไม่มีมนุษย์เพราะว่ามนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวสามารถใช้ความรู้และความคิดสร้างสรรค์ทำให้เกิดสิ่งใหม่ได้และนำความคิดนั้นมาพัฒนาให้เกิดเป็นรูปธรรมได้

 2) ทรัพยากรมนุษย์ช่วยทำให้เกิดการทำงาน project หรือ Action Plan อย่างไรบ้าง

โครงการหลายๆโครงการนั้นจะต้องเริ่มมาจากจุดเดียวกันนั่น คือ ความคิด หลังจากที่เรามีความคิดแล้วเราต้องนำความคิดนั้นมาศึกษาและวิเคราะห์หาความเป็นไปได้ที่เราจะลงมือทำ เมื่อเราคิดว่าจะลงมือทำโครงการนั้นๆแล้วเราจะต้องมาวางแผนงานให้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด หลังจากนั้นเราก็ต้องลงมือทำจริง ขั้นสุดท้ายเราก็ต้องติดตามผลซึ่งมีความจำเป็นอย่างยิ่งไม่อย่างนั้นเราจะไม่รู้เลยว่าความคิดที่เราคิดนั้นประสบความสำเร็จหรือเปล่า

3. ทำอย่างไรถึงทำให้โครงการเหล่านั้นประสบความสำเร็จ อุปสรรคในทรัพยากรมนุษย์ที่ทำให้โครงการเหล่านั้นไม่ประสบความสำเร็จมีอะไรบ้าง

โครงการจะประสบความสำเร็จได้ก่อนอื่นเราจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องที่เราจะทำเป็นอย่างดี ต้องตอบคำถามให้ได้ว่าเราทำไปเพื่ออะไร ต้องมีการวางแผนงานอย่างเป็นระบบ เพื่อที่จะทำให้โครงการนั้นสามารถเสร็จให้ทันตามกำหนด หัวใจหลักของการที่โครงการจะประสบความสำเร็จนั้นผมคิดว่าโครงการนั้นจะต้องตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าอย่างตรงจุด ส่วนของโครงการที่ไม่ประสบความสำเร็จนั้นหลักๆคงมาจากโครงการนั้นๆไม่ตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าทำโครงการมาแล้วไม่มีใครซื้อสุดท้ายโครงการนั้นก็ต้องล้มไปและอาจจะมาจากการวางแผนที่ไม่ดี ไม่มีความรู้เพียงพอที่จะทำโครงการนั้น

4)จะนำความรู้เรื่องทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ให้ได้ผลจริงหรือก่อให้เกิดโครงการที่เป็นรูปธรรมในเรื่องใด

โครงการที่ผมจะทำนั้น ผมคงจะทำโครงการเกี่ยวกับทางด้านการเกษตร เพระผมเห็นว่าการเกษตรเป็นพื้นฐานของคนไทยมานาน ไม่ว่าเราจะพัฒนาไปถึงไหนสุดท้ายผมก็คิดว่าเราต้องกลับมาสู่จุดเดิมที่เราถนัด

 

นายยงเดช ศุภเจริญวงศ์ รหัสนักศึกษา 4914981739

กระผม นายยงเดช ศุภเจริญวงศ์ รหัสนักศึกษา 4914981739 สาขา Innovation รุ่นที่ 1

ทรัพยากรมนุษย์ ช่วยเห ลือ  INNOVATION    ได้อย่างไร ความคิดใหม่ ๆ ที่ทรัพยากรมนุษย์สามารถช่วย  INNOVATION 1.     ทำให้เกิดความรู้ในด้านเกี่ยวกับงานด้านต่าง ๆ มากมาย โดยเป็นการผสมผสาน ความรู้ที่มีอยู่แล้ว  และอาจจะก่อให้เกิดความรู้สิ่งใหม่  2.      แหล่งความคิดที่มีอยู่ในตัวของพนักงาน ซึ่งเป็นทรัพยากรมนุษย์ ได้รับการพัฒนาด้านนวัตกรรม ที่มีค่าไม่มากก็น้อย3.     เครื่องมือต่าง ๆ ที่มีอยู่ในทรัพยากรมนุษย์  ได้มีการปรับเปลี่ยน ปรับปรุง ตามสภาวะการณ์  ทรัพยากรมนุษย์สามารถสร้างแผนงานได้อย่างไร          1.ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ที่จัดตั้งในบริษัท ล้วนแล้วมีข้อมูลด้านต่าง ๆ อยู่แล้วที่สามารถนำมาอ้างอิงได้อย่างมากมาย อาจมีข้อมูลด้านปัญหาตัวของบุคคลากร ความรู้ เทคโนโลยี เครื่องมือ ผลการวิจัย          2.ใช้หลัก EPC                                        1. Explanation  เป็นการอธิบายเกี่ยวกับความคิดให้กับบุคคลากรให้ได้รับทราบข้อมูลต่าง ๆ ว่าตอนนี้ธุรกิจจะหัวเรือไปในทิศทางใด                                       2. Predicition  คิดถึงปัญหา ความเสี่ยง ๆ ในด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดกับความคิดดังกล่าว ที่จะไม่สามารถ ประสบความสำเร็จได้อย่างสมบูรณ์                                       3. Control  เป็นการควมคุมปรากฎการณ์ที่จะเกิดขึ้น (เป็นการคาดคะแน)  และในปัจจุบัน เพราะเมื่อสามารถอธิบายและคาดคะแนได้เหตุการณ์ต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น ว่ามีปัจจัยอะไรบ้างที่เป็นสาเหตุสำคัญ แล้วก็สามารถหางทางควบคุมให้เหตุการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างมีสติอย่างรอบคอบและรัดกุม ทำอย่างไรจะทำให้ทรัพยากรมนุษย์ทำให้โครงการประสบความสำเร็จ1.     มีการพัฒนาในตัวบุคคลากรในด้าน ที่จะมี  นวัตกรรมใหม่  (Innovation)  ปรับสภาพการเรียนรู้ ระบบการทำงาน การคิดการแก้ไขปัญหา ในด้านต่าง ๆ ให้แม่นยำมากที่สุด2.     ทำการวิจัย  ในด้านที่จะสร้างนวัตกรรม มีการตั้งสมมติฐาน ความน่าจะเป็น ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม จนสามารถนำข้อมูลวิจัย มานวัตกรรมให้เกิดประสิทธิภาพ ปัญหาที่อาจจะทำให้โครงการ ไม่ประสบความสำเร็จ        1.ขาดการพัฒนาด้านบุคคลากร            2.ด้านเทคโนโลียี ข้อมูล การสือสาร จะนำความรู้ทางด้านทรัพยากรไปใช้ได้ผลจริง ๆ หรือทำโครงการที่เป็นรูปธรรม          ทำร้านอาหาร โดยจะนำเอาเทคโนโลยีเข้าไปใส่ในทุก  ขั้นตอนตั้งแต่เข้าร้านจึงถึงออกจากร้าน ดัดแปลงทรัพยากรบุคคลที่มีอยู่ในองค์กร และข้อมูลต่าง ๆ ในอดีต ให้อยู่ในระบบนวัตกรรม  Innovation 

 

นายสุรชัย วัฒนทรัพย์โสภณ
กระผมนายสุรชัย วัฒนทรัพย์โสภณ นักศึกษาโครงการหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการนวัตกรรม รุ่นที่ 1 มหาวิทยาลัยรามคำแหง รหัส 4914980659 ขอตอบคำถาม และแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับเรื่อง HRM AND INNOVATION ทั้ง 4 ข้อ โดยสรุปดังนี้ 1) การจัดการทรัพยากรมนุษย์มีส่วนช่วยใน INNOVATION ได้อย่างไร ในบรรดาทรัพยากรทางการบริหาร อันประกอบด้วย คน (Man) เงิน (Money) วัตถุดิบ (Material) เครื่องจักร (Machine) การจัดการ (Management) และการตลาด (Market) หรือเรียกว่า 6’ Ms เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปว่า “คน” หรือ “ทรัพยากรมนุษย์” เป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่สุด เพราะคนเป็นผู้บริหาร และจัดการกับทรัพยากรอื่น ๆ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามที่องค์กรได้กำหนดไว้ และยิ่งปัจจุบันด้วยแล้ว ซึ่งเป็นยุคของโลกาภิวัฒน์ (Globalization) การแข่งขันมีค่อนข้างสูง หลายองค์กรต้องมีการปรับตัวตามกระแสแห่งการเปลี่ยนแปลง ต้องมีการคิดใหม่ ทำใหม่ เพื่อให้เกิดสิ่งใหม่ ๆ ต้องสร้างสรรค์ให้ตนเองมีความโดดเด่นขึ้นมา เพื่อให้เกิดโอกาส และข้อได้เปรียบทางธุรกิจ ซึ่งในจุดนี้เอง ที่ก่อให้เกิด “นวัตกรรม” (Innovation) ขึ้นมาอย่างหลากหลาย และการที่จะเกิดสิ่งใหม่ ๆ หรือนวัตกรรมขึ้นมาได้นั้น จุดเริ่มต้นก็มาจากคนหรือทรัพยากรมนุษย์นั่นเอง 2) ทรัพยากรมนุษย์ช่วยในการนำ Idea เพื่อทำให้เกิด Project หรือ Action Plan อย่างไรบ้าง แนวความคิด หรือ Idea ที่ทรัพยากรมนุษย์ เป็นผู้จุดประกายขึ้นมา จะถูกผลักดันเพื่อก่อให้เกิดเป็น Project หรือ Action Plan ได้นั้น ปัจจัยสำคัญประการหนึ่ง ก็คือ ความกล้าหาญในตัวของทรัพยากรมนุษย์นั่นเอง คือ กล้าที่จะเสี่ยงกับการลองผิดลองถูกกับสิ่งใหม่ ๆ ที่จะเกิดขึ้น ถึงแม้ว่าจะไม่สามารถคาดเดาได้ว่า Project หรือ Action Plan นั้น ๆ จะประสบความสำเร็จหรือไม่ก็ตาม แต่อย่างน้อย การได้ลองทำดูก็จะได้รู้ถึงศักยภาพในตัวเอง ตลอดจนประสิทธิภาพขององค์กรด้วย 3) ทำอย่างไรจึงจะทำให้โครงการเหล่านั้นประสบความสำเร็จ อุปสรรคในเรื่องทรัพยากรมนุษย์ที่ทำให้โครงการเหล่านั้นไม่ประสบความสำเร็จมีอะไรบ้าง Project หรือ Action Plan ที่เป็นผลมาจากความกล้าหาญในตัวของทรัพยากรมนุษย์ ที่นำเอาแนวความคิด หรือ Idea มาสร้างให้เป็นรูปธรรมมากขึ้น จะประสบความสำเร็จตามเป้าหมายหรือไม่นั้น ปัจจัยสำคัญ อยู่ที่องค์กร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผู้บริหารระดับสูง (Innovation starts at the top) ควรที่จะมีการสนับสนุนอย่างเต็มที่ กล้าที่จะเสี่ยง ตลอดจนต้องมีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์กรของตนเองอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง เพื่อให้เป็นผู้ที่มีศักยภาพ และประสิทธิภาพในตัวเอง สร้างองค์ความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ ให้เกิดขึ้นในองค์กร เน้นการทำงานเป็นทีม สร้างความสามัคคี ตลอดจนสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน ให้มุ่งไปสู่ Gold ขององค์กร และที่สำคัญที่จะขาดเสียมิได้ ก็คือ การคำนึงถึงผลประโยชน์ที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของคุณธรรม ศีลธรรม และจริยธรรม ที่มีต่อส่วนรวม ต่อสังคม และประเทศชาติด้วย แต่บางครั้ง แนวความคิด หรือ Idea ที่น่าจะพัฒนาไปเป็น Project หรือ Action Plan ได้ กลับยังคงเป็นเพียงภาพจินตนาการ หรือความคิดที่ยังล่องลอยอยู่ในอากาศ ก็เพราะเกิดจากอุปสรรคในหลาย ๆ ด้าน โดยเฉพาะในเรื่องของทรัพยากรมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นศักยภาพจริง ๆ ของทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร เช่น มีความรู้ในหลักการและทฤษฎีมาก แต่ไม่รู้จักคิด ไม่รู้จักสร้างสรรค์ ไม่มีทักษะด้านการปฏิบัติการ หรือการลงมือทำจริง ๆ จัง ๆ ไม่เปิดใจรับรู้ถึงสิ่งใหม่ ๆ ต้องการรู้แต่เพียงด้านเดียว มองในมุมแคบเกินไป เป็นต้น นอกจากนี้ การขาดการสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูงขององค์กร ก็เป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้โครงการนั้น ๆ ยังต้องเป็นเพียงภาพจินตนาการต่อไป รวมไปถึงสมาชิกในองค์กรที่มีวิสัยทัศน์ที่ไม่ได้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน ขาดความสามัคคี ความร่วมมือซึ่งกันและกัน เป็นต้น 4) จะนำความรู้เรื่องทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ให้ได้ผลจริงหรือก่อให้เกิดโครงการที่เป็นรูปธรรมในเรื่องใด โดยส่วนตัวแล้ว ผมคิดว่าจะนำเอาความรู้ด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ไปช่วยผลักดัน ในโครงการ New Product Design ในลักษณะที่ให้พนักงานในระดับปฎิบัติการขององค์กรที่กล้าคิด หรือมีความคิดสร้างสรรค์ ได้มีโอกาสมีส่วนร่วม ในการนำเสนอแนวความคิดในด้านการออกแบบรูปแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ขององค์กร ให้มีความโดดเด่นจากที่มีอยู่ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ผลิตภัณฑ์ และตอบแทนให้ด้วยรางวัล หรือสิ่งอื่นใด เพื่อให้เป็นขวัญและกำลังใจแก่พนักงาน ที่ได้ทุ่มเทแรงใจ แรงกาย ความคิด สติปัญญา เพื่อให้ได้มาซึ่งผลิตภัณฑ์รูปแบบใหม่ ๆ ที่มีคุณค่ายิ่งต่อองค์กรในอนาคตต่อไป
น.ส.ประภาภรณ์ ประทีปวณิช รหัสนักศึกษา 4914981590

ดิฉัน  นางสาวประภาภรณ์  ประทีปวณิช  รหัส นักศึกษา  4914981590  ขอนำส่งรายงานการศึกษาเรื่องHR + Innovation  ในวิชา BM 611 ของอาจารย์   ดร.จีระ  หงส์ลดารมภ์ 

จากการที่ได้ศึกษาอบรมวิชา  BM 611 กับอาจารย์  ดร. จีระ   ทำให้ดิฉันมีประสบการณ์เพิ่มขึ้นเกี่ยวกับนวัตกรรมในการเรียนรู้  และ วิธีการสอนรูปแบบใหม่ ซึ่งยังไม่เคยพบที่ไหนมาก่อน  รู้สึกประทับใจมาก จึงกราบขอบพระคุณอย่างยิ่งในประสบการณ์จากท่านในครั้งนี้   

จากหัวข้อที่อาจารย์ให้มา   วิเคราะห์จากแนวความคิดของดิฉันเอง ได้ดังนี้ 

1.    ทรัพยากรมนุษย์มีส่วนช่วยในการสร้าง  Innovation     

อาจกล่าวได้ว่า    Innovation  เกิดได้เพราะความพยายามของมนุษย์ ในการเปลี่ยนแปลง  หรือสร้างสรรค์ในสิ่งที่ตนเองจินตนาการไว้ในอดีต  และนำจินตนาการเหล่ามาสร้างให้เกิดความเป็นจริง   เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับตนเอง  โดยใช้เครื่องมือที่ตนเองมีอยู่  ได้แก่  สติปัญญาและความรอบรู้ที่ได้จากประสบการณ์ในอดีต  เช่น  การทำงาน  การท่องเที่ยว    เป็นต้น  

·     แนวคิด   HR =>   Innovation  แบ่งเป็น  2  แนวทาง   ดังนี้

ü     แนวคิด Innovation แบบดั้งเดิมหรือแนวคิดแบบภูมิปัญญาชาวบ้าน (ของประเทศไทย) ซึ่งเป็นแนวคิดที่นำมาใช้ประโยชน์ได้จริงและไม่ต้องใช้เงินลงทุนมากมาย   โดยใช้สูตร  ดังนี้

Innovation  =   มันสมอง +สองมือ+แรงกายและแรงใจ+ความทุ่มเท+ความพยามอย่างเต็มที่

ü     แนวคิด Innovation แบบปัจจุบัน 

Innovation  =  ทุนทางปัญญา + ทุนทรัพย์+ระบบการจัดการที่ดี  +การตลาด 2.    ทรัพยากรมนุษย์ช่วยในการทำ Idea ให้เกิด Action  Plan  จะต้องมีองค์ประกอบ  ดังนี้

·  ระดมแนวคิดและผสมผสานแนวคิดของผู้ร่วมงานหรือผู้ร่วมทำโครงการ   

·  การยอมรับแนวความคิดของผู้ร่วมงาน /โครงการ  ภายใต้เกณฑ์ที่ผู้เข้าร่วมงานตั้งไว้     เพื่อลดแนวความคิดแบบแปลกแยก  (ถ้าไม่ตั้งเกณฑ์อาจทำให้เกิดความคิดแบบแปลกแยกซึ่งเป็นรอยร้าวด้านแนวคิด)

·  ตั้งทีมงานเพื่อประสานและดูแลให้บรรลุเป้าหมายเพื่อความสำเร็จของโครงการ

·  กระตุ้นแนวคิดให้มีการ Up-Date  อยู่ตลอดเวลา  โดยการจูงใจด้วยการให้ผลตอบแทนหรือรางวัลเพื่อให้แผนงานประสบความสำเร็จ

 3.    ปัจจัยที่ทำให้โครงการเหล่านั้นประสบความสำเร็จ  มีดังนี้

·  ความร่วมมือ /ความสามัคคีของผู้ร่วมงานในการปฎิบัติงานให้เป็นไปตามแผน

·  S =  T &O  (Success  =  Time & Opportunity) ความสำเร็จขึ้นอยู่กับ เวลาและโอกาส  ซึ่งเป็นปัจจัยที่สำคัญที่มองข้ามไม่ได้

·  การสร้างแรงจูงใจในการทำงาน     มี Career  Path  ที่ชัดเจนเพื่อความก้าวหน้าของพนักงาน

·  คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหารโครงการ   เช่น  การเคารพและให้เกียรติซึ่งกันและกัน       ไม่แสดงการแบ่ง        ชนชั้น    ฐานะและการศึกษา   และแบ่งพรรคแบ่งพวก

·  จรรยาบรรณที่ผู้ร่วมงานมีต่อโครงการ  (ไม่ขายความคิดหรือนำความลับไปให้แก่คู่แข่ง  ทั้งในขณะที่ทำงานอยู่หรือลาออกไปแล้ว)

·  สร้างความน่าเชื่อถือให้เกิดกับโครงการ        เช่น มีความ   ซื่อสัตย์  จริงใจ   ตรงเวลา ให้กับคู่ค้า   เพื่อสร้างเครือข่ายพันธมิตรในอนาคต  (ขยายตลาดผลผลิตทางนวัตกรรมให้แพร่หลายไปทั่วโลก)    ซึ่งทำให้โครงการให้เกิดความยั่งยืนในระยะยาว  

 อุปสรรคที่ทำให้โครงการไม่ประสบความสำเร็จ

·  นโยบายการบริหารขาดความชัดเจน   ทำให้ผู้ร่วมงานหลงทาง  ไม่สามารถทำให้โครงการบรรลุตามเป้าหมาย

·  ความขัดแย้งภายในโครงการ   ซึ่งเกิดจากความกดดันจากผู้บริหาร   และการแข่งขันชิงดีชิงเด่นระหว่างผู้ร่วมงานด้วยกันเอง     

·  ขาดความรู้  ความชำนาญในเรื่องนั้นอย่างแท้จริง   และขาดความเอาใจใส่อย่างจริงจัง ในโครงการ

·  ขาดความกล้าที่เสี่ยงในการลงทุน  (มีเงินแต่ไม่ยอมทุ่ม)  

·  ขาดเงินลงทุน  (ทุ่มเทแต่ไม่มีเงินจะทุ่ม) 

 4.     จะเอาความรู้เรื่องทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ให้ได้ผลจริง โดยมีโครงการที่คิดว่าอยากจะทำในอนาคต 

·  ทำ  Home-Stay  for  Health  ในแถบลุ่มแม่น้ำโขง   เพื่อบริการนักท่องเที่ยวทั้งในและต่างประเทศ (เน้นแถบเอเชียและยุโรป)  เป็นการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์   เน้นเอกลักษณ์ท้องถิ่นไทย    เช่น  ให้นักท่องเที่ยวต่างชาติสนุกกับกิจกรรมระหว่างพักผ่อน   การเรียนรู้วิธีการไถนารูปแบบใหม่   “Skate  in   the  paddy   field” 

·  ส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมท้องถิ่นที่มีความแปลกใหม่ควบคู่กับ  Home-Stay  for  Health    ตัวอย่าง เช่น      

-   ค้นคว้า  วัตถุที่นำมาประดิษฐ์เป็น Skate  ใส่ให้วัวควาย เพื่อผ่อนแรงในการไถนา   ซึ่งเป็นการสร้างมิติใหม่ให้เกิดกับวงการทำนาไทยโดยไม่จำเป็นต้องพึ่งควายเหล็ก   อีกทั้งยังเป็นการประหยัด สอดรับกับเศรษฐกิจพอเพียง    

-  นำพลังงานจากสัตว์พาหนะมาใช้ทดแทนรถยนต์    โดยการคิดค้นอุปกรณ์ชิ้นส่วนเล็กๆ มาใส่ในเกือกม้าเพิ่มระยะทางในการเดินทางของม้าโดยมีความเหนื่อยเท่าเดิม  โดยใช้  Remote Control ในการควบคุมอุปกรณ์  (เป็นแค่แนวคิดแบบ   Innovation   เท่านั้น   ในอนาคตอันไกลอาจจะเกิดขึ้นได้)

 
นายสักกวร วงศ์กงทอง
สวัสดีครับ อาจารย์ที่เคารพ กระผม นายสักกวร วงศ์กงทอง รหัสประจำตัว 4914980607 นักศึกษาโครงการหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการนวัตกรรม รุ่นที่ 1 มหาวิทยาลัยรามคำแหง ขอกราบขอบพระคุณคณะอาจารย์ที่เดินทางมาให้ทั้งความรู้ หลักแนวคิด และชี้นำทางสู่ความสำเร็จได้อย่างแจ่มแจ้งและชัดเจน และที่สำคัญ....อาจารย์ทำให้ผมมองเห็นภาพระหว่างคำว่า "HR" กับ "Innovation" มีความสัมพันธ์กันอย่างไร และสองคำนี้ส่งผลต่อภาพรวมของบริษัทมากเพียงใด จากที่อาจารย์ได้ตั้งคำถามเพื่อให้นักศึกษามีโอกาสเสนอความคิดเห็นของตนเองภายใต้หัวข้อ HR and Innovation นั้น กระผมจึงขอเสนอความคิดเห็นเป็นข้อๆ ดังนี้ 1. ธุรกิจในโลกปัจจุบันที่จะสามารถเจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่องและยาวนานนั้น ทุกๆท่านคงจะหลีกเลี่ยงไม่ได้กับคำว่า Innovation ซึ่งคำๆนี้อาจจะเป็นคำที่ทุกๆท่านเคยได้ยินผ่านหูอยุ่ทุกวัน แต่ไม่ได้สนใจอะไรมากนักเพราะคิดเพียงแต่ว่า ณ.ปัจจุบันองค์กรหรือธุรกิจของเรายังไม่จำเป็นที่จะต้องเริ่มนำระบบ Innovation เข้ามาใช้กับองค์กร แต่เมื่อถึงเวลาที่จะต้องใช้งานขึ้นมาจริงๆแล้วกลับไม่มีบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์ในด้านของ Innovation เลยจึงส่งผลให้องค์กรเกิดข้อเสียเปรียบต่อคู่แข่งทางการค้า เพราะฉะนั้นไม่ว่าองค์กรของเราจะยังไม่เริ่มใช้งานระบบ Innovation อย่างจริงจังก็ควรมีการอบรมให้พนักงานภายในองค์กรได้ทราบถึงความสำคัญ หลักแนวคิด และวัตถุประสงค์อย่างชัดเจน พร้อมทั้งส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วมในการออกความคิดสร้างสรรค์เพื่อนำไปสู่ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆที่มี Concept แตกต่างจากคู่แข่งรายอื่นๆ ในอนาคต 2. หลังจากที่องค์กรได้ให้ความสำคัญและสนับสนุนให้พนักงานเข้าใจและทราบถึงเหตุผลของการนำระบบ Innovation เข้ามาใช้งานแล้ว ชีวิตความเป็นอยู่และสภาพแวดล้อมของพนักงานแต่ละคนจะเป็นตัวเสริมสร้างประสบการณ์ให้ว่าสิ่งใดสามารถเกิดขึ้นได้จริง และสิ่งใดที่ไม่สามารถเกิดขึ้นได้จริง มีความลองผิดลองถูก แล้วจึงนำสิ่งที่คิดว่าสามารถเกิดได้จริงนั้นนำมาวางแผนเพื่อให้เกิดเป็น Project หรือ Action Plan อย่างสมบูรณ์ 3. สิ่งที่ทำให้โครงการแต่ละโครงการสามารถสำเร็จลุล่วงได้เป็นอย่างดีนั้น ต้องประกอบไปด้วย - ศักยภาพของฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ที่สามารถปลูกฝังคำว่า Innovation ให้อยู่ในหัวใจของพนักงานภายในองค์กร - ความรู้ความสามารถและความคิดสร้างสรรค์ที่ไม่หยุดยิ่ง เปรียบเสมือนลูกฟุตบอลที่มีน้ำหนักเบาซึ่งจะสามารถวิ่งได้เร็วและไกลกว่าลูกฟุตบอลที่มีน้ำหนักมากไม่ไกลเท่าที่ควร - การวางแผน วางกลยุทธ์ที่เฉียบขาด - และสิ่งที่ผมคิดว่าสำคัญที่สุด คือ .....ความสามัคคี..... และส่วนของอุปสรรค์ในเรื่องทรัพยากรมนุษย์ที่ทำให้โครงการไม่ประสบความสำเร็จ ประกอบด้วยความกลัว..... ดังนี้ - กลัวความเสี่ยง - กลัวสิ่งที่ยังไม่เกิด - กลัวตัวเอง - กลัวความเห็นแก่ตัวของเจ้านาย - และสิ่งที่ผมคิดว่าสำคัญที่สุด คือ .....กลัวความเสรงแสร้ง..... 4. กระผมอยากที่จะนำความรู้ในเรื่องทรัพยากรมนุษย์ให้เกิดผลในด้าน "การสร้างบุคลากรที่มีคุณภาพ" คำๆนี้อาจจะดูเหมือนว่าทำง่ายๆ แต่จริงๆแล้วการที่บุคลากรจะมีคุณภาพได้นั้นต้องใช้เวลาในการเรียนรู้ ฝึกฝน ลองผิดลองถูก แชร์ความคิดกับบุคคลที่มีความสามารถมากกว่า ซึ่งทั้งหมดนี้จะเป็นตัวเสริมสร้างประสบการณ์ที่ดีให้กับบุคลากรได้เป็นอย่างดี
นายสักกวร วงศ์กงทอง
สวัสดีครับ อาจารย์ที่เคารพ กระผม นายสักกวร วงศ์กงทอง รหัสประจำตัว 4914980607 นักศึกษาโครงการหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการนวัตกรรม รุ่นที่ 1 มหาวิทยาลัยรามคำแหง ขอกราบขอบพระคุณคณะอาจารย์ที่เดินทางมาให้ทั้งความรู้ หลักแนวคิด และชี้นำทางสู่ความสำเร็จได้อย่างแจ่มแจ้งและชัดเจน และที่สำคัญ....อาจารย์ทำให้ผมมองเห็นภาพระหว่างคำว่า "HR" กับ "Innovation" มีความสัมพันธ์กันอย่างไร และสองคำนี้ส่งผลต่อภาพรวมของบริษัทมากเพียงใด จากที่อาจารย์ได้ตั้งคำถามเพื่อให้นักศึกษามีโอกาสเสนอความคิดเห็นของตนเองภายใต้หัวข้อ HR and Innovation นั้น กระผมจึงขอเสนอความคิดเห็นเป็นข้อๆ ดังนี้ 1. ธุรกิจในโลกปัจจุบันที่จะสามารถเจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่องและยาวนานนั้น ทุกๆท่านคงจะหลีกเลี่ยงไม่ได้กับคำว่า Innovation ซึ่งคำๆนี้อาจจะเป็นคำที่ทุกๆท่านเคยได้ยินผ่านหูอยุ่ทุกวัน แต่ไม่ได้สนใจอะไรมากนักเพราะคิดเพียงแต่ว่า ณ.ปัจจุบันองค์กรหรือธุรกิจของเรายังไม่จำเป็นที่จะต้องเริ่มนำระบบ Innovation เข้ามาใช้กับองค์กร แต่เมื่อถึงเวลาที่จะต้องใช้งานขึ้นมาจริงๆแล้วกลับไม่มีบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์ในด้านของ Innovation เลยจึงส่งผลให้องค์กรเกิดข้อเสียเปรียบต่อคู่แข่งทางการค้า เพราะฉะนั้นไม่ว่าองค์กรของเราจะยังไม่เริ่มใช้งานระบบ Innovation อย่างจริงจังก็ควรมีการอบรมให้พนักงานภายในองค์กรได้ทราบถึงความสำคัญ หลักแนวคิด และวัตถุประสงค์อย่างชัดเจน พร้อมทั้งส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วมในการออกความคิดสร้างสรรค์เพื่อนำไปสู่ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆที่มี Concept แตกต่างจากคู่แข่งรายอื่นๆ ในอนาคต 2. หลังจากที่องค์กรได้ให้ความสำคัญและสนับสนุนให้พนักงานเข้าใจและทราบถึงเหตุผลของการนำระบบ Innovation เข้ามาใช้งานแล้ว ชีวิตความเป็นอยู่และสภาพแวดล้อมของพนักงานแต่ละคนจะเป็นตัวเสริมสร้างประสบการณ์ให้ว่าสิ่งใดสามารถเกิดขึ้นได้จริง และสิ่งใดที่ไม่สามารถเกิดขึ้นได้จริง มีความลองผิดลองถูก แล้วจึงนำสิ่งที่คิดว่าสามารถเกิดได้จริงนั้นนำมาวางแผนเพื่อให้เกิดเป็น Project หรือ Action Plan อย่างสมบูรณ์ 3. สิ่งที่ทำให้โครงการแต่ละโครงการสามารถสำเร็จลุล่วงได้เป็นอย่างดีนั้น ต้องประกอบไปด้วย - ศักยภาพของฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ที่สามารถปลูกฝังคำว่า Innovation ให้อยู่ในหัวใจของพนักงานภายในองค์กร - ความรู้ความสามารถและความคิดสร้างสรรค์ที่ไม่หยุดยิ่ง เปรียบเสมือนลูกฟุตบอลที่มีน้ำหนักเบาซึ่งจะสามารถวิ่งได้เร็วและไกลกว่าลูกฟุตบอลที่มีน้ำหนักมากไม่ไกลเท่าที่ควร - การวางแผน วางกลยุทธ์ที่เฉียบขาด - และสิ่งที่ผมคิดว่าสำคัญที่สุด คือ .....ความสามัคคี..... และส่วนของอุปสรรค์ในเรื่องทรัพยากรมนุษย์ที่ทำให้โครงการไม่ประสบความสำเร็จ ประกอบด้วยความกลัว..... ดังนี้ - กลัวความเสี่ยง - กลัวสิ่งที่ยังไม่เกิด - กลัวตัวเอง - กลัวความเห็นแก่ตัวของเจ้านาย - และสิ่งที่ผมคิดว่าสำคัญที่สุด คือ .....กลัวความเสรงแสร้ง..... 4. กระผมอยากที่จะนำความรู้ในเรื่องทรัพยากรมนุษย์ให้เกิดผลในด้าน "การสร้างบุคลากรที่มีคุณภาพ" คำๆนี้อาจจะดูเหมือนว่าทำง่ายๆ แต่จริงๆแล้วการที่บุคลากรจะมีคุณภาพได้นั้นต้องใช้เวลาในการเรียนรู้ ฝึกฝน ลองผิดลองถูก แชร์ความคิดกับบุคคลที่มีความสามารถมากกว่า ซึ่งทั้งหมดนี้จะเป็นตัวเสริมสร้างประสบการณ์ที่ดีให้กับบุคลากรได้เป็นอย่างดี
นางสาวอกนิษฐ์ สุภาะโสดถิ์
ดิฉัน นางสาวอกนิษฐ์  สุภาวะโสดถิ์ นักศึกษาโครงการหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการนวัตกรรม รุ่นที่ 1 มหาวิทยาลัยรามคำแหง รหัส 4914980767 ขอเสนอความคิดเห็นในเรื่อง ทรัพยากรมนุษย์ ช่วยเหลือ Innovation ใน 3 Stage        ได้อย่างไรStage 1:  การทำให้เกิดสิ่งใหม่ที่ได้จากความรู้ใหม่ หรือ จากความรู้เดิม   ทรัพยากรมนุษย์ ถือได้ว่า เป็นส่วนสำคัญที่สนับสนุน  Innovation  เนื่องจาก Innovation ที่สมบูรณ์ จะไม่ได้เกิดจากการ    ที่ คนมีเพียงแค่  Idea ที่ดีอย่างเดียว แต่คน คนนั้นจะต้องสามารถบริหารจัดการ (ความรู้หลายๆ ด้าน) เช่น การตลาด , การใช้เทคโนโลยี , ทักษะการตัดสินใจ ที่สำคัญแล้วจะต้องทำ Idea นั้น ให้เกิดมูลค่าเพิ่มด้วย  (เพื่อเป็นเครื่องมือช่วย  ในการตัดสินว่า สิ่งที่คิดขึ้นนั้นเป็น นวัตกรรม หรือ เป็นแค่สิ่งประดิษฐ์ในงานวิจัย... ) ขอยกตัวอย่าง ขององค์กร ปัจจุบันที่ทำงานอยู่   กล่าวได้ว่าให้ความสำคัญกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์  เพราะองค์กร ตระหนัก ว่าความรู้ของคนในองค์กรส่วนใหญ่เป็นความรู้ประเภท Tacit  (โดยอาจเทียบเป็นอัตราส่วนระหว่าง Tacit : Explicit  เป็น 80:20)  ดังนั้น จึงต้องใช้กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ มาเป็นเครื่องมือ ในการดึงความรู้ประเภท Tacit  ที่อยู่ในตัวบุคคล อันเกิดจากประสบการณ์และการเรียนรู้ ออกมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่องค์กร เพื่อสร้างนวัตกรรมใหม่ ส่งผลให้ผลิตภัณฑ์และบริการแตกต่างจากคู่แข่งขันในตลาด  (ทั้งในขณะที่คน คนนั้นยังคงทำงานให้องค์กรอยู่หรือออกไปแล้วก็ตาม) เช่น HR สนับสนุนให้สร้างและแบ่งปันความรู้ จากการแปลงความรู้ที่มีออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร โดยมีโครงการ Ant Mission         Stage 2:   การนำ Idea ไปสู่ Project หรือ Action Plan  การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ช่วยให้ เกิดการบริหารจัดการความรู้  เช่น  ทำ KM (Knowledge Management) ซึ่ง ความรู้ถือเป็นความได้เปรียบทางการแข่งขันที่ยั่งยืนที่สุด  เพราะโลกปัจจุบันเป็น ยุคเศรษฐกิจฐานความรู้ (Knowledge-Based Economy)  ดังนั้นการแข่งขันต้อง ใช้ความเร็ว เพื่อสร้างความได้เปรียบ โดยใช้ความรู้เป็นตัวขับเคลื่อนหลักที่ทำให้ประสบความสำเร็จ สามารถเปลี่ยน Idea ไปสู่ Project / Action Plan ในที่สุด              แต่นอกจากจะอาศัยแค่ความความรู้ อันชาญฉลาด  ที่จะคิด ปรับปรุง พัฒนาต่อยอดความรู้ ที่มีอยู่เดิมแล้ว อีกอย่างที่ขาดเสียไม่ได้ ก็คงจะต้องเป็นความกล้า (บ้าบิ่น) ของทีมงาน... ด้วย   คือ              แค่เก่งคิดไม่พอ   ต้องเก่งทำ ด้วย  และ แค่เก่งทำ  ก็ไม่พอ   แต่ต้องเร็ว ด้วย !เพราะสิ่งที่เราคิดว่า มันเป็นสิ่งใหม่ คิดขึ้นได้ใหม่ อีก 1 นาที ถัดไป คนอื่นเค้าก็อาจจะคิดได้เหมือนเรา และเค้าก็อาจจะลงมือทำก่อนเรา ด้วยซ้ำ                                                     Stage 3:   การทำให้ Project / Action Plan  ประสบผลสำเร็จ สำหรับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ที่เป็นปัจจัย ส่งเสริมให้ Project / Action Plan   ประสบผลสำเร็จ ดังนี้ ·        ผู้บริหารให้การสนับสนุน และเห็นถึงประโยชน์ที่องค์กรจะได้รับจากการจัดการความรู้ ·        วัฒนธรรมแห่งในการเรียนรู้และแบ่งปันความรู้ ระหว่างบุคคลากรในองค์กร·        พนักงานมีทัศนะคติดี และเห็นประโยชน์ในการแบ่งปันความรู้ให้กันและกัน ·        ส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างพนักงานอย่างกว้างขวาง·        สร้างบรรยากาศ สร้างบรรยากาศให้คนในองค์กรต้องการเรียนรู้และแบ่งปันความรู้  ·        เห็นความสำคัญและมีส่วนร่วมในการเข้าร่วมเรียนรู้และแบ่งปันส่วนอุปสรรคที่ขัดขวางความสำเร็จในการสร้างนวัตกรรม .. ถ้าเริ่มคิดจากคนทั่วไป..คนส่วนใหญ่ยังไม่เข้าใจจริงๆ ว่า นวัตกรรม คืออะไร.. นี่ก็คืออุปสรรค ที่เห็นได้ชัด ก็คือ คนขาดความรู้   และเมื่อคนไม่มีความรู้ ก็จบ ตั้งแต่ยังไม่เริ่มต้น..       Stage 4:  โครงการที่จะทำ คือ ทำโปรแกรมแปลงรายละเอียดตัวหนังสือ เช่น ตำราเรียน ให้เป็นเนื้อร้องเพลง โดยใส่จังหวะ ทำนอง เป็นเพลงที่ตนเองต้องการ / ชื่นชอบ เพื่อให้นักเรียน นักศึกษา สามารถจำได้ง่ายและรวดเร็วขึ้น
กริชษฎี ดิษฐประดับ
สิ่งที่ตอบอาจไม่ใช่สิ่งที่ดีที่สุด แต่ข้าพเจ้าจะทำในสิ่งที่ดีให้ดีที่สุด 1.     ทรัพยากรมนุษย์มีส่วนช่วยใน Innovation อย่างไรก่อนที่จะเข้าถึงรายละเอียดใดๆ ทุกคนคงต้องทำความเข้าใจความหมายของคำว่า  ทรัพยากรมนุษย์ และ Innovation เสียก่อนจากสิ่งที่ได้เรียนมาพบว่า ทรัพยากรมนุษย์    คือ ตัวเรา คนในครอบครัวเรา ในองค์กรเรา  ในประเทศของเรา และในโลกของเรา     Innovation คือ การนำสิ่งใหม่ๆ,วิธีการใหม่ๆ,การเปลี่ยนแปลง,การปรับปรุง,วิธีการใหม่,การกระทำใหม่(นวัตกรรม)  ดังนั้นคำถามที่ถามว่าทรัพยากรมนุษย์ จะมีส่วนช่วยใน Innovation อย่างไร จึงเป็นสิ่งทีพูดได้อย่างง่ายๆว่า เพียงแค่เราเปลี่ยน ไม่ว่าจะป็น ความคิด ,การบริหาร,การกระทำ ไปสูสิ่งใหม่ๆ ที่เป็นแนวทางที่น่าจะดีกว่า เราก็ได้มีส่วนช่วยใน Innovation แล้ว 2.     ทรัพยากรมนุษย์ช่วยในการนำ Idea เพื่อให้เกิด Project หรือ Action Plan อย่างไร       จากคำตอบในข้อ 1  เมื่อเราเปลี่ยนแล้ว ทำอย่างไรจึงจะเกิดProject หรือ Action เราก็ต้องควรหาวิธีการเหล่านั้น โดยการมองหาสิ่งที่บุคคลรอบข้างเราต้องการ ลูกค้า ต้องการ หรือคนในสังคมต้องการ มันก็จะเกิด Project หรือ Action เหล่านั้นขึ้นมา  3.     ทำอย่างไรจึงจะทำให้โครงการเหล่านั้นประสบความสำเร็จ อุปสรรคในเรื่องทรัพยากรมนุษย์ ที่ทำให้โครงการไม่ประสบผลสำเร็จมีอะไรบ้างการที่จะทำการใดให้สำเร็จ  ข้อแรก คือ ทำตามข้อ 1 และข้อ 2 จากนั้น เมื่อเราต้องการทำงานนั้นเป็นทีม ,เป็นกลุ่ม, เป็นบริษัท  เราก็ต้องมาดูในเรื่องของการกระจายสิทธิ กระจายความสามารถให้แก่บุคคลต่างๆให้มีส่วนร่วม ทั้งร่วมกันคิด  จากทั้งหมดนี้ ข้าพเจ้าก็เชื่อว่า โครงการต่างๆของเราก็จะสำเร็จไปด้วยดี และสิ่งที่จะทำให้สิ่งต่างๆ ไม่สำเร็จ ก็คือ สิ่งที่ตรงข้ามกับสิ่งที่ข้าพเจ้าพูดมา  รวมทั้งเป็นคนที่มีแต่ Negative Thinking 4.     เราจะเอาความรู้เรื่องทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ให้ได้ผลจริงๆ หรือทำเป็นโครงการที่เป็นรูปธรรมในเรื่องใด  ในเรื่องทรัพยากรมนุษย์ เป็นเรื่องที่กว้าง และละเอียดอ่อนมาก ถ้าเรามีความรู้ ความเข้าใจที่ดี และสามารถนำไปปรับใช้ได้ดี ไม่ว่างานแบบใด ก็ตามที่มีมนุษย์มาเป็นส่วนเกี่ยวข้องก็สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้จริงทั้งนั้น ซึ่งโดยส่วนตัวของข้าพเจ้าจะนำไปใช้ในองค์กรของข้าพเจ้า ซึ่งเป็นบริษัท ที่จำหน่าย สินค้า ที่ เป็น Innovation Technology   (Mantanance Software) แต่จะทำได้อย่างประสบผลสำเร็จ หรือไม่นั้น ข้าพเจ้ามีหลักการ อยู่ 3 อย่าง ซึ่งท่านทั้งหลายสามารถลองปฎิบัติตามได้ นั้นคือ1.     ข้าพเจ้ามีความชื่นชอบในทฤษฎี 3 C ของท่านอาจารย์ ศ.ดร.จิระ หงส์ลดารมภ์ นั่นคือ Change, Customer Base ,Command Control  อยากให้ท่านทั้งหลายลองศึกษา และลองนำไปใช้ไปปฎิบัติ2.      เมื่อท่าน ใช้หลักการ 3 C สิ่งที่ท่านควรเพิ่มเติมเข้าไป คือ คุณธรรมและจริยธรรม  โดยทำง่ายๆคือ เริ่มต้นจากคิดในทางที่ดี ทำในทางที่ดี พูดในสิ่งที่ดี ประท้วงด้วยวิธีที่ดีๆ อย่างคำที่เราใช้กันบ่อยๆ คือ Positive Thinking3.     สุดท้ายที่สำคัญที่สุด  คือการรู้จักตอบแทนบุญคุณ คนที่มีพระคุณแก่เรา ไม่ว่าจะเป็น บิดา มารดา หรือบุคคลต่างๆ ที่มีคุณต่อเรา ไม่ว่าเพียงเล็กน้อย  หรือคนเรานั้นจะอยู่ต่ำกว่าเรา เราก็ควรทดแทนคุณเขาเช่นกัน  แต่ต้องเป็นการทดแทนคุณในสิ่งที่ถูกต้อง  โดยต้องทดแทนในสิ่งที่ มีคุณธรรม และถูกต้องตามหลักการ และกฎหมายของบ้านเมือง เช่นถ้าเขาให้เงินเรา เพื่อซื้อเสียง แล้วเราไปเลือกเขา อย่างนี้ เท่ากับว่าเราทดแทนคุณในทางที่ผิดต่อบ้านเมือง ต่อ พ่อแม่ เรา ต่อ บรรพบุรุษเรา เราต้องไม่ทำ เราควรตอบแทนเขาด้วยวิธีอื่นที่ไม่ผิดเช่นนี้เป็นต้น นาย กริชษฎี    ดิษฐประดับ    รหัส  4914981084  SEC 2E-Mail ADDRESS  [email protected]นศ.ปริญญาโท หลักสูตร นวัตกรรม  (ในความร่วมมือ ของ ม.รามคำแหง และ สนช. )รุ่นที่ 1ไม่มีคำว่าสายสำหรับการเปลี่ยน แต่เปลี่ยนวันนี้ ดีกว่าเปลี่ยนในวันสุดท้ายของชีวิต
กนกกาญจน์ คำคูณ รหัส 4914981851

สวัสดีค่ะอ.ดร.จีระและพี่ๆทีมงานจากที่ได้ฟังเทปที่ได้เปิดวันนั้นแล้วดิฉันรู้สึกทึ่งในความคิดและความสำเร็จของทั้งท่านพารณและอ.ดร จีระมาก ดิฉันไม่ได้เรียนและทำงานเกี่ยวกับการบริหารหรือด้านธุรกิจแต่เรียนHealth Science คือเป็นพยาบาลค่ะแต่ด้วยความที่ดิฉันอยากมีความคิดใหม่ๆและมีความคิดที่กว้างเท่าทันคนอื่นจึงมาเรียนMBA Innovation นี้และตามที่พี่ยมพูดในตอนท้ายว่า innovationที่ยิ่งใหญ่ที่สุดคือ innovation ตัวเองดิฉันได้เห็นประจักษ์กับตัวเองแล้วค่ะขอตอบคำถามค่ะ

1.การจัดการทัพยากรมนุษย์เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมอย่างไร

***ตามที่ท่านพารณกล่าวไว้ว่าการทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งนั้น เราต้องมีความศรัทธาเราต้องเชื่อมั่นในคุณต่าของคน เพราะคนเป็นทัพยากรที่สำคัญที่สุด ในองค์กรต้องการคที่มีประสิทธิภาพมาทำงานเพื่อขับเคลื่อนองค์กรให้ก้าวไปข้างหน้าและในปัจจุบันนี้องค์กรจะขับเคลื่อนไปข้างหน้าได้นั้นจำเป็นต้องมีInnovationหรือนวัตกรรม นวัตกรรมคือสิ่งใหม่ที่เกิดจากการใช้ความรู้และความคิดสร้างสรรค์ซึ่งInnovation มี3stgeด้วยกัน1. ความคิดใหม่ๆ

            2. ต้องใช้ความรู้ความคิดสร้างสรรค์นั้นนำมาทำให้เกิดขึ้นจริง

            3. สิ่งที่เกิดขึ้นนั้นเป็นประโยชญ์ต่อเศรฐกิจและสังคม

นวัตกรรมอาจไม่ใช่สิ่งที่เกิดขึ้นในวงธุรกิจแต่มีทั้งรัฐวิสาหกิจ ราชการ การทำให้มีInnovationเราต้องหาคนเก่งคือคนที่มีIdeaใหม่ๆมาอยู่กับเรา ทำให้เค้ารักองค์กรและอยู่กับองค์กรให้นานที่สุดการทำให้คนมีความผูกพันธ์กับองค์กรจะทำให้บุคคลากรทำงานอย่างประสิทธภาพ องค์กรก็เจริณเติบโต

ตอนนี้ขอตอบข้อ1.ก่อนค่ะพรุ่งนี้จะกลับมาตอบที่เหลืออีก3ข้อนะคะ

 

 

คมสัน เลิศประเสริฐ 4914980130

ขอขอบคุณท่านอาจารย์ครับที่ได้ให้โอกาสผมได้แสดงความคิดเห็นแลกเปลี่ยนความรู้ ผมไม่ได้จบมาในสาขานี้โดยตรงและไม่มีประสบการณ์ทางด้านนี้เลยแต่ก็ขอเสนอความคิดเห็นแลกเปลี่ยนความรู้ดังนี้ครับ 

1.ผมคิดว่าถ้าไม่มีการจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่ดี นวัตกรรมก็ไม่เกิดขึ้น ซึ่งทรัพยากรมนุษย์เป็นจุดเริ่มแรกให้เกิดนวัตกรรมขึ้น เพราะมนุษย์มีความคิด

2.ทรัพยากรมนุษย์ช่วยในการทำ Idea ให้เกิด Action  Plan ได้อย่างไรผมคิดว่าเราต้องทำให้บุคคลนั้นเข้าใจในจุดยืนหรือเป้าหมายที่ต้องการเสียก่อน ว่าเราต้องการอะไร บุคคลากรที่จะให้เกิดนวัตกรรมได้ผมคิดว่า

- ต้องมีแรงกระตุ้น ต้องมีแรงกดดันซึ่งทำให้เกิดการ active ขึ้น

- ต้องเป็นผู้แสวงหาความรู้ ไม่หยุดนิ่งในความรู้เพราะ idea ใหม่สามารถเกิดได้ทุกที่ ทุกเวลา

-ต้องยอมรับการเปลี่ยนแปลง เพราะการยอมรับการเปลี่ยนแปลงซึ่งจะทำให้เรารู้มากขึ้น มันอาจไม่ประสบความสำเร็จแต่เราอาจได้รับรู้แนวทางที่เพิ่มขึ้น

-ต้องกล้าที่จะลงมือทำ ถ้าไม่ลงมือทำก็ไม่สามารถที่จะรู้ได้เลยว่าสิ่งที่ทำนั้นมีผลอย่างไร อย่างที่อาจารย์ได้บอกว่านวัตกรรมทำแล้วอาจไม่ประสบความสำเร็จแต่ถ้าไม่ทำก็จะอยู่ไม่ได้

3.โครงการเหล่านั้นจะประสบความสำเร็จหรือไม่นั้นต้องเกิดจากการร่วมมือกับผู้ที่เกี่ยวข้องหลายสาขาวิชา สิ่งสำคัญคือความร่วมมือสามัคคี ซึ่งเป็นหลักสำคัญ การระดมความคิดเป็นการกระตุ้นให้เกิดแนวทางหลากหลายซึ่งจะมีข้อเปรียบเทียบได้มากกว่าที่จะคิดคนเดียว

4 องค์กรผมทำอยู่เป็นองค์กรราชการซึ่งมีขนาดใหญ่ และผมได้ทำในส่วนของการบริการซึ่งตอนนี้ได้พยายามทำให้ผู้บริการสามารถที่จะยื่นหรือดำเนินการได้ทาง website แต่ที่ยังไม่ประสบความสำเร็จอาจเนื่องมาจากข้อมูลที่มีมากเกินไปและความซับซ้อนของข้อมูล

ปิติภัทร บุญประสพ  รหัส 4914980998 MBA innovation

1การจัดการทรัพยากรมนุษย์ช่วยในเรื่องนวัตกรรมอย่างไร

-การดำเนินธุรกิจในโลกปัจจุบันจะต้องมีการปรับตัวให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของดลกปัจจุบันดยการนำ hr มาพัฒนาร่วมกับนวัตกรมคือการคิดอะไรใหม่ๆมองวิสันทัศน์ที่กว้างไกลเพราะฉะนั้นในองค์กรควรจะมีบุคคลากรที่มีคุณภาพและพร้อมที่จะเรียนรูกับสิ่งใหม่ๆดยกาเรียนรู้ว่าตัวเองต้องการอะไรและคว่ทสำเร็จนั้นเกิดจากอะไรโดยทำให้เกิดความคิดสร้างสรรคในองค์กรมากยิ่งขึ้น

2 ทรัพยากรมนุษย์ช่วยในเรื่องidea เพื่อทำให้เกิดprojectหรือ action plan

-การนำความรู้ทักษะ มาพัฒนาให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีคือการนำบุคคลากรที่มีความชำนาญในproject นั้น๐มาแบ่งงานในแต่ล่ะหน้าที่ตามความเหมาะสมในการทำงานนั้นๆให้บรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดไว้

3 ทำอย่างไรจะทำโครงการให้ประสบความสำเร็จและมีอุปสรรคในเรื่องทรัพยากรมนุษย์และมีอุปรรคอารายบ้างที่ไม่ประสบความสำเร็จ

-ทำอย่างไรจะทำให้โครงการประสบความสำเร็จ

1.บุคคลากรในองค์กรจะต้องมีหน้าที่ความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมา

2.บุคคลากรทุกคนขององค์กรมีการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นอย่างมีเหตูผลโยมีกาแลกเปลี่ยนวิสัยทัสน์กับเพื่อนร่วมงานแล้วนำมาประยุกต์ใช้งานได้อย่างสอดคล้องกัน

3.สร้างทัศนคติและขวัญกำลังใจในการทำงานเพื่ออช่วยเสริมสร้างบุคคลากรให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

4.องค์กรสามารถนำปัญหาที่เกิดขึ้นมาแก้ไขความผิดพลาดที่เกิดขึ้นในองค์กรและได้เสนอแนวคิดในการแก้ปัญหามาพัฒนาและปรับปรุงไปในทางที่ดีขึ้น

-อุปสรรคของการทำให้โครงการไม่ประสบความสำเร็จ

1.บุคคลากรไม่มีศักยภาพในการทำงานองค์กรทำให้การทำงานในองค์กรทำให้โครงการที่ทำไม่ประสบความสำเร็จ

2.องค์กรขาดกลยุทธ์ในการบริหารองค์กร3

3.พนักงานมีอคติกับหัวหน้างานโดยตรง

4.บุคคลากรไม่เข้าใจในงานที่ได้รับมอบหมาย

5.บุคคลากรมีอคติกับเพือนร่วมงาน

4.เราจะนำเอาความรู้เรื่อง HR ไปใช้ให้ได้ผลจริงๆหรือทำโครงการในรูปธรรมได้อย่างไร

-ของกล่าวว่าในขณะนี้ผมทำงานเกี่ยวกับการท่องเที่ยวเพราะฉะนั้นผมจะนำความรู้ทางด้าน HR ไปใช้ในบุคคลากรให้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพได้อย่างไร

โดยการวิเคราะห์จากการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคคลากรที่เป็นส่วนที่ดูและอยู่ว่ามีข้อบกพร่องแล้วผิดพลาดอะไรบ้างแล้วนำมาก้ไข ดดยอาจจะดูว่าบุคคลากร มีข้อบกพร่องส่วนใดอาทิเช่นเรื่องภาษา หรือ การควบคุมอารมณ์ระหว่างการทำงาน เราจะต้องจัดการภาษา และ การควบคุมอารมณ์ในการปฏิบัตืงานโดยผ่านทางผู้ชำนาญในด้านต่างๆต่อไป

 

นางสาวศุกร์ศิริ วรกิติโอภาส
  • ในปัจจุบันได้มีการแข่งขันกันมากและมีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็วจนต้องปรับเปลี่ยนแผนการพัฒนากันมากขึ้นจึงจำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงแปรงบางอย่างเพื่อให้ดีกว่าและใหม่กว่าตลาดคู่แข่งขันโดยมีเทคโนโลโลยีเข้ามาเป็ฯตัวเสริมเพื่อให้สะดวกและรวดเร็วเร็วทั้งนี้ทั้งนั้นก็จะขากไม่ได้เลยก็คือตัวบุคคลที่จัดการและจะจัดสรรอย่างลงตัวด้วยความคิดสร้างสรรที่เกิดขึ้นและนำมาประยุกต์เพื่อให้องค์กรทุกองค์กรนั้นมีความก้าวหน้า โดยเราต้องสร้างคุณค่าให้กับองค์กรขึ้นมาและจากที่กล่าวมานั้นก็คือ คน เพราะฉะนั้นการที่จะสร้างงานให้เกิดนวัตกรรมใหม่ต้องพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีความรู้และทักษะความสามารถทุกด้านตามที่องค์กรต้องการ  เพื่อความได้เปรียบเชิงแข่งขันและรองรับเทคโนโลยีต่างที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
  • การจัดการขั้นตอนการทำงานที่รวดเร็วและคุณภาพ ไม่ใช่การทำงานในลักษณะตั้งรบรอคอยแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นไปวันวัน ต้องปรับเปลี่ยนเป็นเชิงรุก  มีการจัดการเชิงกลยุทธ์เพือให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดและเอาชนะคู่แข่งขันจนตอบสนองความต้องการของผู้เกี่ยวข้องใน project หรือ action ที่กระทำขึ้น
  • ปัจจัยที่ทำให้โครงการประสบผลสำเร็จ 1.การทำงานร่วมกันเป็นทีมและคิดอย่างมีระบบ 2.มีการกระจายอำนาจที่ได้ผล 3.การบริหารความรู้ที่ดี 4.การบริหารเวลาที่ดี
  • ปัจัยที่ทำให้โครงการไม่ประสบความสำเร็จคือ 1.ไม่ชอบมีการเปลี่ยนแปลง 2.มี idea ดีแต่ไม่มีการมองลูกค้า มีแต่supply ไม่มี demand 3.มี idea ดีแล้วแต่นายเจ้าไม่เปิดโอกาสให้ลูกน้อง 4.ไม่มีความมั่นใจในตัวเอง 5.คิดว่าตัวเองเก่งกว่าคนอื่นจนไม่รับฟังความคิดของคนอื่น
  • นำความรู้ที่เรียนนั้นนำไปพัฒนาและบริหารบุคคลในหน่วยงานหรือองค์กรโดยการวางแผนจัดสรรทรัพยากรมนุษย์ได้อย่างลงตัวเพื่อไม่ให้เกิดความขัดแย้งและความได้เปรียบเสียเปรียบกันเกิดขึ้นในองค์กรนั้น
  • นางสาวศุกร์ศิริ วรกิติโอภาส เลขที่4914981849
น.ส.อรสา  สิงห์ดง  รหัสนักศึกษา  4914980430  นักศึกษาโครงการหลักสูตรบริหารธุรกิจ  สาขา การจัดการนวัตกรรม  รุ่นที่ 1  มหาวิทยาลัยรามคำแหง    ขอตอบคำถามอาจารย์เรื่องHR and Innovation ทั้ง4 ข้อสรุปได้ดังนี้ค่ะอาจจะกล่าวได้ว่าเมื่อมีมนุษย์เกิดขึ้นบนโลกใบนี้ก็มีนวัตกรรมเกิดขึ้นคู่กันมาด้วยอาจจะเรียกได้ว่าไม่มีทรัพยากรมนุษย์ก็ไม่มีนวัตกรรมเกิดขึ้นเพราะสิ่งต่างๆที่เกิดขึ้นและมีวิวัฒนาการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องเช่น การที่มีเทคโนโลยี การสื่อสาร  การคมนาคม  ที่ทันสมัย เชื่อมโยงกันได้ทั่วโลก  การวิวัฒนาการจากอดีตจนถึงปัจจุบันที่อยู่ในยุคโลกาภิวัฒน์ ล้วนเกิดจากความคิดที่สร้างสรรค์ของมนุษย์ทั้งสิ้น เมื่อมนุษย์มีความคิดสร้างสรรค์เกิดขึ้นก็นำไปสู่การสร้างสรรค์ให้เกิดเป็นรูปธรรมสามารถนำไปใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์ได้โดยอาศัยความรู้ทางด้านวิชาการ  ทักษะต่างๆ   ศาสตร์ทุกแขนง  และการบริหารการจัดการที่มีประสิทธิภาพและอยู่ภายใต้กรอบของจริยธรรม คุณธรรม  ซึ่งสิ่งเหล่านี้เองจะช่วยให้สิ่งที่คิดที่ทำเกิดผลสำเร็จเมื่อนำไปใช้ในองค์การ แต่ถ้าทรัพยากรมนุษย์ขาดการบริหารจัดการที่ดีและเป็นระบบ  ขาดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ความรู้  ทักษะ วิชาการ  การฝึกฝน  และการอบรม  ทรัพยากรมนุษย์เหล่านั้นก็จะไม่สามารถคิด และ สร้างสรรค์ สิ่งต่างให้เกิดขึ้นและไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้ นวัตกรรมก็ไม่เกิดขึ้น  เพราะฉะนั้นถ้าหากทรัพยากรมีคุณภาพ  มีความรู้ ความสามารถ  ก็จะสามารถ สร้างสรรค์ นวัตกรรม ได้และสามารถนำไปใช้งานได้ในทุกๆส่วนได้อย่างมีประสิทธิภาพ การบริหารจัดการทรัพยากรที่ดีนวัตกรรมดีๆก็เกิดขึ้น
น.ส.อรสา  สิงห์ดง  รหัสนักศึกษา  4914980430  นักศึกษาโครงการหลักสูตรบริหารธุรกิจ  สาขา การจัดการนวัตกรรม  รุ่นที่ 1  มหาวิทยาลัยรามคำแหง    ขอตอบคำถามอาจารย์เรื่องHR and Innovation ทั้ง4 ข้อสรุปได้ดังนี้ค่ะอาจจะกล่าวได้ว่าเมื่อมีมนุษย์เกิดขึ้นบนโลกใบนี้ก็มีนวัตกรรมเกิดขึ้นคู่กันมาด้วยอาจจะเรียกได้ว่าไม่มีทรัพยากรมนุษย์ก็ไม่มีนวัตกรรมเกิดขึ้นเพราะสิ่งต่างๆที่เกิดขึ้นและมีวิวัฒนาการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องเช่น การที่มีเทคโนโลยี การสื่อสาร  การคมนาคม  ที่ทันสมัย เชื่อมโยงกันได้ทั่วโลก  การวิวัฒนาการจากอดีตจนถึงปัจจุบันที่อยู่ในยุคโลกาภิวัฒน์ ล้วนเกิดจากความคิดที่สร้างสรรค์ของมนุษย์ทั้งสิ้น เมื่อมนุษย์มีความคิดสร้างสรรค์เกิดขึ้นก็นำไปสู่การสร้างสรรค์ให้เกิดเป็นรูปธรรมสามารถนำไปใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์ได้โดยอาศัยความรู้ทางด้านวิชาการ  ทักษะต่างๆ   ศาสตร์ทุกแขนง  และการบริหารการจัดการที่มีประสิทธิภาพและอยู่ภายใต้กรอบของจริยธรรม คุณธรรม  ซึ่งสิ่งเหล่านี้เองจะช่วยให้สิ่งที่คิดที่ทำเกิดผลสำเร็จเมื่อนำไปใช้ในองค์การ แต่ถ้าทรัพยากรมนุษย์ขาดการบริหารจัดการที่ดีและเป็นระบบ  ขาดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ความรู้  ทักษะ วิชาการ  การฝึกฝน  และการอบรม  ทรัพยากรมนุษย์เหล่านั้นก็จะไม่สามารถคิด และ สร้างสรรค์ สิ่งต่างให้เกิดขึ้นและไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้ นวัตกรรมก็ไม่เกิดขึ้น  เพราะฉะนั้นถ้าหากทรัพยากรมีคุณภาพ  มีความรู้ ความสามารถ  ก็จะสามารถ สร้างสรรค์ นวัตกรรม ได้และสามารถนำไปใช้งานได้ในทุกๆส่วนได้อย่างมีประสิทธิภาพ การบริหารจัดการทรัพยากรที่ดีนวัตกรรมดีๆก็เกิดขึ้น
นายกฤษทวิทย์ สุชาติพงศ์ ID 4914980347

เรียน ศ.ดร จีระที่เคราพ กระผมไม่ขอเกริ่นก็แล้วกันครับผมตอบ สิ่งที่อาจารย์ให้คิดต่อก็แล้วกันครับ

1 การจัดการทรัพยากรมนุษย์ช่วยในเรื่องนวัตกรรมอย่างไร

ในความคิดของกระผม ๆ คิดว่า Innovation ไม่ใช่เรื่องใหม่ในสังคม เพียงแต่ว่ามาตื่นตัวในยุคนี้มากพอสมควรเนื่องจากทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดแต่มีความต้องการมากขึ้นและยิ่งถ้าเราไม่รู้จักใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างคุ้มค่าละก็ อนาคตก็จะไม่มีอะไรเหลือเป็นแน่นอน มันจึงทำให้มนุษย์ซึ่งเป็นทรัพยากรอย่างหนึ่งที่มีอำนาจควบคุมและดูแลทรัพยากรอย่างอื่นด้วย ต้องพยายามคิดค้น ค้นพบ สิ่งใหม่ ๆ หรือพัฒนาสิ่งที่มีอยู่เดิมให้เกิดประโยชน์กับมนุษย์เองมากที่สุด เมื่อเป็นเช่นนี้แล้วเท่ากับว่า มนุษย์หรือ "คน" เป็นตัวแปรทุกสิ่งทุกอย่าง แม้กระทั่งการเปลี่ยนแปลงธรรมชาติซึ่งเราคิดว่าเป็นสิ่งที่ยิ่งใหญ่ ทั้งหมดที่กล่าวมานั้นก็ทราบแล้วว่าการจัดการทรัพยากรมนุษย์นั้นมีความสำคัญยิ่งต่อสิ่งที่เกิดขึ้นใหม่หรือที่อาจเรียกว่า Innovation

 2 ทรัพยากรมนุษย์ช่วยในเรื่องidea เพื่อทำให้เกิดprojectหรือ action plan

เมื่อเราทราบกันดีอยู่แล้วว่ามนุษย์คือผู้คิดค้นหรือผู้สร้างนวัตกรรม เมื่อเป็นเช่นนี้แล้วโครงการที่เกิดขึ้นนั้นล้วนแล้วแต่เกิดจากวัตถุประสงค์ที่จะทำให้ดีกว่า ล้วนแล้วเกิดจาก คน แทบทั้งสิ้น จึงต้องอาศัยการจัดการด้านทรัพยากรมนุษย์มากพอสมควรเนื่องจากกลไกของ Project,Idea,Action Plan นั้นต้องอาศัยการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์อย่างเป็นระบบและจะทำให้โครงการนั้น ๆ สมบูรณ์แบบมากที่สุด

 3 ทำอย่างไรจะทำโครงการให้ประสบความสำเร็จและมีอุปสรรคในเรื่องทรัพยากรมนุษย์และมีอุปรรคอะไรบ้างที่ไม่ประสบความสำเร็จ

การที่เราจะทำให้โครงการประสมความสำเร็จนั้นต้องอาศัย คน เป็นตัวหลักสำคัญในการ วางแผน นำไปปฏิบัติ ตรวจสอบ และปรับปรุงแก้ไข โดยเป็นลูป ของ Dr.Demming ซึ่งแต่ละวงล้อของการทำงานนั้น ต้องมีคนที่มีประสิทธิภาพ มีความอดทนเป็นเลิศ มีความตั้งใจ และอีกหลาย ๆ อย่าง เพื่อทำให้โครงการนั้นสำเร็จได้ แต่เท่านี้ยังไม่พอ ปัญหาคือ จะทำอย่างไรให้โครงการนั้นประสมความสำเร็จอย่างยั่งยืน แต่ สิ่งที่จะตอบได้ว่าจะยังยืนหรือไม่ ก็อยู่ที่ "คน"

อุปสรรคที่พบในการทำโครงการส่วนใหญ่

ก็คือ คน คืออยู่ที่ว่าคนที่เรามีอยู่นั้น มีความเก่ง มีความดี มากเพียงใด แต่ทั้งสองอย่างนี้ก็ยังตอบได้ไม่หมด ถ้า คนที่มีอยู่ ขาดซึ่งคุณธรรม และ จริยธรรม

4.จะเอาความรู้เรื่องทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ให้ได้ผลจริง โดยมีโครงการที่คิดว่าอยากจะทำในอนาคต 

โครงการที่กระผมคิดจำทำในอนาคตหรือที่" เป็นฝันเล็กๆของผม แต่จะเป็นความจริงที่ยิ่งใหญ่ " นั้นคือผมต้องการมีโรงบ่มไวน์ที่มีรสชาดถูกปากคนไทยและคนทั่งโลก โดยผลิตจากไร่องุ่นของผมเอง แต่เมื่อกลับหลังมามองตัวเอง ณ เวลานี้ไม่มีอะไรเลยที่จะทำให้ฝันของผมเป็นจริงได้เลย

1. ทุนยังไม่มีพอที่จะทำในตอนนี้

2. ความรู้เรื่องไวน์ก็ยังไม่มี

3. ช่องทางที่จะทำก็ยังมองไม่เห็น

แต่สิ่งที่ผมมีอยู่ก็คือ ความฝัน บวกความมุ่งมั่น และความตั้งใจ โดยอาศัยความรู้ที่เรียนมาครึ่งชีวิตคือ บันไดที่จำนำความฝันของผมสู่ความจริงให้จงได้ ไม่วันนี้ ก็ พรุ่งนี้ ไม่พรุ่งนี้ ก็ ปีหน้า ไม่ปีหน้าก็ 10 ปีข้างหน้า

ทำไมถึงคิดจะทำสิ่งนี้

เนื่องจากผมมีความคิดแปลกๆ อยู่ว่าเมื่อเราชอบกิน เราก็ต้องชอบทำ มันเลยทำให้ผมคิดว่าการทำไวน์มันคงจะไม่ทำเป็นเฉพาะฝรั่งหรอกเราคนไทยตัวเล็กก็ทำได้เหมือนกัน แต่เรายังขาดสิ่งที่จำทำให้มันประสบความสำเร็จอยู่มากพอสมควร แต่ " ผมเชื่อว่าความสุขที่แท้จริงของมนุษย์คือการได้ทำฝันให้เป็นความจริง "

เรียน  ศ.ดร.จีระ  หงส์ลดารมภ์และทีมงาน และสวัสดีเพื่อนๆชาว MBA Innovation Management ม.รามคำแหงรุ่น1 ทุกคน ดิฉันนางสาวดนยา จันทรวงศ์ รหัสนักศึกษา 4914980770 ขอShare Idea ในเรื่อง HR & Innovation ดังนี้

1)      การจัดการทรัพยากรมนุษย์มีส่วนช่วยสร้างนวัตกรรมได้อย่างไร 

การบริหารทรัพยากรมนุษย์จะมีส่วนช่วยเรื่องของ นวัตกรรม ในเรื่องใหญ่ๆ 3เรื่องดังนี้

1.1    คน  :  เริ่มจากกระบวนการสรรหาบุคลากร  คัดเลือกพนักงานที่มีแนวโน้มกล้าแสดงความคิดเห็นอย่างเหมาะสม

             :  การประเมิน-วัดผลการทำงาน ว่าพนักงานยังขาดทักษะด้านใดในการสร้างนวัตกรรม

             :  การพัฒนาความรู้-ทักษะ เพื่อสร้างเสริมให้คนหรือบุคลากรในองค์กรเกิดการเรียนรู้ และเกิดความคิด                โดยมีขั้นตอนการพัฒนาการเรียนรู้    เริ่มจากข้อมูลดิบ (Data) >> ข้อมูล (Information) >> ความรู้ (Knowledge) >> ปัญญา (wisdom)

1.2 บรรยากาศ:  ส่งเสริมให้มีบรรยากาศการทำงานที่ดี เพื่อให้พนักงานมีความสุข เช่น

-  ทุกคนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ (TQM)

-  มีการแบ่งปันความรู้ (Sharing Knowledge)

-  สร้างชุมชนนักปฏิบัติ (COPs) ซึ่งหมายถึง ชุมชนของคนที่มีความสนใจ, ความถนัดในเรื่องเดียวกัน

-  สนับสนุนการแสดงออกของพนักงานเช่นการให้Rewards (การชมเชย)

 1.3  งาน: สร้างงานปัจจุบันให้มีมาตรฐาน (ISO) และพร้อมรับมือกับความเปลี่ยนแปลง 

 

2)      ทรัพยากรมนุษย์ช่วยทำให้เกิดการทำงาน project หรือ Action Plan อย่างไรบ้าง 

2.1 กำหนดเป้าหมายของProject ให้ชัดเจน และมีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพเพื่อให้สมาชิกProject ทุกคนเข้าใจในเป้าหมายในแนวทางเดียวกัน

2.2 อบรม,ให้ความรู้สมาชิกProject ให้มีความรู้ในเรื่องเดียวกัน ในระดับใกล้เคียงกัน

2.3 สร้างโอกาสให้สมาชิกทุกคนสามารถแสดงความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์โดยเสรี

2.4 สร้างความรู้สึกเป็นเจ้าของ มีส่วนร่วมในการตัดสินใจในProject

2.5 กำหนดมาตรฐานการทำงานเพื่อให้พนักงานคนอื่นสามารถเข้าใจในProject หรือ Action Plan ได้

2.6 ผู้บริหารระดับสูงมีความเข้าใจและEmpower ให้สมาชิกProject ทำงานอย่างเต็มที่

 

3)      Idea หรือโครงการใหม่ๆ นั้นจะทำอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ

3.1 แน่ใจได้ว่าสมาชิกของโครงการเข้าใจวัตถุประสงค์ และบทบาทของตนเองในการบรรลุเป้าหมายของโครงการนั้นๆ         อุปสรรค : Customer Baseมีความต้องการที่ซับซ้อน สมาชิกอาจไม่เข้าใจเป้าหมายไม่ตรงกัน และดำเนินงานคนละทิศทาง

3.2 กำหนดโครงสร้างทีมงานให้ชัดเจน ว่าใครมีบทบาทเป็นผู้วิเคราะห์ข้อมูล ,ใครเป็นผู้นำในโครงการ, ใครมีหน้าที่ตัดสินใจ,ใครได้รับมอบหมายงานเรื่องใดบ้าง

อุปสรรค : Customer Baseสมาชิกสับสนในหน้าที่

3.3 การทำงานให้เสร็จทันกำหนดเวลา, มีการบริหารเวลาอุปสรรค : Cultural Changeมีงานด่วนมาแทรกงานโครงการ 

3.4 การใช้เครือข่ายทางสังคม เช่นดูวิธีการทำงานจากองค์กรอื่นที่เป็นBest Practice

อุปสรรค : Command Control ผู้บริหารองค์กรปิดกั้นการเรียนรู้จากภายนอก

 

4)      จะนำความรู้เรื่องทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ให้ได้ผลจริงหรือก่อให้เกิดโครงการที่เป็นรูปธรรมในเรื่องใด

ดิฉันสนใจในเรื่องการสร้างนวัตกรรม ข้าวหยอดเหรียญ เพื่อให้เกิดประโยชน์ 4 ด้านดังนี้

4.1 สังคม: ช่วยเกษตรกรไทยเพิ่มรายได้ โดยรับซื้อข้าวจากเกษตรกรเพื่อนำมาใส่ในเครื่อง ข้าวหยอดเหรียญ

4.2 สินค้า: สร้างมูลค่าเพิ่มให้สินค้าหลักของประเทศ

4.3 ลูกค้า: ลูกค้าในเมืองมีเวลาน้อย ต้องการความสะดวก, รวดเร็ว

4.4 ความรู้:  นำความรู้จากโครงการนวัตกรรมของสนช.เรื่อง ข้าวหุงสุกเร็ว มาใช้งานในลักษณะต่อยอด

นิสาลักษณ์ รัษจ์ฎาธิ

นิสาลักษณ์ รัษจ์ฎาธิ ID 4914981619

จากที่ได้รับความรู้ในเรื่อง ทรัพยากรมนุษย์ ผ่านประสบการณ์ และ มุมมองเรื่องต่างๆผ่านการบอกเล่าของอาจารย์ ดร แล้วนั้น แม้ว่าจะเป็นการเรียนที่เป็นช่วงเวลาสั้นๆ แต่เป็นการเรียนผ่านลักษณะรูปแบบทางการศึกษาที่ค่อนข้างหาได้ยากในบ้านเมืองเรา คือเรียนแบบแสดงความคิดเห็น เหมือนกับเป็นworkshop ย่อยๆ ซึ่งเป็นเวทีทางความคิด ขอบคุณค่ะสำหรับการสละเวลามาแบ่งปันประสบการณ์ และถ่ายทอดประสบการณ์ที่พี่ค่านี้ให้พวกเรา

จากโจทย์ที่อาจารย์ได้ทิ้งไว้ให้พวกเราทำการบ้านต่อนั้น จะเห็นได้ว่า key หลักของสิ่งทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นตั้งแต่ข้อ 1 - 4 คงจะหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะพูดว่ามนุษย์ หรือเรียกรวมกันแบบเป็นทางการว่า ทรัพยากรมนุษย์คือกลจักร หรือเฟืองสำคัญในการไดร์ฟ innovation ให้เกิดเป็นสิ่งที่จับต้องได้  เมื่อเราทราบแล้วว่า อะไรเป็น source สิ่งต่อมาที่ต้องคิดต่อคือ ทำไงให้มนุษย์ คิดสิ่งใหม่ วางแผนทำสิ่งนั้น และ ตลอดจนนำไปปฏิบัติให้เกิดผล โดย link มนุษย์ให้เชื่อมโยงกับ innovation 

ณ ปัจจุบัน แม้ว่า innovation จะเกิดขึ้นในบ้านเรามาในระยะเวลาหนึ่ง แต่ก็ไม่ใช่ทุกคนที่จะเข้าใจ innovation อย่างแท้จริง รวมถึงตัวเองก่อนที่เข้าคลาสเรียนกับ ดร นั้น ก็ยังคิดเชื่อมโยงไปว่า innovation คือการคิดเทคโนโลยีใหม่ๆ แต่ได้รับทราบจาก ดร ในคลาสเองว่า innovation กับ technology นั้นเป็นคนละสิ่ง แต่สองสิ่งนี้สามารถใช้ link ถึงกันได้เพื่อเอื้อประโยชน์ในการทำบางนวัตกรรมให้ประสบความสำเร็จ หรือบางทีในบางนวัตกรรมอาจจะ พบว่าไม่จำเป็นเสมอไปที่ innovation จะต้องพึ่งพา technology ก็เป็นได้ ทรัพยากรมนุษย์ คือทุนที่ต้องเริ่ม เพื่อให้เกิด innovation ในอนาคต สิ่งมี่ต้องคิดคำนึงคือ ทำอย่างไรให้ innovation เกิด innovation จะเกิดได้ ก็มาจากทรัพยากรมนุษย์ที่มี ความเข้าใจ innovation อย่างถูกต้อง รวมถึงเค้าเหล่านั้นต้องมีพื้นฐาน หรือมีองค์ความรู้ที่มากเพียงพอ ในการสนับสนุนให้เกิดการคิดใหม่ๆ ตลอดไปจนถึงการนำความรู้แบบใหม่นั้นไปวางแผน และ implement ให้เกิดขึ้นจริงแม้ไม่ใช่ความสำเร็จอย่างร้อยเปอร์เซ็นต์ ณ ครั้งแรกที่ทำก็ตาม เพราะฉะนั้น สรุปสั้นๆคือ การทำให้ทรัพยากรณ์มนุษย์ มีคุณภาพ ไม่ว่าจะเป็นการส่งเสริมเรื่องการศึกษา ความรู้รอบตัว ตลอดจนพัฒนาศักยภาพ ของมนุษย์เหล่านั้นเอง ให้เพิ่มพูนขึ้น ด้วยมุมมองในการรู้จักแสวงหาความรู้และ พัฒนาตัวเอง นั่งคงเป็นสิ่งสำคัญที่สุดที่ องค์กรการพัฒนารูปแบบทางความคิดของประเทศต้องนำไปพิจารณา

ถ้าจะให้จินตนาการสิ่ง ที่น่าจะเป็นโปรเจคในความคิดคือการปฏิรูประบบการศึกษา หรือ Education Reformation ที่จะทำให้เด็กไทย หรือแม้แต่คนไทยในปัจจุบันเล็งเห็นการเรียนรู้ให้รู้จักคิด มากกว่าให้ความสำคัญในเรื่องของคะแนนสอบ การท่องจำ รวมถึง ประกาศนียบัตรต่างๆ เหมือนที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งก็น่าเป็นทีดีใจว่า การเปลี่ยนแปลงนี้ได้มีจุดเริ่มต้นแล้วที่ คณะบริหารธุรกิจ สาขาการจัดการนวัตกรรม มหาวิทยาลัยรามคำแหง ในคลาสของ อาจารย์ ดร จิระ

ขอบคุณสำหรับความรู้ทุกอย่างค่ะ

 

จักร์กริช เงาแสงจันทร์

เรียน อาจารย์ยม ที่เคารพ

ผมพยายามส่งขึ้น Blog หลายครั้ง พอตรวจดูแล้วก็พบว่า
เมื่อทำการบันทึกตัวเลขตัวอักษรมันเพี้ยน อ่านแล้ว
อาจจะงงๆ ได้ ผมรู้สึกกังวลดังนั้นจึงแนบต้นฉบับมากับ E-mail นี้ รบกวน


อาจารย์ยม ส่งต่อ ศ.ดร.จีระ ให้ผมด้วยนะครับ เพราะผมพยายามเขียนให้ได้ใจความเป็นอย่างมากครับ

ด้วยความเคารพ
นาย จักร์กริช เงาแสงจันทร์
ID 4914980889

Tel : 011711339, 016266403

*****************************************************************

รายงานนวัตกรรมกับการบริหารการจัดการทรัพยากรมนุษย์

 

โครงการบริหารธุรกิจมหาบัญฑิต  MBA (Innovation)

 

นำเสนอ         ท่านอาจารย์ ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์

 

จัดทำโดย

 

 นาย จักร์กริช เงาแสงจันทร์    

รหัสนักศึกษา  4914980889

 

Tel: 01-1711339

  
  1. การจัดการทรัพยากรมนุษย์เกี่ยวข้องกับนวัตกรรม และมีแนวความคิดใหม่ ได้อย่างไร

นวัตกรรมกับการบริหารการจัดการด้านทรัพยากรมนุษย์เป็นที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง หรือจะกล่าวได้ว่าเป็นสิ่งต้องอยู่คู่กันทั้งในระดับองค์กร จะถึงระดับประเทศก็ว่าได้ เพราะนวัตกรรมทั้งหลายทั้งปวงจะเกิดขึ้นได้ก็ด้วยบุคคล  เช่นบุคคลากรในองค์กร มีแนวความคิด มีความสามารถในการประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่ๆ จากองค์ความรู้ (Knowledge) ที่มีอยู่เดิมในองค์กร หรือในตัวของแต่ละบุคคลเอง หรือองค์ความรู้ที่เกิดจากการวิจัย(Research) หรือ องค์ความรู้ที่เกิดจากการวิจัยและพัฒนาที่ได้สะสมมา (Research & Development : R&D) โดยการนำองค์ความรู้ต่างๆเหล่านั้นมาประสมประสานจนก่อให้เกิดเป็นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ หรือกระบวนการใหม่ (New Business Process) หรื่อก่อให้เกิดเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่หรือบริการใหม่ ซึ่งก่อให้เกิดประโยชน์ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม ประเทศชาติ และที่สำคัญคือเป็นประโยชน์ต่อมวลมนุษยชาติหากมองในระดับโลกาภิวัตน์ (Globalization) โดยไม่ได้หมายถึงประโยชน์ทางด้านการเงินเพียงอย่างเดียว แต่จะหมายถึงประโยชน์ที่เป็นมูลค่าทางด้านสังคมและจิตใจในอีกนัยหนึ่งด้วย ดังนั้นดังที่กล่าวมาทรัพยากรมนุษย์จึงเป็นสิ่งแรกที่จะต้องคำนึงถึง เป็นสิ่งที่ขาดเสียมิได้ และต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่จากองค์กร พร้อมกันนั้นการใช้การบริหารการจัดการทรัพยากรมนุษย์ต้องให้มีความทันสมัย ก่อให้เกิดเป็นกระบวนการที่เป็นรูปธรรมที่สามารถจับต้องและนำมาปฏิบัติจนประสพผลสำเร็จตามเป้าหมายหรือนโยบายที่ได้วางไว้ได้ (Achieved)  

  

จากแนวความคิดใหม่ดังกล่าวจัดว่าเป็นการนำความรู้ความคิด และการนำประสบการณ์ที่ได้ในด้านทรัพยากรมนุษย์จนถูกริเริ่มนำมาใช้ ซึ่งจัดเป็นแนวความคิดใหม่จนก่อเกิดเป็นนวัตกรรมในด้านการบริหารการจัดการทรัพยากรมนุษย์ และเป็นนวัตกรรมที่สามารถจับต้องนำมาใช้ได้ เพื่อดูแลและพัฒนาบุคคลากรในองค์กรเหล่านั้นสู่ยุคแห่งการพัฒนาบุคลากรด้านนวัตกรรมในปัจจุบันและในอนาคตอันใกล้ที่กำลังจะมาถึง โดยนวัตกรรมด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ดังกล่าวเห็นว่าบุคลากรมีความสำคัญและมีค่า หรือที่ปัจจุบันเรียกว่า บุคลากรเป็นสินทรัพย์ที่สำคัญอย่างหนึ่งและมีคุณค่ากับองค์กร ที่ต้องดูแลรักษาหรือเก็บรักษาไว้” (Human Capital) บุคคลากรเหล่านั้นอาจก่อให้เกิดหรือสร้างนวัตกรรมได้ในภายหลัง

         2.    การจัดการทรัพยากรมนุษย์มีการทำงานที่เป็นรูปธรรม หรือ Project หรือ Action Plan สามารถทำได้อย่างไร

  นวัตกรรมจะเกิดได้จะต้องเกิดจากการสร้างกระบวนการที่สามารถจับต้องได้ และนำมาใช้ก่อให้เกิดเป็นรูปธรรมได้ ดังนั้นจากคำว่ากระบวนการ จัดอยู่ในเส้นทางที่เรียกว่ากลางน้ำ (Middle-Steam) เป็นกระบวนการในการทำหรือขั้นตอนในการนำไปสู่เป้าหมายที่วางไว้ของนวัตกรรมนั้น ประกอบด้วยการนำความรู้ที่จะต้องคำนึงถึง เช่น 5K, 8K, 4L, 2R และ 3Q เป็นต้น

  

   ในการสร้างเป็นโครงการ (Projects) หรือ แผนปฏิบัติการ (Action Plan) สามารถทำได้โดยการนำโครงการต่างๆนำเสนอต่อผู้บริหารระดับสูงหรือ CEO ขององค์กรนั้น เช่น โครงการการพัฒนาบุคลากรนวัตกรรมในองค์การ (Innovation Human Development Project) มีระยะเวลาของโครงการ 3 เดือนโดยมีบุคลากรในฝ่ายต่างๆเข้าร่วม และจัดทำเป็นแผนปฎิบัติการ (Action Plan) นำเสนอนุมัติอีกครั้ง โดยในแผนปฏิบัติการต้องมีการกำหนดช่วงระยะเวลา และครอบคลุมเรื่องราวต่างดังนี้

  -         คัดเลือกบุคลากรจากฝ่ายต่างๆ ที่เหมาะสม-          กำหนดหลักสูตร และ Workshop ที่นำมาประกอบขึ้น-         เนื้อหาและขั้นตอนระยะเวลาปฏิบัติที่ต้องมีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผลสูงสุด-         ประเมินผลการฝึกอบรม เป็นต้น 3.   ทำอย่างไรโครงการนวัตกรรมเหล่านั้นจึงจะประสพความสำเร็จ และไม่สำเร็จเพราะอะไร

          ความสำเร็จของนวัตกรรมจัดอยู่ในระดับปลายน้ำ (Down-Steam) ซึ่งจะประสพผลสำเร็จหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับนวัตกรรมนั้นก่อให้เกิดผลสำเร็จตามเป้าหมายหรือไม่ ดังนั้นการนวัตกรรมจะประสพความสำเร็จได้ต้องเกิดจากการประสมประสานที่ดีของ 3 ขั้นตอน (3 Stages) ดังต้องไปนี้

 
    1. เป็นสิ่งใหม่หรือนวัตกรรม โดยจะต้องคำนึงถึงด้านจริยธรรม (Ethic) เป็นหลัก จากการนำความรู้เดิมหรือความรู้ใหม่ที่เกิดจากการวิจัย นำมาลิเลียน หรือพัฒนาขึ้นใหม่ให้เกิดเป็นสิ่งใหม่ที่เรียกว่านวัตกรรม
    2. นำมาทำหรือปฏิบัติให้เกิดได้ (Getting, Done) เกิดผลเป็นจริง ตรงประเด็น (Reality, Relevancy : 2R)
    3. เป็นประโยชน์ต่อด้านเศรษฐกิจ และสังคม  จากการใช้นวัตกรรมนั้น 
      นวัตกรรมที่ไม่ประสพผลสำเร็จเกิดจากสิ่ง 3 สิ่งตามทฤษฎี (3C)

1.     Communication Change หมายถึง บุคลากรไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลงในการสื่อสารของนวัตกรรมนั้น

 

2.     Customer Base  หมายถึง นวัตกรรมเหล่านั้นไม่ตอบโจทย์ หรือตอบสนองความต้องการของลูกค้าต่างๆได้

 

3.     Command Control หมายถึง การควบคุมสั่งการไปในทิศทางต้องถูกต้องเหมาะสมกับนวัตกรรมนั้น

 ในความสำเร็จของนวัตกรรมนั้นควรมีการให้รางวัลกับบุคลากรเหล่านั้นเมื่อคิดค้นจนสามารถนำมาประดิษฐ์เป็นสิ่งใหม่ๆที่จัดเป็นผลงานในด้านนวัตกรรม (Innovation) ได้เป็นผลสำเร็จ เพื่อเป็นแรงจูงใจ และเป็นตัวอย่างแก่บุคลากรอื่นๆต่อไป       4.    หากท่านอยากทำนวัตกรรมด้านทรัพยากรมนุษย์เราจะทำในเรื่องใด?

                     หากข้าพเจ้าจะจัดทำโครงการด้านนวัตกรรมด้านการบริหารการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งข้าพเจ้าจะทำในเรื่องของ การสร้างวัฒนธรรมองค์กรเป็นหลัก (Cooperative Culture) เพราะวัฒนธรรมองค์กรที่ดีจัดเป็นการสร้างนวัตกรรมที่ท้าทายอย่างหนึ่ง โดยจะมีผลดีกับองค์กร สังคม ประเทศชาติ และเป็นประโยชน์ต่อมวลมนุษยชาติในที่สุด        เพราะนวัตกรรมการสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ดีจะทำให้ทรัพยากรมนุษย์เหล่านั้นตระหนัก ถึงความสำคัญต่อตนเองและผู้อื่น สามารถประดิษฐคิดค้นและพัฒนาสิ่งต่างๆ ออกสู่ภายนอก โดยเน้น   การนำนวัตกรรมด้านสินค้า และบริการที่ทรงคุณค่า และจริยธรรมทางธุรกิจ ไปสู่สังคมและพลโลกในที่สุด   ข้าพเจ้าจะใช้หลักการ 3C เช่นกัน แต่เป็น 3C สู่ความสำเร็จ คือ

 

-         Communication Clearly หมายถึง ฝึกอบรมให้มีการสื่อสารชัดเจนตรงประเด็น รับผิดชอบต่อการสื่อสารนั้น

 

-         Continuous Human Resource Improvement หมายถึงพัฒนาแนวความคิดของบุคคลด้านการสร้างนวัตกรรมให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง

 -         Create Business culture on Business Ethic. หมายถึง การสร้างวัฒนธรรมด้านการทำธุรกิจบนจริยธรรมด้านธุรกิจ  

            เมื่อได้แนวทางและหลักการดังกล่าวก่อเกิดเป็นนวัตกรรมด้านการบริหารการจัดการด้ายทรัพยากรมนุษย์แล้วจากนั้นจะนำไปสร้างกระบวนการและขั้นตอนเพื่อบรรลุเป้าหมายสู่ความสำเร็จต่อไป   

จักร์กริช เงาแสงจันทร์

รายงานนวัตกรรมกับการบริหารการจัดการทรัพยากรมนุษย์

        

         โครงการบริหารธุรกิจมหาบัญฑิต  MBA (Innovation)

นำเสนอ         ท่านอาจารย์ ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์

จัดทำโดย

 นาย จักร์กริช เงาแสงจันทร์  

  

รหัสนักศึกษา  4914980889

                           Tel: 01-1711339

  

  1. การจัดการทรัพยากรมนุษย์เกี่ยวข้องกับนวัตกรรม และมีแนวความคิดใหม่ ได้อย่างไร

นวัตกรรมกับการบริหารการจัดการด้านทรัพยากรมนุษย์เป็นที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง หรือจะกล่าวได้ว่าเป็นสิ่งต้องอยู่คู่กันทั้งในระดับองค์กร จะถึงระดับประเทศก็ว่าได้ เพราะนวัตกรรมทั้งหลายทั้งปวงจะเกิดขึ้นได้ก็ด้วยบุคคล  เช่นบุคคลากรในองค์กร มีแนวความคิด มีความสามารถในการประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่ๆ จากองค์ความรู้ (Knowledge) ที่มีอยู่เดิมในองค์กร หรือในตัวของแต่ละบุคคลเอง หรือองค์ความรู้ที่เกิดจากการวิจัย(Research) หรือ องค์ความรู้ที่เกิดจากการวิจัยและพัฒนาที่ได้สะสมมา (Research & Development : R&D) โดยการนำองค์ความรู้ต่างๆเหล่านั้นมาประสมประสานจนก่อให้เกิดเป็นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ หรือกระบวนการใหม่ (New Business Process) หรื่อก่อให้เกิดเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่หรือบริการใหม่ ซึ่งก่อให้เกิดประโยชน์ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม ประเทศชาติ และที่สำคัญคือเป็นประโยชน์ต่อมวลมนุษยชาติหากมองในระดับโลกาภิวัตน์ (Globalization) โดยไม่ได้หมายถึงประโยชน์ทางด้านการเงินเพียงอย่างเดียว แต่จะหมายถึงประโยชน์ที่เป็นมูลค่าทางด้านสังคมและจิตใจในอีกนัยหนึ่งด้วย ดังนั้นดังที่กล่าวมาทรัพยากรมนุษย์จึงเป็นสิ่งแรกที่จะต้องคำนึงถึง เป็นสิ่งที่ขาดเสียมิได้ และต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่จากองค์กร พร้อมกันนั้นการใช้การบริหารการจัดการทรัพยากรมนุษย์ต้องให้มีความทันสมัย ก่อให้เกิดเป็นกระบวนการที่เป็นรูปธรรมที่สามารถจับต้องและนำมาปฏิบัติจนประสพผลสำเร็จตามเป้าหมายหรือนโยบายที่ได้วางไว้ได้ (Achieved)  

  

จากแนวความคิดใหม่ดังกล่าวจัดว่าเป็นการนำความรู้ความคิด และการนำประสบการณ์ที่ได้ในด้านทรัพยากรมนุษย์จนถูกริเริ่มนำมาใช้ ซึ่งจัดเป็นแนวความคิดใหม่จนก่อเกิดเป็นนวัตกรรมในด้านการบริหารการจัดการทรัพยากรมนุษย์ และเป็นนวัตกรรมที่สามารถจับต้องนำมาใช้ได้ เพื่อดูแลและพัฒนาบุคคลากรในองค์กรเหล่านั้นสู่ยุคแห่งการพัฒนาบุคลากรด้านนวัตกรรมในปัจจุบันและในอนาคตอันใกล้ที่กำลังจะมาถึง โดยนวัตกรรมด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ดังกล่าวเห็นว่าบุคลากรมีความสำคัญและมีค่า หรือที่ปัจจุบันเรียกว่า บุคลากรเป็นสินทรัพย์ที่สำคัญอย่างหนึ่งและมีคุณค่ากับองค์กร ที่ต้องดูแลรักษาหรือเก็บรักษาไว้” (Human Capital) บุคคลากรเหล่านั้นอาจก่อให้เกิดหรือสร้างนวัตกรรมได้ในภายหลัง

         2.    การจัดการทรัพยากรมนุษย์มีการทำงานที่เป็นรูปธรรม หรือ Project หรือ Action Plan สามารถทำได้อย่างไร

  นวัตกรรมจะเกิดได้จะต้องเกิดจากการสร้างกระบวนการที่สามารถจับต้องได้ และนำมาใช้ก่อให้เกิดเป็นรูปธรรมได้ ดังนั้นจากคำว่ากระบวนการ จัดอยู่ในเส้นทางที่เรียกว่ากลางน้ำ (Middle-Steam) เป็นกระบวนการในการทำหรือขั้นตอนในการนำไปสู่เป้าหมายที่วางไว้ของนวัตกรรมนั้น ประกอบด้วยการนำความรู้ที่จะต้องคำนึงถึง เช่น 5K, 8K, 4L, 2R และ 3Q เป็นต้น

  

   ในการสร้างเป็นโครงการ (Projects) หรือ แผนปฏิบัติการ (Action Plan) สามารถทำได้โดยการนำโครงการต่างๆนำเสนอต่อผู้บริหารระดับสูงหรือ CEO ขององค์กรนั้น เช่น โครงการการพัฒนาบุคลากรนวัตกรรมในองค์การ (Innovation Human Development Project) มีระยะเวลาของโครงการ 3 เดือนโดยมีบุคลากรในฝ่ายต่างๆเข้าร่วม และจัดทำเป็นแผนปฎิบัติการ (Action Plan) นำเสนอนุมัติอีกครั้ง โดยในแผนปฏิบัติการต้องมีการกำหนดช่วงระยะเวลา และครอบคลุมเรื่องราวต่างดังนี้

  -         คัดเลือกบุคลากรจากฝ่ายต่างๆ ที่เหมาะสม-          กำหนดหลักสูตร และ Workshop ที่นำมาประกอบขึ้น-         เนื้อหาและขั้นตอนระยะเวลาปฏิบัติที่ต้องมีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผลสูงสุด-         ประเมินผลการฝึกอบรม เป็นต้น

 3.   ทำอย่างไรโครงการนวัตกรรมเหล่านั้นจึงจะประสพความสำเร็จ และไม่สำเร็จเพราะอะไร

          ความสำเร็จของนวัตกรรมจัดอยู่ในระดับปลายน้ำ (Down-Steam) ซึ่งจะประสพผลสำเร็จหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับนวัตกรรมนั้นก่อให้เกิดผลสำเร็จตามเป้าหมายหรือไม่ ดังนั้นการนวัตกรรมจะประสพความสำเร็จได้ต้องเกิดจากการประสมประสานที่ดีของ 3 ขั้นตอน (3 Stages) ดังต้องไปนี้

    1. เป็นสิ่งใหม่หรือนวัตกรรม โดยจะต้องคำนึงถึงด้านจริยธรรม (Ethic) เป็นหลัก จากการนำความรู้เดิมหรือความรู้ใหม่ที่เกิดจากการวิจัย นำมาลิเลียน หรือพัฒนาขึ้นใหม่ให้เกิดเป็นสิ่งใหม่ที่เรียกว่านวัตกรรม
    2. นำมาทำหรือปฏิบัติให้เกิดได้ (Getting, Done) เกิดผลเป็นจริง ตรงประเด็น (Reality, Relevancy : 2R)
    3. เป็นประโยชน์ต่อด้านเศรษฐกิจ และสังคม  จากการใช้นวัตกรรมนั้น 

      นวัตกรรมที่ไม่ประสพผลสำเร็จเกิดจากสิ่ง 3 สิ่งตามทฤษฎี (3C)

1.     Communication Change หมายถึง บุคลากรไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลงในการสื่อสารของนวัตกรรมนั้น

2.     Customer Base  หมายถึง นวัตกรรมเหล่านั้นไม่ตอบโจทย์ หรือตอบสนองความต้องการของลูกค้าต่างๆได้

3.     Command Control หมายถึง การควบคุมสั่งการไปในทิศทางต้องถูกต้องเหมาะสมกับนวัตกรรมนั้น

 ในความสำเร็จของนวัตกรรมนั้นควรมีการให้รางวัลกับบุคลากรเหล่านั้นเมื่อคิดค้นจนสามารถนำมาประดิษฐ์เป็นสิ่งใหม่ๆที่จัดเป็นผลงานในด้านนวัตกรรม (Innovation) ได้เป็นผลสำเร็จ เพื่อเป็นแรงจูงใจ และเป็นตัวอย่างแก่บุคลากรอื่นๆต่อไป     

  4.    หากท่านอยากทำนวัตกรรมด้านทรัพยากรมนุษย์เราจะทำในเรื่องใด?

                     หากข้าพเจ้าจะจัดทำโครงการด้านนวัตกรรมด้านการบริหารการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งข้าพเจ้าจะทำในเรื่องของ การสร้างวัฒนธรรมองค์กรเป็นหลัก (Cooperative Culture) เพราะวัฒนธรรมองค์กรที่ดีจัดเป็นการสร้างนวัตกรรมที่ท้าทายอย่างหนึ่ง โดยจะมีผลดีกับองค์กร สังคม ประเทศชาติ และเป็นประโยชน์ต่อมวลมนุษยชาติในที่สุด        เพราะนวัตกรรมการสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ดีจะทำให้ทรัพยากรมนุษย์เหล่านั้นตระหนัก ถึงความสำคัญต่อตนเองและผู้อื่น สามารถประดิษฐคิดค้นและพัฒนาสิ่งต่างๆ ออกสู่ภายนอก โดยเน้น   การนำนวัตกรรมด้านสินค้า และบริการที่ทรงคุณค่า และจริยธรรมทางธุรกิจ ไปสู่สังคมและพลโลกในที่สุด   ข้าพเจ้าจะใช้หลักการ 3C เช่นกัน แต่เป็น 3C สู่ความสำเร็จ คือ

-         Communication Clearly หมายถึง ฝึกอบรมให้มีการสื่อสารชัดเจนตรงประเด็น รับผิดชอบต่อการสื่อสารนั้น

-         Continuous Human Resource Improvement หมายถึงพัฒนาแนวความคิดของบุคคลด้านการสร้างนวัตกรรมให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง

                         -         Create Business culture on Business Ethic. หมายถึง การสร้างวัฒนธรรมด้านการทำธุรกิจบนจริยธรรมด้านธุรกิจ  

            เมื่อได้แนวทางและหลักการดังกล่าวก่อเกิดเป็นนวัตกรรมด้านการบริหารการจัดการด้ายทรัพยากรมนุษย์แล้วจากนั้นจะนำไปสร้างกระบวนการและขั้นตอนเพื่อบรรลุเป้าหมายสู่ความสำเร็จต่อไป   

น.ส.กาญจนา  จิตรีสรรพ รหัส 4914981236 Sec 2 เลขที่ 60 ข้อ 1. ทรัพยากรมนุษย์มีส่วนช่วยใน Innovation อย่างไร ตอบ นวัตกรรมต้องการทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพ เราจำเป็นจะต้องมีบุคลากรที่มีคุณสมบัติที่สามารถสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ใหม่ที่ไม่เคยมีมาก่อนเลย หรือประยุกต์สิ่งที่มีอยู่แล้วให้จัดเรียงเป็นระบบ ระเบียบ แบบแผน ที่ไม่มีใครเคยทำแบบนี้มาก่อน จึงเกิดเป็นนวัตกรรมใหม่ ๆ ขึ้นมา ทรัพยากรมนุษย์จึงมีส่วนช่วยในการผลิตนวัตกรรมใหม่ ๆ ให้เกิดขึ้นมาได้ข้อ 2. ทรัพยากรมนุษย์ช่วยในการนำ Idea ทำให้เกิด Project หรือ Action Plan อย่างไร                ตอบ  มนุษย์จะเป็นผู้คิดค้น หรือสรรหาวิธีการที่จะนำมาใช้มาปฏิบัติเกี่ยวกับนวัตกรรมของตนเองให้ได้ดีที่สุด ใน Idea ของแต่ละคนจะไม่เหมือนกัน คนที่มีความคิดแปลกแหวกแนว และไม่เหมือนใคร แต่ถูกจริยธรรมก็จะสามารถทำให้เราวางแผนการทำงาน หรือวางแผนปฏิบัติการในเรื่องต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี ดังนั้นการคิด หรือการวางแผนในเรื่องใดไม่ว่ามันจะเป็นสิ่งใหม่ที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนเลย หรือมันเคยเกิดขึ้นมาแต่ไม่มีการนำมาใช้ให้เป็นรูปธรรมหรือเป็นที่ยอมรับเป็นที่รู้จัก นวัตกรรมไม่ใช่การวิจัย แต่นำผลของการวิจัยมาทำให้เกิดนวัตกรรม คือ การนำข้อมูลที่ถูกวิจัยแล้วว่าเป็นสิ่งที่ถูกต้องมาสร้างเป็นนวัตกรรม เปลี่ยนการปฏิบัติเดิม  ๆ ที่ไม่มีคุณภาพ หรือล้าสมัยให้เกิดการปฏิบัติใหม่ขึ้นมารองรับการพัฒนาและความก้าวหน้าของโลกข้อ 3.  ทำอย่างไรจะทำให้โครงการเหล่านั้นประสบความสำเร็จ อุปสรรคในเรื่องทรัพยากรมนุษย์ที่ทำให้โครงการไม่ประสบความสำเร็จมีอะไรบ้าง                ตอบ โครงการที่จะทำให้ประสบความสำเร็จในการวิจัยอาจจะต้องมีความคิดใหม่ ๆ ของตนเองที่เกิดเป็นนวัตกรรมใหม่ ดังเช่น แนวคิดของ “ACME จุดสูงสุด                1.  Action  การกระทำของเราจะต้องเปลี่ยนจากสิ่งเดิม ๆ ที่ล้าสมัยไม่มีการพัฒนา หรือการเปลี่ยนแปลงใหม่ ที่ดีขึ้นหรือการได้ลองกระทำในสิ่งที่ไม่เคยทำ แต่มีเหตุ มีผลรองรับการกระทำเหล่านั้นอยู่ คุณธรรม จริยธรรมเป็นสิ่งที่ต้องนำมารวมอยู่ในการกระทำของเราเพื่อสร้างสิ่งที่ไม่เคยเกิดขึ้นให้เกิดขึ้นมา                2.  Create  สร้างสรรค์สิ่งที่เป็นนวัตกรรม หรือกล้าที่สร้างสิ่งใหม่ให้เกิดขึ้นโดยเน้นการคิดสร้างสรรค์ให้มาก เพราะความคิดเหล่านี้จะเป็นตัวการสร้างสิ่งใหม่ให้เกิดขึ้นมาเอง                3.  Money  ในการจะทำสิ่งใดก็ตามเราจะต้องมีงบประมาณรองรับสิ่งที่จะทำ เพื่อให้งานประสบความสำเร็จได้อย่างรวดเร็ว เพราะนวัตกรรมเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นใหม่ และควรที่จะมีความรวดเร็วในการประดิษฐ์คิดค้นขึ้นมา อย่างนานที่สุดก็ไม่ควรเกิน 1 ปี เพื่อให้สิ่งที่เราทำไปนั้นเป็นนวัตกรรมใหม่ด้วย                4.  Evolution  หลังจากที่เรามีทั้งหมดที่กล่าวมาแล้ว เราก็จะมีการพัฒนาการ เป็นวิวัฒนาการการเปลี่ยนแปลง ความก้าวหน้าที่เราได้สร้างขึ้นมา เป็นสิ่งใหม่ที่ประสบความสำเร็จได้ด้วยดี                 อุปสรรคที่ทำให้ไม่ประสบความสำเร็จ คือ สิ่งที่ตรงกันข้ามกับสิ่งที่มีด้านบน เพราะมันเป็นตัวที่ทำให้เราไม่มีปัจจัยที่พร้อมที่จะทำงานนี้ให้ประสบความสำเร็จได้ข้อ 4.  เราจะนำความรู้เรื่องทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ได้ผลจริง ๆ หรือทำโครงการที่เป็นรูปธรรมในเรื่องใด                ตอบ  ในเรื่องใดก็ได้ไม่ว่าจะเป็นสิ่งประดิษฐ์ ระบบงาน  แผนพัฒนาต่าง ๆ หากมีการจัดการ หรือมีทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพอยู่เราก็สามารถนำสิ่งเหล่านั้นมาจัดระบบระเบียบขั้นตอนให้ปฏบัติในสิ่งต่าง ๆ
นางสาวกาญจนา จิตรีสรรพ รหัส 4914981236
น.ส.กาญจนา  จิตรีสรรพ รหัส 4914981236 Sec 2 เลขที่ 60 ข้อ 1. ทรัพยากรมนุษย์มีส่วนช่วยใน Innovation อย่างไร ตอบ นวัตกรรมต้องการทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพ เราจำเป็นจะต้องมีบุคลากรที่มีคุณสมบัติที่สามารถสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ใหม่ที่ไม่เคยมีมาก่อนเลย หรือประยุกต์สิ่งที่มีอยู่แล้วให้จัดเรียงเป็นระบบ ระเบียบ แบบแผน ที่ไม่มีใครเคยทำแบบนี้มาก่อน จึงเกิดเป็นนวัตกรรมใหม่ ๆ ขึ้นมา ทรัพยากรมนุษย์จึงมีส่วนช่วยในการผลิตนวัตกรรมใหม่ ๆ ให้เกิดขึ้นมาได้ข้อ 2. ทรัพยากรมนุษย์ช่วยในการนำ Idea ทำให้เกิด Project หรือ Action Plan อย่างไร                ตอบ  มนุษย์จะเป็นผู้คิดค้น หรือสรรหาวิธีการที่จะนำมาใช้มาปฏิบัติเกี่ยวกับนวัตกรรมของตนเองให้ได้ดีที่สุด ใน Idea ของแต่ละคนจะไม่เหมือนกัน คนที่มีความคิดแปลกแหวกแนว และไม่เหมือนใคร แต่ถูกจริยธรรมก็จะสามารถทำให้เราวางแผนการทำงาน หรือวางแผนปฏิบัติการในเรื่องต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี ดังนั้นการคิด หรือการวางแผนในเรื่องใดไม่ว่ามันจะเป็นสิ่งใหม่ที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนเลย หรือมันเคยเกิดขึ้นมาแต่ไม่มีการนำมาใช้ให้เป็นรูปธรรมหรือเป็นที่ยอมรับเป็นที่รู้จัก นวัตกรรมไม่ใช่การวิจัย แต่นำผลของการวิจัยมาทำให้เกิดนวัตกรรม คือ การนำข้อมูลที่ถูกวิจัยแล้วว่าเป็นสิ่งที่ถูกต้องมาสร้างเป็นนวัตกรรม เปลี่ยนการปฏิบัติเดิม  ๆ ที่ไม่มีคุณภาพ หรือล้าสมัยให้เกิดการปฏิบัติใหม่ขึ้นมารองรับการพัฒนาและความก้าวหน้าของโลกข้อ 3.  ทำอย่างไรจะทำให้โครงการเหล่านั้นประสบความสำเร็จ อุปสรรคในเรื่องทรัพยากรมนุษย์ที่ทำให้โครงการไม่ประสบความสำเร็จมีอะไรบ้าง                ตอบ โครงการที่จะทำให้ประสบความสำเร็จในการวิจัยอาจจะต้องมีความคิดใหม่ ๆ ของตนเองที่เกิดเป็นนวัตกรรมใหม่ ดังเช่น แนวคิดของ “ACME จุดสูงสุด                1.  Action  การกระทำของเราจะต้องเปลี่ยนจากสิ่งเดิม ๆ ที่ล้าสมัยไม่มีการพัฒนา หรือการเปลี่ยนแปลงใหม่ ที่ดีขึ้นหรือการได้ลองกระทำในสิ่งที่ไม่เคยทำ แต่มีเหตุ มีผลรองรับการกระทำเหล่านั้นอยู่ คุณธรรม จริยธรรมเป็นสิ่งที่ต้องนำมารวมอยู่ในการกระทำของเราเพื่อสร้างสิ่งที่ไม่เคยเกิดขึ้นให้เกิดขึ้นมา                2.  Create  สร้างสรรค์สิ่งที่เป็นนวัตกรรม หรือกล้าที่สร้างสิ่งใหม่ให้เกิดขึ้นโดยเน้นการคิดสร้างสรรค์ให้มาก เพราะความคิดเหล่านี้จะเป็นตัวการสร้างสิ่งใหม่ให้เกิดขึ้นมาเอง                3.  Money  ในการจะทำสิ่งใดก็ตามเราจะต้องมีงบประมาณรองรับสิ่งที่จะทำ เพื่อให้งานประสบความสำเร็จได้อย่างรวดเร็ว เพราะนวัตกรรมเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นใหม่ และควรที่จะมีความรวดเร็วในการประดิษฐ์คิดค้นขึ้นมา อย่างนานที่สุดก็ไม่ควรเกิน 1 ปี เพื่อให้สิ่งที่เราทำไปนั้นเป็นนวัตกรรมใหม่ด้วย                4.  Evolution  หลังจากที่เรามีทั้งหมดที่กล่าวมาแล้ว เราก็จะมีการพัฒนาการ เป็นวิวัฒนาการการเปลี่ยนแปลง ความก้าวหน้าที่เราได้สร้างขึ้นมา เป็นสิ่งใหม่ที่ประสบความสำเร็จได้ด้วยดี                                อุปสรรคที่ทำให้ไม่ประสบความสำเร็จ คือ สิ่งที่ตรงกันข้ามกับสิ่งที่มีด้านบน เพราะมันเป็นตัวที่ทำให้เราไม่มีปัจจัยที่พร้อมที่จะทำงานนี้ให้ประสบความสำเร็จได้ข้อ 4.  เราจะนำความรู้เรื่องทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ได้ผลจริง ๆ หรือทำโครงการที่เป็นรูปธรรมในเรื่องใด                ตอบ  ในเรื่องใดก็ได้ไม่ว่าจะเป็นสิ่งประดิษฐ์ ระบบงาน  แผนพัฒนาต่าง ๆ หากมีการจัดการ หรือมีทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพอยู่เราก็สามารถนำสิ่งเหล่านั้นมาจัดระบบระเบียบขั้นตอนให้ปฏบัติในสิ่งต่าง ๆ

 

นางสาวสิรินุช พิกุลทอง ^_^
ดิฉัน นางสาวสิรินุช พิกุลทอง  รหัสประจำตัว 491 498 0073 นักศึกษาโครงการหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการนวัตกรรม รุ่นที่1 มหาวิทยาลัยรามคำแหงก่อนอื่นต้องขอขอบพระคุณท่านอาจารย์อย่างยิ่งที่มาให้ความรู้แก่พวกเรานักศึกษา และเนื่องจากดิฉันยังไม่มีประสบการณ์การทำงานแต่ต้องมาศึกษาเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรมนุษย์ซึ่งคนที่มีประสบการณ์การทำงานจะมีความรู้ในส่วนนี้มากอยู่แล้ว การได้รับความรู้จากท่านอาจารย์ในครั้งนี้จึงเป็นสิ่งที่มีประโยชน์ต่อตัวดิฉันอย่างมาก และยังทำให้ดิฉันเข้าใจคำว่า การจัดการทรัพยากรมนุษย์ มากขึ้นกว่าเดิม แต่ที่พิเศษไปกว่านั้นน่าจะเป็นประเด็นการจัดการทรัพยากรมนุษย์กับ Innovation” มันดูเหมือนไม่น่าเกี่ยวข้องกันแต่มันก็เกี่ยวข้องกันไปแล้วและที่สำคัญมันก็แยกจากกันไม่ได้ซะด้วย ...และจากที่ท่านอาจารย์ได้ให้ประเด็นไว้ว่า การจัดการทรัพยากรมนุษย์ช่วยเหลือ Innovation ใน 3 state ได้อย่างไรบ้าง?” ดิฉันจึงขอตอบประเด็นที่ว่าดังต่อไปนี้1. การจัดการทรัพยากรมนุษย์มีส่วนช่วยใน Innovation อย่างไร?--- การที่จะเกิด Innovation ได้ต้องเกิดมาจากการที่คนมีความคิด, ความรู้, การแสวงหาเพิ่มเติม และการจัดการทรัพยากรมนุษย์จะเข้ามีส่วนช่วยในเรื่องการบริหารจัดการคนให้ใช้ความรู้ ความสามารถให้เกิดประสิทธิภาพที่ได้อย่างเต็มที่ในการคิดสิ่งใหม่เพื่อให้ก้าวทันกับปัจจัยต่างๆที่เปลี่ยนแปลงไปในโลกธุรกิจ ทั้งสภาพเศรษฐกิจและเทคโนโลยี แต่ถ้าคนยังคิดสิ่งใหม่ไม่ได้ก็อย่าอายที่คิดตามใคร อย่าอายที่จะเรียนรู้จากใคร และเมื่อคิดเองได้แล้วความคิดนั้นก็จะถูกพัฒนาไปเป็นโครงการต่อไป . 2. ทำอย่างไรจึงจะนำ idea เหล่านั้นไปปฏิบัติเป็นโครงการ/การทำงานที่เป็นรูปธรรม?--- เมื่อคนมีความคิดแล้ว สิ่งที่ต้องตามมาด้วยก็คือความกล้า กล้าที่จะคิดสิ่งใหม่ กล้าที่จะคิดอย่างแตกต่าง และที่สำคัญคือการกล้าที่จะลงมือทำ ก็เหมือนกับการฝัน...ฝันอยากทำโน่นทำนี่ อยากเป็นโน่นเป็นนี่ อย่าให้เป็นแค่ความฝันจะต้องลงมือทำให้มันเป็นความจริง มันจะได้มีทั้งความฝันและความจริงอยู่ในตัวเราเอง .  3. ทำอย่างไรให้โครงการเหล่านั้นประสบความสำเร็จ และอุปสรรคที่จะทำให้โครงการไม่ประสบความสำเร็จคืออะไร?--- การที่จะทำให้โครงการประสบความสำเร็จ น่าจะมาจาก การที่ทุกๆที่มีส่วนร่วมมีความคิดร่วมกัน หรือนั่นก็คือการมี Team Work ที่ดี มีความสามัคคีในหน่วยงาน มีการสนับสนุนจากผู้บริหารอย่างจริงจัง และผู้ที่ทำงานจะต้องมีความสุขในการทำสิ่งนั้นๆ การมีจริยธรรม, คุณธรรม,ความถูกต้อง, สามัญสำนึก ในการสร้างนวัตกรรมก็เป็นสิ่งที่สำคัญที่จะทำให้โครงการประสบความสำเร็จ และต้องคำนึงถึงการตอบสนองความต้องการของลูกค้า รวมทั้งโครงการนั้นควรก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมด้วย ถึงแม้ที่กล่าวมาโครงการอาจประสบความสำเร็จไม่มากมายแต่มันจะค่อยๆเพิ่มขึ้นตามลำดับอย่างแน่นอน     ส่วนอุปสรรคที่จะทำให้โครงการไม่ประสบความสำเร็จก็คือ การที่คนไม่กล้าที่จะคิด ไม่กล้าที่เสี่ยง ไม่กล้าที่ลอง ไม่มีจริยธรรมใดๆในการทำงาน การขาดจิตสำนึกที่ดีในการรับผิดชอบต่อสังคม รวมทั้งวิสัยทัศน์ที่คับแคบของผู้บริหาร มันจะก่อให้เกิดปัญหาอย่างมากต่อการปฏิบัติงาน. 4. คิดโครงการที่จะนำการจัดการทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ได้จริงๆ หรือทำเป็นโครงการที่เป็นรูปธรรม--- โครงการที่ใกล้ตัวที่สุดก็คือ การนำแนวทางการจัดการทรัพยากรมนุษย์มาใช้กับตัวเอง เพื่อที่จะได้เป็นบุคคลที่ประสิทธิภาพ มีคุณค่าต่อหน่วยงานและสังคม มีปัญญาที่จะช่วยในการพัฒนาส่วนรวมได้ และดิฉันคิดว่าการนำการจัดการทรัพยากรมนุษย์มาช่วยในการพัฒนาการคิดก็เป็นส่วนที่สำคัญคือพัฒนาให้คนคิดให้เป็น คิดให้มีประสิทธิภาพ คิดเพื่อประเทศชาติ คิดในทางสร้างสรรค์ จนกระทั่งเกิดการคิดจนเป็นนิสัย มันน่าจะทำให้เกิด idea ใหม่ๆอยู่ตลอดเวลาและมันจะสร้างให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้อีกด้วย...
นางสาวปิยฉัตร สุธีรภัทร์
เรียน ศาสตราจารย์ ดร. จีระ หงส์ลดารมภ์ , อาจารย์ยม , คุณเอ , คุณเอ้ , คุณปิง ดิฉัน นางสาวปิยฉัตร  สุธีรภัทร์  นักศึกษาปริญญาโท หลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการนวัตกรรม มหาวิทยาลัยรามคำแหง รุ่นที่ 1 SECTION 2 รหัสประจำตัว 4914981702

ดิฉันรู้สึกยินดีเป็นอย่างยิ่ง ที่ได้รับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับทางด้านทรัพยากรมนุษย์จากท่าน และรู้สึกว่าได้รับประโยชน์มากเลยทีเดียว และดิฉันจะขอแสดงความคิดเห็นต่อคำถามของท่าน ดังต่อไปนี้

 
  1. เมื่อมนุษย์มีส่วนช่วยทำให้เกิดสิ่งใหม่ หากเราต้องการสร้างนวัตกรรมต่าง ๆ แล้ว เราก็ต้องอาศัยมนุษย์ในการคิดค้น เราจึงจำเป็นต้องให้ความสำคัญในความเป็นมนุษย์ องค์กรต้องดูแล เอาใจใส่ และใส่ใจ มีสวัสดิการที่ดีให้แก่พนักงานทุกระดับ เพราะทุกคนสามารถผลักดันให้องค์กรไปสู่จุดสูงสุดได้เท่า ๆ กัน เราต้องดูแลเขาเหมือนพี่ เหมือนน้อง เสมือนเป็นคนในครอบครัว เปิดโอกาสให้พนักงานทุกระดับมีส่วนร่วม หรือทำให้เขารู้สึกว่้าเขาเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร ให้เขารู้สึกว่าเขามีความสำคัญต่อองค์กร ไม่มากก็น้อย จะก่อให้เกิดความจงรักภักดีต่อองค์กร ดังคำสนทนาของคุณพารณ และดร. จีระ ที่กล่าวว่า เมื่อหัวหน้ารักลูกน้อง ลูกน้องก็จะรักหัวหน้า และก็จะรักองค์กรของเขาด้วย และเขาก็จะทุ่มเท พัฒนาไปสู่ทางที่ดีกว่า โดยเขาอาจจะเริ่มจากการพัฒนาตัวเขาเองก่อน โดยมีหัวหน้าให้การสนับสนุน เช่นการส่งไปอบรมในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับเขาโดยตรง เมื่อคนในองค์กร พัฒนาตัวเองไปในทิศทางที่ดี นั่นก็ย่อมทำให้องค์กรเติบโตได้อย่างสวยงาม และนั่นจะเป็นจุดเริ่มต้นของ INNOVATION
  2. หากไม่มีมนุษย์ ก็คงจะไม่มีใครคิด IDEA  ต่าง ๆ ให้เกิดขึ้น เราอาจจัดทำโครงงานโดยเริ่มจากส่วนย่อย ๆ และเริ่มขยายวงกว้างขึ้น เพื่อเปิดโอกาสให้เกิดการแข่งขัน  เมื่อเกิดการแข่งขันก็จะพบสิ่งที่ดีที่สุด เพื่อพัฒนาองค์กรควบคู่ไปกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทางด้านความคิดริิิเริ่ม โดยมีผลตอบแทนในความคิดของเขา ซึ่งถ้าเป็นบริษัทใหญ่ ๆ ก็จะต้องกระจายอำนาจออกไปรอบนอก เพื่อให้เกิดความคล่องตัวมากขึ้น หรือเรียกว่้า EMPOWERING
  3. อุปสรรคในเรื่องทรัพยากรมนุษย์ที่ทำให้โีครงการไม่ประสบผลสำเร็จคือ ไม่กล้าเสี่ยง เนื่องจากการลงทุนไม่ว่าจะเรื่องใด ย่อมมีความเสี่ยงเกิดขึ้นเสมอ ยิ่งเสี่ยงมากก็จะยิ่งได้รับผลตอบแทนสูงตามไปด้วย แต่เมื่อรู้สึกว่าไม่อยากเสี่ยงแล้ว ก็จะไม่มีการลงมือทำอะไร ซึ่งก็จะไม่เกิดนวัตกรรมขึ้น อย่างเช่นที่อาจารย์ศุภชัยได้กล่าวไว้ว่า บริษัทที่ทำ INNOVATION มีโอกาสที่จะเจ๊ง แต่บริษัทที่ไม่ได้่ทำ INNOVATION เจ๊งแน่นอน เพราะฉะนั้่นเราจะต้องมีความกล้า กล้าที่จะเสี่ยงทำอะไรที่แปลกใหม่ ไม่ซ้ำใคร กล้าที่จะทำลายกำแพงความคิดออกมา ซึ่งก็จะก่อให้เกิดนวัตกรรมนั่นเอง และยังมีคำกล่าวที่ว่า คนที่ไม่เคยผิดพลาด คือคนที่ไม่เคยทำอะไรเลย
  4. หากได้เลื่อนไปสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น จะนำความรู้ทางด้านทรัพยากรมนุษย์ไปพัฒนาคน ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เพื่อนำองค์กรไปสู่ องค์กรแห่งนวัตกรรม
น.ส. ยุรฉัตร เคียงศิริ
กราบเรียนท่าน ศ. ดร. จีระ หงส์ลดารมภ์ และทีมงานทุกท่าน ดิฉัน น.ส. ยุรฉัตร เคียงศิริ รหัสประจำตัว 4914981697 นักศึกษาปริญญาโทคณะบริหารธุรกิจ สาขาการจัดการนวัตกรรม รุ่นที่ 1 Section ที่ 2 ขอกราบขอบพระคุณท่านจีระและทีมงานทุกท่านที่ได้สละเวลา อันมีค่ามา บรรยายและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับนักศึกษาในชั้น เมื่อวันที่ 20 สิงหาคมที่ผ่านมา ดิฉันคิดว่าความรู้ที่ท่านได้ให้มาและความคิดเห็นของเพื่อน ๆ ในชั้น มีประโยชน์แก่ตัวดิฉันมาก เนื่องจากมีความรู้ด้านทรัพยากรมนุษย์น้อยมาก แต่ถึงกระนั้นก็ได้พยายามคิดตอบคำถามของท่านดังนี้          1.  อย่างที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่า ก่อนที่จะเกิดนวัตกรรมซึ่งคือสิ่งใหม่นั้น ก็จะต้องมีความรู้เกิดขึ้นก่อน ความรู้นั้นจะเกิดขึ้นไม่ได้ถ้าไม่มี คนหรือมนุษย์ คิดมันขึ้นมา คนในองค์กรจะเกิดความรู้ได้ก็จำเป็นต้องมีการเรียนรู้ การพัฒนาความคิดด้วยวิธีต่าง ๆ อยู่อย่างสม่ำเสมอ คนเราทุกคนนั้นมีสมอง แต่สมองนั้นจะไม่สามารถกลั่นกรองความรู้ออกมาได้ถ้าไม่ได้รับการพัฒนาให้รู้จักคิด การให้การอบรมหรือ Training เป็นสิ่งแรกที่ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ควรที่จะจัดให้กับพนักงานของตัวเอง และไม่ควรมองข้ามความสำคัญ การอบรมในเรื่องที่ตรงกับสายงานของพนักงานเป็นสิ่งสำคัญ แต่สิ่งที่สำคัญยิ่งกว่าคือการอบรมให้เขาเหล่านั้นได้รู้จักสิ่งอื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องกับงานของเขาด้วย เพราะจะเป็นการเปิดวิสัยทัศน์ให้กว้างไกลมากขึ้น ทำให้เขากล้าคิดนอกกรอบ และทำงานแบบทะลุกรอบ (อันนี้ไม่ได้คิดขึ้นมาเองแต่ขอยืม idea มาจาก academy fantasia) คือคนเราเมื่อได้รับมอบหมายให้ทำงานก็จะวางกรอบของตัวเองไว้เป็นสี่เหลี่ยม และจะคิดอยู่ในสี่เหลี่ยมนั้น การคิดในสี่เหลี่ยมไม่ใช่แค่การคิดอยู่ในโจทย์ที่ตัวเองได้รับ แต่รวมถึงคิดแค่ว่าความสามารถของตนเองมีแค่ในสี่เหลี่ยมนั้น ทั้งที่ความเป็นจริงมันไม่ใช่เลย ซึ่งถ้าเขาสามารถทำลายกำแพงสี่ด้านของสี่เหลี่ยมนั้นได้ เขาก็จะพบเจออะไรใหม่ ๆ นอกสี่เหลี่ยมนั้น ซึ่งก็จะนำพาไปสู่การเกิดนวัตกรรม          2.  หลังจากที่ได้ new idea แล้วจะนำไปใช้ได้อย่างไร อันนี้ก็ยากมากเช่นกัน คนบางคนสามารถคิด idea ได้บรรเจิด แต่เป็น idea ที่ไม่สามารถจับต้องได้ เราจะต้องให้พนักงานของเรานั้น คิดอยู่บนพื้นฐานของความเป็นจริง หลังจากนั้นก็จะต้องรู้จักที่จะคิดให้เป็นระบบ นำแนวคิดนั้นไปทำให้เป็น business plan ให้ได้ เราต้องให้ความรู้กับเขาว่า What’s business plan, why is it important? ซึ่งก็คงจะหนีไม่พ้นฝ่ายทรัพยากรมนุษย์อีกเช่นกันที่จะเข้าไปมีส่วนร่วมในกระบวนการนี้ เพราะถ้า business plan ไม่เกิดขึ้น idea นั้นก็คงจะต้องอยู่บนหิ้งตลอดไป ไม่สามารถเข้าไปอยู่ในห้างได้          3.  การที่จะทำให้นวัตกรรมนั้นประสบความสำเร็จได้ ก็จำเป็นต้องได้รับการสนับสนุนจากทุกฝ่ายขององค์กร คงไม่ใช่แค่ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ แต่ถ้าสังเกตกันให้ดี ๆ ทรัพยากรมนุษย์นั้นถือเป็น center ขององค์กร เพราะจะเป็นศูนย์รวมที่ทุกคนสามารถพึ่งพาอาศัยได้ การสอนให้รู้จักกล้าคิดกล้าทำ ก็เป็นหน้าที่หนึ่งของการพัฒนาคน ดิฉันเชื่อเสมอว่า ถ้าเรากล้าคิดกล้าทำเราก็จะประสบความสำเร็จได้ในสักวันหนึ่ง อุปสรรคที่จะทำให้เกิดความล้มเหลว ก็คือ การขาดความกล้า เพราะถ้าเราไม่กล้า ความคิดก็ไม่เกิด หรือเกิดก็จะถูกเก็บไว้เป็นความลับ Innovation ก็จะไม่มีทางเกิดขึ้นได้เลย          ต่อคำถามที่ว่าทรัพยากรมนุษย์มีส่วนใน Innovation ทั้ง 3 Stage อย่างไร ดิฉันขอสรุปสั้น ๆ ว่าทุก Stage ล้วนเกี่ยวข้องกับ “คน” แม้แต่จุดเริ่มต้นก็เริ่มมาจากความคิดของคน เพราะฉะนั้นการพัฒนา การให้ความรู้ การอบรม “คน” จึงเป็นสิ่งที่สำคัญที่จะทำให้ Innovation นั้นเกิด และประสบความสำเร็จ4.     โครงการที่ดิฉันอยากจะทำก็คือการทำบริษัท Organizer ที่จะรับดูแล, ออกแบบงานต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นงานเปิดตัวสินค้าใหม่ หรืองานพิธีที่เป็นงานระดับชาติ ในรูปแบบที่ีไม่ซ้ำ และไม่เคยเกิดขึ้น เป็นแนวคิดใหม่ ๆ
นส.รจเลข สุบรรณาโรจน์
นางสาวรจเลข สุบรรณาโรจน์ เมื่อ อ.22 ส.ค.49 ดิฉันนางสาวรจเลข สุบรรณาโรจน์ นักศึกษาโครงการหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตสาขาการจัดการนวัตกรรม รุ่นที่ 1 มหาวิทยาลัยรามคำแหง รหัส 4914980564 ขอกราบขอบพระคุณอาจารย์ที่ได้ให้ความรู้และแนวความคิดในการเรียนรู้ต่างๆมากมาย ขอตอบคำถามเรื่อง HR and Innovation ในแนวทางสรุปทั้ง 4 ข้อดังนี้ 1.ทรัพยากรมนุษย์มีส่วนช่วยใน innovation อย่างไร ปัจจุบันนี้การดำเนินงานขององศ์กรภายใต้สภาพแวดล้อมทางสังคม เศรษฐกิจ การเมืองและเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในยุคโลกาภิวัฒน์ องศืการต่างๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนต่างมุ่งหวังในการเพิ่มประสิทธิภาพ การเพิ่มผลผลิต การได้เรียบการแข่งขัน การบริหารจัดการองศ์การให้ประสบความสำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ เป็นสิ่งที่ท้าทายผู้บริหาร ในการจัดการทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด ทรัพยากรในที่นี้ก็หมายถึง เงินวัสดุอุปกรณ์ การจัดการและคน "คน" นับว่าเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญมากที่สุด เพราะว่าคนเป็นผู้บริหารและจัดการปัจจัยอื่นๆ คอยดูแลแก้ไขข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นเลือกสรรคเทคโนโลยีที่มาใช้ในการบริหารและการผลิตให้เกิดประโยชน์ต่อองศ์องศ์การ ผู้บริหารต้องใช้เวลาส่วนใหญ่การแก้ปัญหาของคนในองศ์การ ทุ่มเทงบประมาณในการพัฒนาคน เพราะคนเป็นทรัพยากรที่มีค่ามีศักยภาพในตนเอง สามารถพัฒนาตนเองและองศ์การได้ 2.ทรัพยากรมนุษย์ช่วยในการนำ idea เพื่อทำให้เกิด project หรือ action plan อย่างไร -ทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ โครงการก็ประสบผลสำเร็จได้ง่ายขึ้น -ทรัพยากรที่เข้าใจระบบการทำงานง่าย ระบบการทำงานก็ต่อเนื่อง -ทำให้เกิดการแข่งขันความคิดที่หลากหลาย เพื่อนำมาซึ่งเป้าหมายเดียวกัน 3.การจัดการ การวางแผนระบบการทำงาน ให้เป็นขั้นตอน ว่าสิ่งไหนควรเริ่มปฏิบัติก่อนและสิ่งไหนควรปฏิบัติสุดท้าย เพือให้งานนั้นบรรลุเป้าหมายตามวัตถูประสงค์ ปัญหาเรื่องทรัพยากรมนุษย์ ที่ทำให้โครงการไม่ประสพความสำเร็จ -ปัญหาที่ทำให้โครงการไม่สำเร็จตามเป้าหมายนั้นมีอยู่ 2 กรณี -ปัญหาภายในทรัพยากรมนุษย์ คือระบบของการวางแผน การจัดการทัพยากรมนุษย์ที่ผิด ทำให้การทำงานที่ออกมาไม่บรรลุตามเป้าหมาย -ปัญหาจากภายนอกทรัพยากรมนุษย์คือ สถานที่ทำอยู่ไม่เอื้ออำนวยในสิ่งที่ทำอยู่ การขาดแรงจูงใจเพื่อให้เกิดควมกระตือรือร้นในการทำงาน 4.เราจะเอาความรู้เรื่องทรัพยากรมนุษย์ใช้ให้ได้ผลจริงๆ หรือทำโครงที่เป็นรูปธรรมในเรื่องใด -ในเรื่องของการวางระบบภายในองค์กร -การเข้าใจในองค์กรมากขึ้น -การจัดการภายในองค์กรง่ายและเป็นขั้นตอนมากขึ้น -ความสัมพันธ์ภายในองค์กร -
ทรัพยาการมนุษย์ คือ สิ่งสำคัญยิ่งสำหรับองค์การทุกขนาด  ถ้าไม่ดี ก็จะทำให้องค์นั้นๆ อยู่ไม่รอด ถ้าคนไม่ดี ไม่เก่ง หรือไม่รักสามัคคี อยู่รวมกันมากๆ ก็จะทำให้องค์กรนั้นๆ สะกดคำว่า Innovation ไม่เป็น  

เรียน ศ. ดร. จีระ  หงส์ลดารมภ์

ดิฉัน น.. วรรณทนา  ราชชมภู   นักศึกษาปริญญาโท บริหารธุรกิจ สาขานวัตกรรม  รหัส 4914980634

ขอแสดงความคิดเห็นดังนี้ค่ะ

  1. ทรัพยากรมนุษย์มีส่วนช่วยในเรื่อง innovation อย่างไร

มนุษย์เป็นผู้คิดและเป็นผู้ทำ  นวัตกรรมต่างๆต้องเกิดจากมนุษย์เป็นสรรค์สร้างขึ้น

ทรัพยากรมนุษย์ที่จะทำนวัตกรรมได้ต้องมี

-         เป็นคนเก่ง ในที่นี้หมายถึงเป็นผู้ที่มีความรู้ ช่างคิด ช่างสังเกต มีมุมมองที่หลากหลาย

-         เป็นคนดี  จะต้องคิดนวัตกรรมในเชิงสร้างสรรค์ เป็นประโยชน์ต่อสังคมและเศรษฐกิจ

-         เป็นผู้ที่ทำให้เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ จึงจะทำให้นวัตกรรมประสบผลสำเร็จ

 
  1. ทรัพยากรมนุษย์ช่วยทำให้เกิด project หรือ action plan อย่างไร

-         ต้องศึกษาถึงปัญหาหรือความต้องการของลูกค้า แล้วกำหนดเป้าหมายของ  project ให้ชัดเจน

-         ผู้บริหารต้องมีความมุ่งมั่นที่จะทำ project

-         กำหนดระยะเวลาในการติดตามความคืบหน้าให้ชัดเจน

-         ประสัมพันธ์ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องรับทราบถึง project  และให้เข้าใจตรงกัน

-         จัดการฝึกอบรมในส่วนที่ต้องได้รับความรู้หรือทักษะเพิ่มเติม เพื่อมาใช้ในการพัฒนา project

  1. ทำอย่างไรจึงจะทำให้โครงการเหล่านั้นประสบคามสำเร็จ

-         ผู้บริหารต้องการสนับสนุนเต็มที่ เช่น มีรางวัลพิเศษในการทำ project, เปิดโอกาสให้ผู้ปฏิบัติได้แสดงความคิดเห็น

-         ต้องมีความตั้งใจ จริงจัง มีเป้าหมายที่แน่นอน

-         ประสานงานกันเป็นทีม

อุปสรรคที่ทำให้โครงการไม่ประสบผลสำเร็จ

-         ไม่ได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหาร

-         ขาดความเอาใจใส่ของผู้ปฏิบัติงาน

-         ขาดกำลังใจในการทำงาน

-         บุคคลากรไม่เพียงพอ

  1. จะนำความรู้เรื่องทรัพยากรมนุษย์ ไปใช้ให้ได้เกิดผลจริง หรือทำโครงการที่เป็นรูปธรรมในเรื่องใด ทำไมถึงทำเรื่องนี้

เนื่องจากดิฉันทำงานทางด้าน R&D เกี่ยวกับเครื่องสำอาง โดยบริษัทเป็นการรับจ้างการผลิต

แต่มีการคิดค้นสูตรใหม่ๆนำเสนอให้ลูกค้าตลอดเวลา

โครงการที่สนใจคือการนำ พืชสมุนไพรไทย เช่น สมอไทย มาผลิตเป็นเครื่องสำอาง ซึ่งจะต้องร่วมการทำงานกับทางมหาวิทยาลัย โดยนำงานวิจัยที่ค้นคว้าไว้แล้วนำมาใช้ในการผลิตเป็นเครื่องสำอางเพื่อนำเสนอไปสู่ตลาดสากล                

 

Diagram of HR & Innovation relationship

 

1. การหาคนเก่ง คนดี รักสามัคคี                                                                1. Products 2. การพัฒนาคน ความรู้ใหม่ ส่งเสริม       ß  HR ßà Innovation à       2. Service3. การรักษาคนเก่ง คนดี ให้อยู่นานๆ                                                           3. HR Innovation
1. HR ช่วยให้เกิด Innovation อย่างไร

                ทุกสิ่งทุกอย่างล้วนเริ่มจากรากฐานที่มั่นคงและแข็งแรง หากต้องการผลลัพธ์ที่มีคุณภาพและยั่งยืน  ในการเข้าถึงคำว่า Innovation ก็เช่นกัน ต้องเริ่มจากรากฐานที่มั่นคงก่อน  เมื่อ Innovation คือการใช้ความรู้และเทคโนโลยีที่มีอยู่แล้ว ไปปฏิบัติเพื่อให้เกิดสิ่งใหม่ขึ้นมาและมีประโยชน์แก่ส่วนรวม แล้วใครล่ะที่จะเลือกใช้ความรู้ที่มีอยู่มากหมายเหล่านั้น แล้วใครล่ะที่จะนำไปปฏิบัติโดยอยู่ในกรอบแห่งเหตุผล ถ้าไม่ใช่ HR

            ดังนั้นทรัพยากรมนุษย์ ถือเป็น ผู้เริ่ม ผู้วางรากฐาน และผู้ปฏิบัติ ที่มีคุณค่าจนไม่สามารถใช้หลักเศรษฐศาสตร์ใด ๆ มาประเมินราคาให้เป็นหน่วยวัดได้ แต่ปัญหาก็คือ HR แบบไหนล่ะที่จะก่อให้เกิดนวัตกรรมที่แท้จริง ซึ่งต้องขออนุญาต ท่านอาจารย์ จีระ หงส์ลดารมภ์ ยืมคำว่า System Thinking มาใช้ นั่นคือบุคคลเหล่านั้นต้องมีระบบความคิดที่ดี คิดเป็น วิเคราะห์เป็น จึงจะทำได้ ขอย้ำอีกครั้งว่า จะต้อง คิดเป็น วิเคราะห์เป็น และ คิดดี จึงจะโป๊ะเช๊ะ  จึงจะเกิด Innovation   เมื่อคน โป๊ะเช๊ะ แน่นอน Innovation ย่อม โป๊ะเช๊ะ ตาม ตอนนี้ก็เหลือเพียงว่า เราจะทำอย่างไรต่อไปล่ะจึงจะเกิดขึ้นจริงและเป็นรูปธรรม จึงนำมาสู่คำถามถัดไปคือ

2. เราจะนำระบบการจัดการทรัพยากรมนุษย์มาใช้ให้เป็นรูปธรรมได้อย่างไร

                ในประเด็นนี้ ผมต้องขอนำตัวอย่างที่เกิดขึ้นจริงและเป็นรูปธรรมในปัจจุบันที่สุดมาใช้ตอบคำถาม นั่นคือ วิธีการบริหารบุคคลของท่าน พารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา ซึ่งผมคิดว่า คงไม่มีต้นแบบที่จับต้องได้อื่นใดที่จะสื่อความชัดเจนได้มากเท่าท่านอีกแล้ว ไม่ว่าจะเป็นความเชื่อในคุณค่าของบุคคล และดึงความสามารถนั้น ๆ มาใช้ให้เหมาะสมและเป็นประโยชน์ที่สุดด้วยความต้องการของเขาจริง ๆ โดยไม่จำเป็นต้องบังคับสั่งการ หรือกรสร้างความอบอุ่นในองค์กรของท่านด้วยการมองความเท่าเทียมกันในความเป็นมนุษย์โดยไม่แบ่งชนชั้น หรือไม่ว่าจะเป็นการเน้นความเป็นผู้นำทางความคิดและการปฏิบัติ ที่นำไปสู่ความร่วมมือในองค์กรอย่างไม่รู้เหนื่อยของพนักงานทุกคน เพราะทำด้วยใจ และความเข้าใจ  

                ท่านพารณฯ ถือเป็นผู้นำ การเปลี่ยนแปลงด้านทรัพยากรมนุษย์ที่เป็นรูปธรรมชัดเจนที่สูดผู้หนึ่ง และท่านเป็นผู้ที่เหมาะสมกับการใช้คำว่า ผู้นำ แทนคำว่า หัวหน้าหรือผู้บังคับบัญชา ที่เน้น Command&Control มากที่สุดเช่นกัน   จากที่กล่าวมานี้เป็นเพียงส่วนหนึ่งที่แสดงความเป็นรูปธรรมที่สุดเท่านั้น ทั้งนี้จุดกระตุ้นในการนำมามาสู่การเปลี่ยนแปลง คงหนีไม่พ้นทฤษฎี 4 L’s ของท่านเอง คือ Village that learns, School that learns, Industry that learns และNation that learns

            อย่างไรก็ดี จากที่กล่าวมาทั้งหมด คือตัวอย่างของความเป็นรูปธรรม ที่เป็นเพียงบทสรุปจากการปฏิบัติ ไม่ใช่กระบวนการปฏิบัติหรือที่เรียกว่า Action plan แต่อย่างใด

ในการบริหารทรัพยากรมนุษย์กับ Innovation ที่จะนำไปสู่การปฏิบัติจริงในองค์กรนั้น เราอาจมีระยะเวลาไม่มากพอที่จะใช้ทฤษฎี 4 L’s ของท่านพารณฯ ในการวางรากฐานในการเรียนรู้องค์รวม แต่ด้วยวิธีการทำงานต่าง ๆ ของท่านพารณฯนี้เองสามารถนำไปสู่ Action plan ในอีกรูปแบบหนึ่งคือ

1) การสร้างความเข้าใจและการยอมรับการเปลี่ยนแปลงด้วยการมีส่วนร่วมของพนักงานกับบริษัท ซึ่งอาจเริ่มจากการทำ Workshop ในแต่ละแผนก ที่เป้าหมายผูกกับรายได้ส่วนเพิ่ม (Incentive)ของพนักงานเอง เป็นต้น ซึ่งในช่วงต้นอาจมองว่าเป็นการกดดันพนักงานและคล้ายกับระบบ Command&Control ก็ได้ แต่ผ่านไปสักระยะหนึ่งก็จะเข้าใจและเป็นการร่วมมือมากขึ้นเอง

2) สร้างคุณค่าของบุคลากรด้วยการมอบโอกาสให้พนักงานในการเสนอความคิดเห็นในการพัฒนาองค์กร เช่น หัวหน้าแผนกทุกแผนกต้องทำหน้าที่เป็นผู้นำหรือ Coach ที่ดีให้กับลูกน้องในการชี้ประเด็น(เป้าหมาย) ในแต่ละเรื่องที่ประชุม และให้โอกาสพนักงานแสดงความคิดเห็นในการปฏิบัติการแก้ปัญหา เป็นต้น

3) ให้กำลังใจหรือรางวัล เมื่อพนักงานทำได้ตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ หรือลงโทษ/ติชม หากทำไม่ได้โดยไม่มีเหตุผลที่สมควร

4) ดำรงรักษาการปฏิบัติงานไว้ให้ยั่งยืน ด้วยการจัดทำเป็นมาตรฐานการปฏิบัติงาน และพัฒนาอบรมเพิ่มเติมอย่างต่อเนื่อง

แน่นอนการนำสิ่งเหล่านี้ไปใช้ย่อมพบกับอุปสรรค แต่นับว่าเป็นความโชคดีของพวกเราที่ได้พบกับ Guru ทาง HR เช่นอาจารย์จีระ  ที่มาชี้ประเด็นของอุปสรรคล่วงหน้าที่เราจะต้องเจอไว้อย่างชัดเจนแล้ว เมื่อเราจะเปลี่ยนแปลงการทำงานในองค์กร นั่นก็คือ ทฤษฎี 3 C ได้แก่

-         Communication change..คือไม่ชอบการเปลี่ยนแปลง เพราะวัฒนธรรมองค์กรไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลง หรือที่เรียกว่า Cultural change

-         Customer base..คือ มี Idea ดี แต่ไม่มีการมองลูกค้า มีแต่ supply ไม่มี demand

-         Command control..คือ มี Idea ดี แต่นายไม่เปิดโอกาสให้ลูกน้อง share idea เลยมีนายเก่ง คิดอยู่คนเดียว

อุปสรรค 3 อย่างที่ต้องเผชิญนี้ อาจถือเป็นสัจธรรมทุกครั้งที่จะต้องเกิด เมือจะเปลี่ยนแปลง และในการฝ่าฟันอุปสรรคเหล่านี้ให้ได้ด้วยดีนั้น จะต้องสร้างความเข้าใจและการยอมรับของพนักงานกับการเปลี่ยนแปลงนั้น ๆ ให้ได้ ซึ่งก็ทำให้ผมต้องอ้างชื่อท่านพารณฯ อีกครั้ง ว่า การผูกใจพนักงานด้วยความรัก คือทางออกที่ดีที่สุดนั่นเอง และนอกจากนี้การแสดงตนให้เป็นต้นแบบของการเปลี่ยนแปลงนั้น ๆ ก็เป็นเรื่องที่สำคัญพอ ๆ กัน ในหนทางปฏิบัติของท่านพารณฯ ท่านทำตนเป็นต้นแบบที่ดีอยู่ 4 เรื่อง คือ

-         คนเก่ง-คนดี (เก่ง 4 ดี 4)

-         ความเชื่อในคุณค่าของคน ว่าเป็นทรัพย์สินที่มีค่าที่สุดขององค์กร ยิ่งพัฒนาอบรม ยิ่งมากค่า

-         Holistic concern คือ คนไม่ได้ต้องการผลตอบแทนที่เป็นเงินทองอย่างเดียว แต่ยังต้องการผลตอบแทนทางใจด้วย

-         การทำงานเป็นทีม

และจากที่ได้กล่าวมาข้างต้น คือคำตอบของคำถามข้อที่ 3 เรื่องทำอย่างไรโครงการนวัตกรรมเหล่านั้นจึงจะประสพความสำเร็จ และไม่สำเร็จเพราะอะไร 

                ท้ายนี้ผมขออภัยทุกท่านที่ใช้พื้นที่ใน Blog ค่อนข้างมาก แต่มันคือส่วนหนึ่งที่ผมอยาก share กับสิ่งที่ผมได้มาจากการที่ได้ฟังอาจารย์ จีระ บรรยายใน 3-4 ชั่วโมง หากผมอธิบายไม่รู้เรื่องหรือเข้าใจอะไรบางอย่างผิดไปขอกราบอภัยทุกท่านไว้ ณ ที่นี้ด้วยครับ

สำหรับคำถามข้อสุดท้ายคือ โครงการในฝันที่ท่านจะทำให้เกิดขึ้นจริงในส่วนของ HR ที่สัมพันธ์กับ Innovation สำหรับตัวผมเองนั้น ข้อนี้ยากมากที่จะตอบให้ตรงประเด็นครับ และขอยอมรับว่ายังไม่สามารถตอบได้ เพราะผมคิดว่า โครงการจะทำได้จริง จะต้องประกอบไปด้วย 4 ส่วนคือ การคิด, การพิสูจน์ความเป็นไปได้ด้วยเหตุผล, การลงมือปฏิบัติจริง และสุดท้ายต้องตรวจสอบผลงาน  ด้วยเหตุนี้เอง ผมจึงยังไม่สามารถตอบได้ แต่ถ้าให้ตอบเฉพาะส่วนแรก คือเรื่อง ความคิด นั้น ยังพอตอบได้บ้างแต่ก็ไม่แน่ใจว่าจะนำไปปฏิบัติได้จริงหรือไม่ เพราะยังไม่มีเวลาพิสูจน์ด้วยเหตุผลและลงมือปฏิบัติจริง ก็คือ โครงการบูรณาการการศึกษาจากรากหญ้าสู่สากลด้วยการเรียนรู้เชิงระบบ ที่เริ่มจากแนวคิดของทฤษฎี 4 L’s ของท่านพารณฯ เพราะผมมองว่าเป็นคำตอบสำหรับการสร้างรากฐานที่มั่นคงและยั่งยืนที่สุดแห่ง Innovation Capital
ก่อนอื่นผมขอเขียน Diagram ง่าย เพื่อแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง HR และ Innovation ดังนี้  1. การหาคนเก่ง: คนดี รักสามัคคี                                                               1. Products  2. การพัฒนาคน: ความรู้ใหม่ ส่งเสริม                  ß  HR ßà Innovation à    2. Service 3. การรักษาคนเก่ง: คนดี ให้อยู่นานๆ                                                          3. HR Innovation  จาก Diagram ด้านบนจะเห็นได้ว่า HR และ Innovation นั้นมันเชื่อมโยงกันอยู่ มีความสัมพันธ์เกื้อหนุนกันอยู่ เหมือนคำถามที่ตอบได้ยากยิ่ง ไก่กับไข่ใครเกิดก่อนกัน (ซึ่งทางนักวิทยาศาสตร์ทั้งฝั่ง-ตะวันตก และตะวันออก ก็ทำวิจัยกันเรื่องนี้อยู่ ซึ่งผลออกมาคร่าวๆ คือคำตอบไม่เหมือนกัน) ฉะนั้น HR &Innovation ก็เช่นกัน คือ ถ้าไม่มี HR แล้ว Innovation ก็ไม่เกิด แต่ถ้าไม่มี Innovation ก็จะไม่เกิดการพัฒนาด้าน HR เช่นกัน ต่อไปคำว่า “HR Innovation” ก็เริ่มจะคุ้นหูเรามากขึ้นและแยกกันไม่ออกเลยทีเดียว
       ก่อนอื่นผมขอเขียน Diagram ง่าย เพื่อแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง HR และ Innovation ดังนี้  1. การหาคนเก่ง: คนดี รักสามัคคี                                                               1. Products  2. การพัฒนาคน: ความรู้ใหม่ ส่งเสริม                  ß  HR ßà Innovation à    2. Service 3. การรักษาคนเก่ง: คนดี ให้อยู่นานๆ                                                          3. HR Innovation  จาก Diagram ด้านบนจะเห็นได้ว่า HR และ Innovation นั้นมันเชื่อมโยงกันอยู่ มีความสัมพันธ์เกื้อหนุนกันอยู่ เหมือนคำถามที่ตอบได้ยากยิ่ง ไก่กับไข่ใครเกิดก่อนกัน (ซึ่งทางนักวิทยาศาสตร์ทั้งฝั่ง-ตะวันตก และตะวันออก ก็ทำวิจัยกันเรื่องนี้อยู่ ซึ่งผลออกมาคร่าวๆ คือคำตอบไม่เหมือนกัน) ฉะนั้น HR &Innovation ก็เช่นกัน คือ ถ้าไม่มี HR แล้ว Innovation ก็ไม่เกิด แต่ถ้าไม่มี Innovation ก็จะไม่เกิดการพัฒนาด้าน HR เช่นกัน ต่อไปคำว่า “HR Innovation” ก็เริ่มจะคุ้นหูเรามากขึ้นและแยกกันไม่ออกเลยทีเดียว

รายงานจาก นาย จารุพงษ์ เหล่าพรสวรรค์ รหัส 4914980813

 

1. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ช่วยในเรื่องนวัตกรรมอย่างไร

ตอบ ทรัพยากรมนุษย์ นับเป็นโครงสร้างพื้นฐานหลักที่มีความสำคัญที่สุด ที่จะทำให้ธุรกิจประสบความสำเร็จ องค์กรจำเป็นต้องมีบุคคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ ความคิดสร้างสรรค์ และวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล สามารถประยุกต์ความรู้ส่วนบุคคลมาใช้กับนวัตกรรมที่องค์กรจัดหาให้มาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้จริง หากขาดการจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่ดี และเหมาะสม นวัตกรรมที่มีอยู่ก็ไม่สามารถเกิดประโยชน์ได้ด้วยตัวของมันเอง

 

2 ทรัพยากรมนุษย์ช่วยในเรื่องidea เพื่อทำให้เกิดprojectหรือ action plan

ตอบ ทรัพยากรมนุษย์ จะกล่าวอีกนัยหนึ่งหมายถึง บุคคล ซึ่งแน่นอนว่า คนแต่ละคน มีความสนใจ และมีความคิด มุมมอง บุคคลิกภาพ มีการเรียนรู้จากสังคม มีสภาพความเป็นอยู่ ที่แตกต่างกัน เราต้องสามารถบริหารความแตกต่างให้เกิดประโยชน์ ตามความคิดสร้างสรรค์ โดยการจัดทำโครงการให้เป็นรูปธรรม เกิดขึ้นตามแผนงานจริง มีระยะเวลาที่แน่นอน และตรงตามเป้าหมายของการพัฒนาองค์กรได้

 

3 ทำอย่างไรจะทำโครงการให้ประสบความสำเร็จและมีอุปสรรคในเรื่องทรัพยากรมนุษย์และมีอุปรรคอะไรบ้างที่ไม่ประสบความสำเร็จ

ตอบ การจะทำสิ่งใดให้ประสบความสำเร็จ จะต้ององค์ประกอบที่สำคัญดังนี้

-          มีเป้าหมายขององค์กรที่ชัดเจน และสนับสนุนการทำงาน

-          มีผู้นำองค์กรที่มีวิสัยทัศน์ และให้การสนันสนุนให้เกิดการปฏิบัติงานได้จริง

-          มีผู้ปฏิบัติงานที่มีความรู้ ความสามารถ นำนวัตกรรมมาใช้

-          มีเงินทุน

-          มีความกล้าหาญ ยอมรับต่อสิ่งใหม่ๆ

-          มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

 

อุปสรรค

- ขาดความร่วมมือ จากผู้นำ ผู้ร่วมงาน ภายในองค์กร- ขาดบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ - ขาดเป้าหมายขององค์กรที่ชัดเจน - ขาดวิสัยทัศน์ และมีความอคติ ของบุคคลากร - ขาดการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ - ขาดคุณธรรม และจริยธรรมในการนำนวัตกรรมมาใช้ในเชิงสร้างสรรค์ 

4.จะเอาความรู้เรื่องทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ให้ได้ผลจริง โดยมีโครงการที่คิดว่าอยากจะทำในอนาคตตอบ ผมสนใจที่จะสร้างความรู้ความเข้าใจ เรื่องของนวัตกรรม กับกลุ่มเด็กๆในระดับอนุบาล ให้ รู้จัก คุ้นเคย กับ คำว่า นวัตกรรม เพื่อให้ได้เริ่มมีความรู้พื้นฐานทางความคิดเกี่ยวกับ นวัตกรรมในแง่บวก และกระตุ้นให้เกิดการอยากเรียนรู้ที่แปลกใหม่ ประโยชน์ ความสำคัญและการใช้นวัตกรรมให้มากขึ้น

นางเนตรทราย ชัยสมภพ ID. 4914981524

เรียน ศ.ดร.จีระ  หงส์ลดารมภ์ และคณะ

ดิฉัน นางเนตรทราย  ชัยสมภพ  นักศึกษาปริญญาโท โครงการบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต  สาขาวิชาการจัดการนวัตกรรม มหาวิทยาลัยรามคำแหง รหัสประจำตัว 4914981524  ขอกราบขอบพระคุณท่านศ.ดร.จีระ  หงส์ลดารมภ์ , อาจารย์ยม และคณะ ที่ได้กรุณามอบความรู้และประสบการณ์อันมีค่ายิ่งแก่ดิฉัน และดิฉันใคร่ขอโอกาสนี้ เสนอความคิดเห็นในเรื่องของทรัพยากรมนุษย์ และนวัตกรรม ดังนี้

ประเทศไทยในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา  ตั้งแต่หลังยุคฟองสบู่แตก ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ต่างมีความตื่นตัว หันมาให้ความสนใจในการที่จะยกระดับห่วงโซ่มูลค่าเพิ่มของผลิตผลที่มีอยู่เดิม เพื่อปฏิรูปและผลักดันให้เศรษฐกิจเกิดการขับเคลื่อน โดยมีการลงทุนทั้งในด้านการศึกษา และการพัฒนาด้านต่างๆ จนเกิดการปรับเปลี่ยนพัฒนาแนวคิด , องค์ความรู้ ตลอดจนเกิดวัฒนธรรมใหม่ๆ ในการดำเนินชีวิตขึ้น เพื่อให้เกิดความอยู่รอด ในท่ามกลางภาวะการแข่งขันอันเข้มข้น ไม่เฉพาะแต่ภายในประเทศ หรือในภูมิภาคเอเชียเท่านั้น แต่สถานะการณ์ดังกล่าว ยังครอบคลุมไปทั่วทุกภูมิภาคในโลก ภายใต้ยุคที่เรียกว่า "โลกาภิวัฒน์" เช่นนี้

การสร้างลมหายใจให้กับชีวิตใหม่ดังกล่าว ถูกบัญญัติขึ้นเป็นคำศัพท์ใหม่ที่เรียกกันว่า "นวัตกรรม " ดังที่ ดร.ศุภชัย หล่อโลหะการ ได้ให้คำนิยามไว้ว่า "นวัตกรรม คือการนำสิ่งที่มีอยู่แล้ว มาผ่านกระบวนการความรู้และความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อพัฒนาขึ้นเป็นสิ่งใหม่ อันมีประโยชน์ต่อเศรษฐกิจและสังคม " 

คำถามที่เกิดขึ้นก็คือ แล้วเรื่องใหม่ๆ อย่างเรื่อง "นวัตกรรม" เกี่ยวข้องกับเรื่องเดิมๆ อย่างเรื่อง "การจัดการทรัพยากรมนุษย์" ได้อย่างไร?

 "การจัดการทรัพยากรมนุษย์ " จากคำจำกัดความโดย รศ.แก้วตา ผู้พัฒนพงศ์   คือ "กระบวนการที่จะสนับสนุนให้เกิดการบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร โดยผ่านทางการจัดหา, การพัฒนาเพิ่มพูนความรู้ และทักษะของพนักงาน รวมไปถึงการธำรงรักษาให้พนักงาน มีขวัญและกำลังใจที่ดี มีความสุข ทั้งขณะปฏิบัติงาน หรือแม้เมื่อพ้นจากหน้าที่ไปแล้วก็ตาม "  ซึ่งเมื่อพิจารณาถึงความเชื่อมโยงของเรื่องราวทั้งสองยุคสมัยนั้น เราจะพบว่ามีสิ่งหนึ่งที่เกี่ยวข้องกันอยู่เสมอ นั่นก็คือ "มนุษย์" และนวัตกรรมจะไม่มีวันเกิดขึ้นได้ ถ้าไม่มีมนุษย์เป็นผู้กระทำ เพราะมนุษย์คือผู้ทำหน้าที่ขับเคลื่อนกลไกความคิด, การริเริ่มกระบวนการสร้างสรรค์, การพัฒนาสิ่งต่างๆ ตลอดจนการลงมือกระทำให้ Idea กลายเป็น Project หรือ Action Plan ที่เกิดขึ้นจริงในที่สุด

และ นวัตกรรมที่ดี ย่อมเกิดได้จากทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพ  คือทรัพยากรมนุษย์ที่มีพื้นฐานตามทฤษฎีทุน 8K's ของศ.ดร.จีระ อย่างครบถ้วนนั่นเอง  หรืออาจกล่าวโดยสรุปได้ว่า ปัจจัยที่จะทำให้ทรัพยากรมนุษย์ประสบความสำเร็จในการทำนวัตกรรม ก็คือปัจจัยตามทฤษฎีนวัตกรรม 3Q's ของอ.ยม อันได้แก่ Quality of Human Resources ซึ่งก่อให้เกิด Quality of Thinking, Action and Continue Improvement  อันจะนำมาซึ่งการเกิด Quality of Innovation ในที่สุด

ส่วนปัจจัยที่จะทำให้ทรัพยากรมนุษย์เป็นอุปสรรคต่อการทำนวัตกรรม ก็คือปัจจัยในทฤษฎี 3C's ที่ศ.ดร.จีระ กล่าวไว้ ได้แก่ Cultural Chaneg  วัฒนธรรมในการไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลง ซึ่งทำให้ไม่ยอมรับสิ่งใหม่ๆ  Command Control  สถานะการณ์ที่ผู้เป็นหัวหน้าไม่กระจายอำนาจ  นายเป็นใหญ่หรือคิดเองตัดสินใจเองตลอดโดยไม่ยอมรับฟังความคิดเห็นของลูกน้อง ทำให้ท้ายที่สุดแล้ว ลูกน้องก็จะหยุดคิดหยุดแสดงความสามารถไปเองในที่สุด Customer Base การไม่คำนึงถึงลูกค้า ซึ่งต่อให้ความคิด หรือสิ่งที่ทำออกมาดีแค่ไหน ก็อาจไม่ประสบผลสำเร็จได้

สำหรับคำตอบสุดท้าย ในเรื่องของการนำความรู้ด้านทรัพยากรมนุษย์ไปทำให้เกิดรูปธรรมนั้น

ดิฉันขอเลือกนำความรู้ทางด้านทรัพยากรมนุษย์ที่ได้รับมา  ไปเริ่มจากการสร้างโครงการนวัตกรรมขึ้นภายในตัวของดิฉันเองก่อนในเบื้องต้น  เพื่อสร้างให้ดิฉันรู้จักคิดพัฒนาสิ่งใหม่ๆให้เกิดขึ้น, คิดให้เป็น, คิดให้ดี, และคิดให้มาก แล้วนำมาลงมือปฏิบัติให้เกิดผลจริง มิใช่เพียงแต่คิดแล้วก็ปล่อยให้ผ่านเลยไป  จากนั้นดิฉันจะนำความรู้ดังกล่าว มาต่อยอดขยายวงกว้างไปสู่การพัฒนาบุคลากรในองค์กรธุรกิจของดิฉัน เพื่อปรับปรุงพัฒนาให้ธุรกิจที่ดิฉันทำอยู่ สามารถเติบโตอย่างมีคุณภาพ ให้เกิดเป็นองค์กรที่มีนวัตกรรมที่ยิ่งใหญ่ให้ได้สักวันนึงในอนาคต

 

ID : 4914980398

เรียนท่าน ศ.ดร.จิระ  หงส์ลดารมภ์

 ปัญหาส่วนใหญ่ของการทำงานเกิดจาก คนซึ่งต้นเหตุของปัญหา คือ องค์การไม่ได้เน้นนโยบายเรื่องคนเพราะเอาใจใส่แต่เรื่อง งาน กับ เงินดังนั้น เมื่อมีงานและมีเงิน จึงจะรับคนที่ทำงานให้ได้เข้ามาทำจุดนี้เองที่ดีก็ไม่ได้และที่ได้ก็ไม่ดี... กิจการไม่รักพวกเขา  แล้วจะให้พวกเขารักกิจการได้อย่างไร                จากบทความข้างต้น  ในการจะกระทำงานหรือกิจกรรมใดๆ ให้ประสบความสำเร็จได้นั้น  ต้องอาศัยคนหรือทรัพยากรบุคคล เป็นตัวขับเคลื่อน  องค์การควรจะให้ความสำคัญกับเรื่องคนที่จะเข้ามาทำ และคนที่จะกระทำงานเหล่านั้นให้ได้ดีและประสบความสำเร็จ ต้องมีความรักในงานที่จะทำ  มีความอยากที่จะทำงานเหล่านั้นและอยากที่จะทำงานร่วมกับองค์การนั้นจริงๆ และจะต้องมีความรู้ความสามารถที่จะกระทำในเรื่องนั้นๆ    หากบุคคลที่เราเลือกไม่มีใจรักในงาน ไม่มีพลังขับเคลื่อนแห่งความอยากทำ และไม่มีความรู้ในเรื่องนั้นๆ แล้วงานที่ทำจะประสบผลสำเร็จตามเป้าหมายได้อย่างไร                คนนับว่ามีความสำคัญมากๆ พอกับปัจจัยอื่นหรือมากกว่า.. ที่ส่งผลต่อการประสบความสำเร็จของงานซึ่งรวมไปถึงงาน Innovation ด้วย               ข้าพเจ้าเชื่อว่าการใช้ “Put the Right man on the right job” ก็มีส่วนช่วยเหลือให้เกิดงาน Innovation เพราะการที่คนได้สัมผัสกับสิ่งที่ตนเองถนัดเป็นเวลานานๆ มักจะมีการพัฒนาความคิดในการสร้างสรรค์งานของตนเองอยู่เรื่อยๆ คน หากเปรียบเสมือนต้นไม้ ที่ได้รับการใส่ปุ๋ย รดน้ำพรวนดินอย่างสม่ำเสมอ ต้นไม้นั้นก็จะเจริญเติบโตอย่างสมบูรณ์ แตกกิ่งก้านสาขาออกไปเรื่อยๆ   เช่นเดียวกับคนที่ได้รับการดูแลเอาใจใส่ ได้รับการพัฒนาทักษะความรู้ ความสามารถ อยู่เสมอ ยิ่งนานวันก็จะแตกกิ่งของความคิดใหม่ๆ ขึ้นไปเรื่อยๆ ซึ่งความคิดใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นได้รับการสร้างสรรค์ย่อมเป็นการนำมาซึ่งการเกิด Project และ Action plan ที่เป็นประโยชน์แก่องค์การProject เหล่านั้นจะประสบความสำเร็จได้ ต้องอาศัยทีมงาน ที่มีแนวคิดและทิศทางการทำงานที่มีเป้าหมายเดียวกัน ซึ่งแต่ละคนอาจมีเทคนิคการทำงานที่แตกต่างกันหรือจะกระทำโดยวิธีใดๆ ก็ตาม แต่งานที่ออกมาต้องสำเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้ ทั้งนี้เพื่อให้ได้วิธีการทำงานที่หลากหลายกว่าเดิมเพราะเชื่อว่าคนแต่ละคนย่อมมีทักษะความรู้ความสามารถที่ไม่เท่ากันและแตกต่างกัน และเป็นการเปิดโอกาสให้แต่ละบุคคลที่ทำงานร่วมกันได้ใช้ทักษะความรู้ ความสามารถที่ตนมีได้อย่างเต็มที่ เป็นการสร้างสรรค์งานที่จะก่อให้เกิด Innovation จากการทำงานแต่การทำงานแบบนี้มีโอกาสที่จะทำให้ Project นั้นประสบความสำเร็จได้ยากมาก อันเนื่องมาจากอุปสรรคปัญหาเหล่านี้  n      ความแตกต่างในเรื่องของมุมมอง

n      ความยากในการเปลี่ยนจิตใจคนหรือความคิด

n      การขาดความมุ่งมั่นของผู้บริหารn      ความไม่เพียงพอในเรื่องของความสามารถและคุณสมบัติของสมาชิกในทีม(Abilities of members)n      ขนาดของทีมงาน (Size of work teams)n      ความชำนาญด้านเทคนิค (Technical expertise)n      ทักษะทางด้านการแก้ปัญหาและการตัดสินใจ (Problem-solving and decision-making skills)

n      ทักษะระหว่างบุคคล  (Interpersonal skills)

                และท้ายนี้การจะเอาความรู้เรื่องการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ไปใช้ให้ได้ผลที่เป็นรูปธรรม  ข้าพเจ้าอยากให้นำเอาเรื่อง HR ไปใช้ในเรื่องของการพัฒนาระบบการศึกษาให้มากๆ เพราะการศึกษาเป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาและเป็นรากฐานสำคัญที่จะนำไปสู่คำว่า Innovation

                                                                      ศิวกานต์  อบเชย 

พีรพนธ์ เลิศสุภาธวัช

กราบเรียน ศ.ดร. จีระ หงส์ลดารมภ์ และ ทีมงานทุกท่าน

กระผมนายพีรพนธ์ เลิศสุภาธวัช นักศึกษาปริญญาโท บริหารธุรกิจ นวัตกรรม รหัส 4914981563

 

กราบเรียน ศ.ดร.จีระ  หงส์ลดารมภ์ 

 ปัญหาส่วนใหญ่ของการทำงานเกิดจาก คนซึ่งต้นเหตุของปัญหา คือ องค์การไม่ได้เน้นนโยบายเรื่องคนเพราะเอาใจใส่แต่เรื่อง งาน กับ เงินดังนั้น เมื่อมีงานและมีเงิน จึงจะรับคนที่ทำงานให้ได้เข้ามาทำจุดนี้เองที่ดีก็ไม่ได้และที่ได้ก็ไม่ดี... กิจการไม่รักพวกเขา  แล้วจะให้พวกเขารักกิจการได้อย่างไร          จากบทความข้างต้น  ในการจะกระทำงานหรือกิจกรรมใดๆ ให้ประสบความสำเร็จได้นั้น  ต้องอาศัยคนหรือทรัพยากรบุคคล เป็นตัวขับเคลื่อน  องค์การควรจะให้ความสำคัญกับเรื่องคนที่จะเข้ามาทำ และคนที่จะกระทำงานเหล่านั้นให้ได้ดีและประสบความสำเร็จ ต้องมีความรักในงานที่จะทำ  มีความอยากที่จะทำงานเหล่านั้นและอยากที่จะทำงานร่วมกับองค์การนั้นจริงๆ และจะต้องมีความรู้ความสามารถที่จะกระทำในเรื่องนั้นๆ    หากบุคคลที่เราเลือกไม่มีใจรักในงาน ไม่มีพลังขับเคลื่อนแห่งความอยากทำ และไม่มีความรู้ในเรื่องนั้นๆ แล้วงานที่ทำจะประสบผลสำเร็จตามเป้าหมายได้อย่างไร          คนนับว่ามีความสำคัญมากๆ พอกับปัจจัยอื่นหรือมากกว่า.. ที่ส่งผลต่อการประสบความสำเร็จของงานซึ่งรวมไปถึงงาน Innovation ด้วย    ข้าพเจ้าเชื่อว่าการใช้ “Put the Right man on the right job” ก็มีส่วนช่วยเหลือให้เกิดงาน Innovation เพราะการที่คนได้สัมผัสกับสิ่งที่ตนเองถนัดเป็นเวลานานๆ มักจะมีการพัฒนาความคิดในการสร้างสรรค์งานของตนเองอยู่เรื่อยๆ คน หากเปรียบเสมือนต้นไม้ ที่ได้รับการใส่ปุ๋ย รดน้ำพรวนดินอย่างสม่ำเสมอ ต้นไม้นั้นก็จะเจริญเติบโตอย่างสมบูรณ์ แตกกิ่งก้านสาขาออกไปเรื่อยๆ   เช่นเดียวกับคนที่ได้รับการดูแลเอาใจใส่ ได้รับการพัฒนาทักษะความรู้ ความสามารถ อยู่เสมอ ยิ่งนานวันก็จะแตกกิ่งของความคิดใหม่ๆ ขึ้นไปเรื่อยๆ ซึ่งความคิดใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นได้รับการสร้างสรรค์ย่อมเป็นการนำมาซึ่งการเกิด Project และ Action plan ที่เป็นประโยชน์แก่องค์การProject เหล่านั้นจะประสบความสำเร็จได้ ต้องอาศัยทีมงาน ที่มีแนวคิดและทิศทางการทำงานที่มีเป้าหมายเดียวกัน ซึ่งแต่ละคนอาจมีเทคนิคการทำงานที่แตกต่างกันหรือจะกระทำโดยวิธีใดๆ ก็ตาม แต่งานที่ออกมาต้องสำเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้ ทั้งนี้เพื่อให้ได้วิธีการทำงานที่หลากหลายกว่าเดิมเพราะเชื่อว่าคนแต่ละคนย่อมมีทักษะความรู้ความสามารถที่ไม่เท่ากันและแตกต่างกัน และเป็นการเปิดโอกาสให้แต่ละบุคคลที่ทำงานร่วมกันได้ใช้ทักษะความรู้ ความสามารถที่ตนมีได้อย่างเต็มที่ เป็นการสร้างสรรค์งานที่จะก่อให้เกิด Innovation จากการทำงานแต่การทำงานแบบนี้มีโอกาสที่จะทำให้ Project นั้นประสบความสำเร็จได้ยาก อันเนื่องมาจากอุปสรรคปัญหาเหล่านี้  n      ความแตกต่างในเรื่องของมุมมองn      ความยากในการเปลี่ยนจิตใจคนหรือความคิดn      ความไม่เพียงพอในระบบการพัฒนาทรัพยากรบุคคลn      การขาดความมุ่งมั่นของผู้บริหารn      ความไม่เพียงพอในเรื่องของความสามารถและคุณสมบัติของสมาชิกในทีม(Abilities of members)n      ขนาดของทีมงาน (Size of work teams)n      ความชำนาญด้านเทคนิค (Technical expertise)n      ทักษะทางด้านการแก้ปัญหาและการตัดสินใจ (Problem-solving and decision-making skills)n      ทักษะระหว่างบุคคล  (Interpersonal skills)

          และท้ายนี้การจะเอาความรู้เรื่องการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ไปใช้ให้ได้ผลที่เป็นรูปธรรม  ข้าพเจ้าอยากให้นำเอาเรื่อง HR ไปใช้ในเรื่องของการพัฒนาระบบการศึกษาให้มากๆ เพราะการศึกษาเป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาและเป็นรากฐานสำคัญที่จะนำไปสู่คำว่า "Innovation"

ศิวกานต์  อบเชย  ID 4914980398
น.ส.ลัดดาวัลย์ พนมกุล MBA Innovation Management ID: 4914980877
จากคำถามว่า การจัดการทรัพยากรมนุษย์เกี่ยวข้องกับนวัตกรรม และมีแนวความคิดใหม่ ได้อย่างไรการจัดการทรัพยากรมนุษย์เริ่มจากในหน่วยงาน กระบวนการที่จะทำให้บุคลากรในหน่วยงานมีความคิดใหม่ๆ หรือความต้องการพัฒนาตนเอง ไม่อยู่เฉยและคอยแต่จะเรียกร้องสิทธิ สวัสดิการต่างๆ หันกลับมากระตือรือร้นที่จะพัฒนาตนเองเพื่อให้ได้งานที่มีประสิทธิภาพ หรือการสร้างผลงานชิ้นใหม่ที่เป็นประโยชน์สำหรับหน่วยงาน                  กระบวนการต่างๆ ที่หน่วยงานนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการจัดการทรัพยากรมนุษย์จะไม่มีทางสำเร็จได้ถ้าไม่ได้เริ่มจากตัวบุคคลนั้นๆ เริ่มคิดที่จะปรับเปลี่ยนตัวเองจากรูปแบบการทำงานแบบเดิม ๆ โดยเริ่มจาก คิดใหม่ และ คิดไกลCreativity   (คิดใหม่) 1.  เปิดใจกว้าง เรียนรู้และรับฟังความเห็นใหม่ๆที่แตกต่างจากสิ่งที่เคยคิด กล้าออกนอกกรอบ       พร้อมจะคิดใหม่ ทำใหม่  สร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ  และเสนอทางเลือกใหม่เสมอ2. ไม่ยึดติดความคิดเดิม ทำแต่แบบเดิมๆ 3.  มองโลกในแง่ดี คิดเชิงบวก4.   คิดว่าทุกเรื่องทำได้และเป็นไปได้5.   คิดแบบ Win-Win คือ ไม่เห็นแก่ตัว เอาแต่ประโยชน์ฝ่ายตน แต่ต้องคิดถึงส่วนรวม คิดถึงคน      อื่น และทำให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้ประโยชน์ร่วมกันเสมอ6.  มองหาอะไรผิด ไม่ใช่ใครผิด ไม่กล่าวโทษกัน แต่ร่วมกันแก้ไข ปัญหาอย่างสร้างสรรค์               Plan for the future   (คิดไกล)1.  ทำงานอย่างมีเป้าหมาย ไม่คิดและมองแค่ปัจจุบัน หรือทำงานไปเรื่อยๆ   โดยไม่มีจุดหมาย    2. แสวงหาหนทางและมีแผนงาน ที่จะไปให้ถึงเป้าหมาย  3. คาดการณ์ปัญหาอุปสรรคล่วงหน้า   แจ้งผู้เกี่ยวข้องและหาหนทางป้องกัน  ไม่รอให้เกิดปัญหาที่น่าจะ                    ป้องกันได้ 4. ไม่แก้ปัญหาหนึ่ง แล้วสร้างปัญหาอื่นขึ้นมาแทน การมุ่งมั่นทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ คิดอย่างรอบคอบ หาเหตุผล ข้อมูลและองค์ความรู้ แสวงหาวิธีการทำงานใหม่ๆที่สามารถใช้ทรัพยากร (เงิน, คน, เวลา, ของ) ให้เกิดประสิทธิภาพ และความคุ้มค่าสูงสุดทุกครั้งในการทำงานทุกชิ้น นึกถึงต้นทุนและเวลาเพื่อลดขั้นตอนการทำงานที่ไม่มีผลต่อผลผลิตขององค์กร เรียนรู้และมีความพยายามในการปรับปรุงกระบวนการทำงาน ให้ทันกับการเปลี่ยนแปลง กล้ายอมรับข้อผิดพลาด เพื่อนำไปแก้ไขการทำงานในอนาคต ถือได้ว่าเป็น นวัตกรรม ที่มีประโยชน์สำหรับหน่วยงาน

ดังนั้น "นวัตกรรม" ภายในหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่ง จึงควรมีคุณลักษณะในการเป็น กระบวนการ หรือขั้นตอน ที่จะพัฒนาคนในหน่วยงาน  ความสำคัญของ "นวัตกรรม" นั้น อาจต้องมาจาก "ความตั้งใจ" ที่ต้องการให้เกิดขึ้น มากกว่าจะเกิดขึ้นโดยบังเอิญ และต้องมี "ความใหม่" และ "นำมาใช้ได้" ในระดับกลุ่ม ฝ่าย หรือทั้งหน่วยงานด้วย....

ลัดดาวัลย์ พนมกุล

เรียน ศ.ดร. จีระ หงส์ลดารมภ์ และผู้อ่านทุกท่าน

 ผมนายอาทรศม     ทองนาก รหัส 4914980361 นักศึกษาปริญญาโท โครงการบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต  สาขาวิชาการจัดการนวัตกรรมขอแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องทรัพยากรมนุษย์ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับ innovation ในกรณีต่างๆดังนี้

1.การที่ทรัพยากรมนุษย์มีส่วนช่วยในการสร้าง  Innovation นั้น ผมขออธิบายดังนี้

ทรัพยากรมนุษย์นั้น เป็นตัวแปรสำคัญในการสร้าง innovation ขึ้นมาโดยการนำเอาความคิดหลายๆอย่างมารวมกันเพื่อให้เกิด innovation ขึ้นมา ทั้งนี้ ไม่ว่ากระบวนการคิด และ การปฎิบัติ ล้วนเริ่มขึ้นจากทรัพยากรมนุษย์ทั้งสิ้น ดังนั้นจึงถือได้ว่า ทรัพยากรมนุษย์เป็นต้นกำเนิดของการสร้าง innovation โดยแท้จริงทั้งนี้ รูปแบบของ innovation ที่เกิดขึ้นนั้น ในภายหน้า จะถูกหลอมรวมกับ innovation อื่น ทำให้เกิด next step innovation ขึ้นมาโดยไม่มีที่สิ้นสุด

2.ในส่วนของ Idea ที่ทำให้เกิด Action Plan นั้น ทรัพยากรมนุษย์มีส่วนช่วยเป็นอย่างมากที่ทำให้เกิด การผลักดัน Idea ต่างๆ ให้เป็น Action Plan โดยมีหลักใหญ่ๆ 4 ข้อ คือThink            คิดโครงการและวิธีการเปลี่ยน Idea เป็น Action Plan ซึ่งเป็นรูปธรรม โดยไม่ยึดติดกับกรอบความคิดเดิม แต่ก็ไม่ใช่การเพ้อฝันโดยปราศจากหลักความจริงTeam            สร้างทีมขึ้นมาเพื่อความร่วมมือในการทำงาน เนื่องจาก innovation ไม่ใช่เรื่องง่ายที่จะกระทำได้เพียงคนเดียวโดยลำพัง เพราะต้องมีความรู้ในหลายด้าน เช่น หลักเศรษฐศาสตร์ หลักวิทยาศาสตร์ หลักสังคมศาสตร์ เป็นต้นTry            ลงแรงกายและแรงใจทำอย่างสุดความสามารถ เนื่องจาก innovation เป็นเรื่องของสิ่งใหม่และความเสี่ยงซึ่งมีอยู่สูงมาก หลายครั้งที่การทำงานอาจล้มเหลว ดังนั้นกำลังใจและความพยายามจึงเป็นสิ่งสำคัญมากในการสร้าง innovation ขึ้นมาTogether            ร่วมมือร่วมใจกันทุกฝ่าย ไม่เฉพาะแค่ภายในกลุ่มเท่านั้น แต่รวมไปถึงความร่วมมือกับบุคคลภายนอกทั่วโลกด้วย เพราะการแลกเปลี่ยนความรู้ความสามารถ รวมทั้งการทำงานโดยมีเป้าหมายไปในแนวทางเดียวกันจะทำให้งานมีประสิทธิภาพดีที่สุด

3.ในด้านปัจจัยที่ทำให้โครงการมีความสำเร็จนั้น ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบในหลายด้าน ได้แก่ ความรู้ เทคโนโลยี ทุน ความมุ่งมั่น สังคม เศรษฐกิจ ซึ่งองค์ประกอบเหล่านี้เป็นตัวแปรสำคัญทุกอย่าง การเอาใจใส่ต่อสิ่งเหล่านี้จะทำให้โอกาสประสบความสำเร็จมีสูง แต่ ถ้าละเลยไม่ปฎิบัติ โอกาสที่จะประสบความสำเร็จจะมีน้อยมาก

4.สำหรับโครงการทางนวัตกรรมที่อยากจะทำในอนาคตนั้น จะเป็นโครงการเกี่ยวกับการหมุนเวียนพลังงาน โดยแปลงสภาวะพลังงานจากรูปแบบหนึ่งไปเป็นอีกรูปแบบหนึ่ง เช่น ณ ปัจจุบันนี้เราสามารถแปลงพลังงานความร้อนและพลังงานลมรวมถึงพลังงานน้ำไปสู่รูปแบบของพลังงานไฟฟ้าได้ แต่เมื่อพลังงานไฟฟ้าถูกใช้ไปแล้วก็จะเปลี่ยนเป็นพลังงานรูปแบบอื่นและไม่สามารถเก็บพลังงานเหล่านั้นไว้ใช้ต่อได้ ดังนั้นลักษณะนวัตกรรมที่จะถูกคิดค้นขึ้นจะเป็นแนวทางการหมุนเวียนพลังงานเพื่อใช้ต่อไปอย่างไม่สิ้นสุด หรือเกิดการสูญเสียพลังงานน้อยที่สุดเพื่อรักษาทรัพยากรโลกสืบไว้

 

 
น.ส.ธาดาริณี เนียนไธสง
เรียน ศ.ดร.จีระ  หงส์ลดารมภ์ และคณะดิฉัน นางสาวธาดาริณี เนียนไธสง นักศึกษาโครงการหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการนวัตกรรม รุ่นที่ 1 มหาวิทยาลัยรามคำแหง รหัส 4914980403 ขอกราบขอบพระคุณอาจารย์และคณะที่ได้ผลักดันให้เกิดหลักสูตรการศึกษาสาขาวิชาการจัดการนวัตกรรมขึ้นและเสียสละเวลามาให้ความรู้ใหม่ ๆ ทำให้นักศึกษาได้มีโอกาสศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้ดิฉันขอตอบคำถามและเสนอข้อคิดเห็นจากคำถามที่อาจารย์ได้ให้ไว้ในการบรรยาย เรื่อง HR and Innovation ทั้ง 4 ข้อ โดยสรุปดังนี้ 1. การจัดการทรัพยากรมนุษย์มีส่วนช่วยในการสร้างนวัตกรรมได้อย่างไร?เมื่อทรัพยากรมนุษย์ได้รับการสนับสนุน ส่งเสริมให้มีความรู้ ความสามารถ รู้จักคิดอย่างเป็นระบบจากองค์กร ไม่ว่าจะเป็นจากการได้รับการส่งเสริมให้ได้รับความรู้ใหม่ ๆ อยู่เสมอ กำหนดเป้าหมายที่ชัดเจน ส่งเสริมทางด้านเทคโนโลยี กระจายอำนาจในการทำงาน เปิดโอกาสให้พนักงานได้แสดงความคิดเห็น ส่งเสริมการทำงานร่วมกัน กระตุ้นให้พนักงานมีความพร้อมและกล้าที่จะเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ กล้าคิด กล้าทำ และให้ทุนสนับสนุนในการวิจัยหรือลงทุนในโครงการที่เห็นว่าสมควร หากเกิดการผิดพลาดก็ไม่ควรกล่าวโทษ แต่ควรชี้แนะแนวทางให้ค่อย ๆ คิดหาสาเหตุของปัญหาที่เกิดขึ้น แล้วคิดหาแนวทางการแก้ไข ให้กำลังใจ ให้ความเข้าใจ รวมทั้งการเป็นที่ปรึกษาที่ดี ดูแลเอาใจใส่  รับรู้ รับฟัง ให้ความสนใจ ใส่ใจ ในสิ่งที่พนักงานเสนออย่างจริงจัง และจริงใจ ดังนั้น จากการจัดการทรัพยากรมนุษย์ข้างต้นจึงมีส่วนในการสร้างนวัตกรรม คือ เมื่อทรัพยากรมนุษย์มีความรู้ ความสามารถ รู้จักคิดอย่างเป็นระบบ มีความคิดสร้างสรรค์ และได้รับการพัฒนาอยู่เสมอย่อมทำให้สามารถที่จะปรับปรุงพัฒนาสิ่งที่มีอยู่ให้ดีขึ้น และมีโอกาสที่จะมีแนวคิดใหม่ ๆ ที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กรและส่วนรวม 

2. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ให้มีการทำงานที่เป็นรูปธรรม หรือ Project หรือ Action Plan สามารถทำได้อย่างไร?

          เมื่อโครงการหรือแผนการที่วางไว้ได้รับการยอมรับจากองค์กรแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือ ความกล้าที่จะปฏิบัติ กล้าได้กล้าเสีย และพร้อมที่จะยอมรับในสิ่งที่จะเกิดขึ้น เมื่อได้ลงมือปฏิบัติแล้วความสำเร็จจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อได้รับความร่วมมือจากทุกคนที่เกี่ยวข้องร่วมมือร่วมใจกันช่วยกันทำงานอย่างระมัดระวัง รอบคอบในทุก ๆ ขั้นตอน ช่วยกันทำงานอย่างเต็มที่และไม่มีอคติ โดยนำความรู้และประสบการณ์ที่มีมาประยุกต์ใช้  3. การจัดการทรัพยากรมนุษย์เพื่อให้โครงการประสบความสำเร็จได้อย่างไรและอุปสรรคที่เกิดจากทรัพยากรมนุษย์ที่ทำให้งานไม่ประสบความสำเร็จคืออะไร?          การที่โครงการจะประสบความสำเร็จได้นั้นประกอบไปด้วยปัจจัยหลาย ๆ อย่าง ดังนี้1)     คนหรือทรัพยากรมนุษย์ หมายความว่า คนที่จะปฏิบัติงานได้ดีต้องมีพื้นฐานความรู้ที่มากพอ ต้องมีความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาของงาน คิดเป็นระบบ ต้องมีความพร้อมที่จะปฏิบัติงานทั้งทางร่างกายและจิตใจ มีความขยัน อดทน มุ่งมั่น ร่วมมือร่วมใจกัน ทั้งในระดับผู้บริหารและพนักงาน2)     การบริหารจัดการ หมายถึง การบริหารงานอย่างมีระบบ มีเป้าหมายที่ชัดเจน วางแผนงานอย่างเป็นระบบรวมทั้งการวางแผนกำลังคน กำหนดขั้นตอนการทำงานอย่างชัดเจน และมีการจัดเตรียมแผนการแก้ไขไว้ล่วงหน้าย่อมจะช่วยให้การทำงานประสบความสำเร็จได้เร็วขึ้น3)     กลไกหรือกลวิธีในการดำเนินการ คือ การทำงานให้ได้ตามแผนที่วางไว้ เสร็จเรียบร้อยตามเวลาที่กำหนด 4)     เทคโนโลยี ควรใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยมาช่วยในการทำงานเพื่อให้งานมีประสิทธิภาพมากขึ้นส่วนอุปสรรคที่ทำให้งานไม่ประสบความสำเร็จดิฉันเห็นว่ามาจากปัจจัยหลัก ๆ 3 หลัก นั่นคือ ทฤษฎี 3C ที่ท่านอาจารย์ได้วิเคราะห์ไว้-          Cultural Change หมายถึง การไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น นั่นบ่งบอกถึงการมีวิสัยทัศน์ที่แคบ ซึ่งเป็นปัญหาต่อการดำเนินงานและต่อการเปลี่ยนแปลงนวัตกรรม-          Customer Base  หมายถึง ไม่รู้ถึงความต้องการของลูกค้าอย่างแท้จริง เนื่องจากการขาดการสำรวจข้อมูลก่อนที่จะกำหนดโครงการที่ถูกต้อง หรือขาดความรอบคอบในการทำงาน-          Command Control หมายถึง  การที่ผู้บริหารไม่กระจายอำนาจ ไม่รับฟังความคิดเห็นของคนอื่นนอกจากนี้ยังขึ้นอยู่กับอีกหลาย ๆ ปัจจัย เช่น-          ปัจจัยภายในองค์กรเอง ซึ่งมาจากผู้บริหารที่มีวิสัยทัศน์ที่แคบ ไม่มีการส่งเสริมในเรื่องการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ภายในองค์การ ไม่มีการส่งเสริมด้านเทคโนโลยี ไม่มีเงินทุนในการสนับสนุน ไม่มีการกระจายอำนาจในการบริหารงาน ไม่ยอมรับความคิดเห็นของคนอื่น เป็นต้น และปัจจัยที่เกิดจากตัวของพนักงานหรือผู้ดำเนินงาน เช่น พนักงานไม่มีศักยภาพขาดความรู้ความสามารถ ความคิดสร้างสรรค์ ไม่ขยัน ไม่มีความอดทน ขาดความร่วมมือในการดำเนินงาน และขาดจริยธรรมในการดำเนินงาน-          ปัจจัยภายนอกองค์กร เช่น สภาวะเศรษฐกิจของประเทศ นโยบายของรัฐบาล การแข่งขันระหว่างองค์กร และกฎหมาย เป็นต้น 4.      ท่านจะนำความรู้เรื่อง HR ไปใช้ให้ได้ผลจริง ๆ หรือทำโครงการให้เป็นรูปธรรมในเรื่องใด?ดิฉันอยากจะใช้การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การตลาดในปัจจุบันนอกจากจะแข่งขันกันในด้านการขายแล้ว ยังแข่งขันกันในด้าน การพัฒนาผลิตภัณฑ์  เพื่อให้ตรงกับความต้องการผู้บริโภค ไม่ว่าจะเป็นด้านความสะดวกในการใช้ ความทันสมัย และยังรวมไปถึงรูปทรงสวยและหีบห่อที่สวยงามอีกด้วย  ฉะนั้นจึงมีความ จำเป็นอย่างยิ่งที่เราจะต้องพัฒนาบุคลากรในสายการผลิตก่อนเป็นอันดับแรก  โดยการทำโครงสร้างการบริหารจัดการ ( Command Control) ไปเป็นส่วนต่าง ๆ เช่น ฝ่ายบริหารจัดการทั่วไป ฝ่ายออกแบบผลิตภัณฑ์ ฝ่ายจัดหาจัดซื้อวัตถุดิบ ฝ่ายการผลิต ฝ่ายตรวจสอบคุณภาพ ฝ่ายคลังสินค้าและกระจายสินค้า เป็นต้น โดยเมื่อจัดแบ่งแล้วให้จัดให้มีผู้อำนาจหรือผู้รับผิดชอบ ( Responsible) ในส่วนงานของแต่ละส่วนงานให้ดี  และให้มีความสอดคล้องกัน มีเป้าหมายร่วมกัน( Cooperate Target)นั่นคือ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ ของกิจการให้เป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ และจัดให้มีการฝึกอบรมพนักงาน ( Training )ในทุกภาคส่วนให้มีความรู้ความชำนาญ ( Competitive or Talent Development) ให้มากที่สุด และจัดให้มีการทำกิจกรรมร่วมกันเพื่อเสริมสร้างความเป็นทีม ( Team work ) เพื่อให้การบริหารจัดการสามารถทำได้อย่างเต็มที่ และบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้  นอกจากจะสามารถพัฒนาผลิตภัณฑ์แล้วยังจะสามารถลดความสูญเสียจากการผลิต  ซึ่งหมายถึงต้นทุนของกิจการ และจะสามารถสร้างผลกำไรที่เพิ่มขึ้นของกิจการได้อีกด้วย

ธันยารัตน์ นันทิสิงห์ ID : 4914980825

HRM กับ Innovation

การที่เราต้องการจะทำธุรกิจอะไรซักอย่างนั้น องค์ประกอบที่ควรจะมีก็คือ บุคลากร กระบวนการในการดำเนินธุรกิจ กลยุทธ์ และเทคโนโลยี ซึ่งตัวขับเคลื่อน (Drive) ที่สำคัญที่สุดที่จะก่อให้เกิดนวัตกรรมใหม่ ๆ ขึ้น คือ เรื่องของบุคลากร เนื่องจากคนเปรียบเสมือนเป็นสิ่งที่จะทำให้ธุรกิจเกิดขึ้นหรือเกิด สินค้า/บริการใหม่ ๆ ได้ และคนเองก็เป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อความประสบความสำเร็จของธุรกิจด้วย ซึ่งในการสรรหาบุคลากรที่สามารถทำให้ธุรกิจของเราประสบความสำเร็จได้นั้น เราก็ต้องหาคนที่มีคุณภาพ ซึ่งในการสรรหาบุคลากรนั้นก็ต้องพิจารณาในหลาย ๆ ด้านด้วยกัน เช่น ในเรื่องของการศึกษา ความรู้ความสามารถ ความชำนาญของแต่ละบุคคล ประสบการณ์ ทัศนคติ และที่สำคัญถ้าบุคลากรขององค์กรนั้นมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ก็ถือเป็นโอกาสที่ดีขององค์กรที่จะได้รับรู้ในสิ่งใหม่ ๆ จากบุคลากรในองค์กรด้วย ซึ่งเมื่อทางองค์กรสามารถคัดเลือกคนได้แล้ว ก็ต้องดูความเหมาะสมในงานของแต่ละบุคคลด้วย (put the right man in the right job at the right time) ทางองค์กรควรให้พนักงานได้ใช้ความรู้ความสามารถของพวกเขาอย่างเต็มที่ ซึ่งทางองค์กรก็ต้องให้ความเชื่อใจ (Believe) กับพนักงานด้วย ควรเปิดโอกาสให้พนักงานสามารถนำเสนอความคิดเห็นต่าง ๆ เพื่อให้องค์กรได้รับสิ่งใหม่ ๆ ที่เกิดจากการใช้ความรู้ และความคิดสร้างสรรค์ที่มีประโยชน์ต่อองค์กร จากพนักงานของพวกเขา และเมื่อเกิดความคิดใหม่ ๆ แล้ว ทางองค์กรเองก็ต้องพิจารณาถึงความเป็นไปได้ของความคิดเหล่านั้น (Reality) ซึ่งถ้าสามารถทำได้จริง ทางองค์กรก็ต้องกล้า (Dare) ที่จะนำไปปฏิบัติด้วย แต่ในการคิดริเริ่มทำสิ่งใหม่ ๆ (Innovation) นั้นย่อมต้องมีความเสี่ยง (Risk) ที่อาจเกิดขึ้น ทางองค์กรเองก็ต้องพยายามยอมรับกับความเสี่ยงนั้นให้ได้ ซึ่งถ้าเกิดความผิดพลาดเกิดขึ้นนั้น ก็ให้ถือว่าเป็นประสบการณ์ แล้วเรียนรู้ (Learning) กับความผิดพลาดที่เกิดขึ้นจากการดำเนินธุรกิจในครั้งนั้น และนำผลมาวิเคราะห์ หาสาเหตุ แนวทางแก้ไข และพัฒนาปรับปรุงให้ดีขึ้น เพื่อเป็นแรงขับเคลื่อนต่อไปในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในสิ่งใหม่ ๆ ให้ดียิ่งขึ้นกว่าเดิม

ซึ่งถ้าเป็นไปได้อยากนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในเรื่องของ การบริการ เนื่องจากในปัจจุบันนี้สิ่งที่ธุรกิจต้องคำนึงถึงมากที่สุดที่จะทำให้ธุรกิจของพวกเขาอยู่รอดและประสบความสำเร็จ ก็คือ ลูกค้า ซึ่งในปัจจุบันการให้บริการหลังการขายเป็นสิ่งที่กลุ่มผู้บริโภคมีความต้องการเป็นอย่างมาก นอกจากนี้ธุรกิจในด้านของการบริการนั้นก็เริ่มมีหลากหลายมากขึ้น เนื่องจากพฤติกรรมของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ดังนั้น ถ้าเรามีการใช้นวัตกรรมในด้านของการบริการ ก็น่าจะตอบสนองความต้องการที่มีแตกต่างกันของผู้บริโภคได้

นางสาวยมาภรณ์ กลับวิเศษ

เรียน ศ.ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์ และทีมงาน
ดิฉัน นางสาวยมาภรณ์ กลับวิเศษ
รหัสนักศึกษา 4914981727
MBA Innovation Management ม.รามคำแหงรุ่น 1

ดิฉันขอแสดงความคิดเห็นในหัวข้อที่ ศ.ดร.จิระ หงส์ลดารมภ์ ได้ให้ไว้ดังนี้

  1. การจัดการทรัพยากรมนุษย์มีส่วนช่วยสร้างนวัตกรรมได้อย่างไร

  2. นวัตกรรมเกิดขึ้นมาในประเทศไทยและในโลกมานาน จากที่ได้เคยรับฟัง และรับทราบจากผู้ทรงคุณวุฒิหลายท่านว่า ประเทศไทยเรานี้มีนวัตกรรมเกิดขึ้น มากมาย แต่ขาดการดูแลและการจัดการต่อยอดให้กับนวัตกรรมนั้น และผู้ที่จะเป็น ผู้นำนวัตกรรมให้เกิดการต่อยอด ก็คือ คนหรือมนุษย์นั้นเอง ดังนั้น การจัดการทรัพยากรมนุษย์จึงเป็นเรื่องที่สำคัญมาก 2 ประการคือ

    1.1 การสร้างและส่งเสริมทรัพยากรมนุษย์ให้เกิดการคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง ไม่ใช่การลอกเลียนแบบ (Think out of box)

    1.2 การสร้างและส่งเสริมการต่อยอดจากนวัตกรรมที่มีอยู่แล้ว หรือนวัตกรรมที่ถูกคิดค้นขึ้นมาใหม่ (Management Innovation)


  3. ทรัพยากรมนุษย์ช่วยในเรื่องidea เพื่อทำให้เกิดprojectหรือ action plan


  4. มนุษย์และการเรียนรู้เป็นสิ่งที่คู่กัน การสอนให้มนุษย์เกิดการเรียนรู้จึงเป็นสิ่งที่จะก่อให้เกิดความคิดแปลกใหม่ (Idea) หากมีแต่ความคิดแปลกใหม่แต่ไม่ได้รับการส่งเสริมไม่ได้รับการทดลองก็จะเป็นเพียงแค่ความคิด ไม่เกิดเป็นรูปธรรม ดังนั้นหากมนุษย์ได้รับความรู้ ได้รับการส่งเสริม ก็จะช่วยให้มนุษย์คิดอย่างเป็นกระบวนการ เกิดการทดลอง และบรรลุถึงผลในที่สุด (Project หรือ Action Plan) ดิฉันจึงเห็นว่า ทรัพยากรมนุษย์ คือ ครู


  5. ทำอย่างไรถึงจะทำให้โครงการเหล่านั้นประสบความสำเร็จ อุปสรรคในเรื่องทรัพยากรบุคคล ที่ทำให้โครงการไม่ประสบความสำเร็จมีอะไรบ้าง


  6. การจะให้โครงการประสบความสำเร็จมีส่วนประกอบดังนี้

    • จะต้องสร้างจิตสำนึกให้กับเจ้าหน้าที่โครงการทุกคน เกิดสังคมในในโครงการเป็นสังคมนวัตกรรม เพื่อสนับสนุนให้นวัตกรรมไปได้รอดในสังคมไทย


    • เน้นการศึกษาและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ให้สร้างระบบความคิดที่ดี คิดเป็น วิเคราะห์เป็น นวัตกรรมจะเกิดได้จากความคิดแปลกใหม่ไม่ใช่การลอกเลียนแบบ

    อุปสรรคในเรื่องทรัพยากรบุคคล ที่ทำให้โครงการไม่ประสบความสำเร็จในความคิดของดิฉัน แบ่งออกได้เป็น 2 ความคิดเห็นคือ

    • มนุษย์ไม่ชอบการเปลี่ยนแปลง นี่คือความจริงในสังคมไทย ปิดกั้นความคิดตัวเอง

    • - ทำไม่ได้หรอก มันยาก

      - แบบเดิมดีอยู่แล้ว จะเปลี่ยนทำไม

    • เมื่อมีการลงทุนกับทรัพยากรมนุษย์แล้ว แต่เป็นการลงทุนแบบไม่ต่อเนื่อง หรือไม่มีการวัดผล ขาดการกระตุ้นความคิดอย่างสร้างสรรค์


  7. จะนำความรู้เรื่องทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ให้ได้ผลจริงหรือก่อให้เกิดโครงการเป็นรูปธรรมอย่างไร


  8. พื้นฐานการงานของดิฉันคือพนักงานขาย ดิฉันจะมองในเรื่องทรัพยากรมนุษย์ ที่เข้ามาจัดการนวัตกรรมที่เกิดขึ้นมาแล้วหรือกำลังจะเกิดขึ้นในอนาคต นำนวัตกรรมเหล่านั้นมาต่อยอดเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับนวัตกรรมที่เกิดขึ้น

กิตติพงษ์ จงสมบูรณ์สุข
นายกิตติพงษ์ จงสมบูรณ์สุข  รหัสประจำตัว 4914981346     นักศึกษาโครงการหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการนวัตกรรม รุ่นที่ 1 มหาวิทยาลัยรามคำแหง          ขอบคุณอาจารย์ที่ได้ให้ความรู้ แนวความคิด และแรงผลักดันการเรียนรู้มากมาย  ซึ่งถือว่าเป็นจุดเริ่มต้นที่ดี ในการค้นคว้าและแสวงหาความรู้ทางด้าน HR and Innovationผมขอแสดงความความเห็น เรื่อง HR and Innovation ในแนวทางสรุปดังนี้การจัดการทรัพยากรมนุษย์มีส่วนช่วยในการสร้างนวัตกรรมคือ การจัดการทรัพยากรมนุษย์เป็นพื้นฐานในการทำให้เกิด นวัตกร” (Innovator) โดยอาศัยการสร้างองค์ความรู้ ความคิดสร้างสรรค์และการคิดอย่างเป็นระบบให้กับคน เพื่อนำไปสู่การสร้างนวัตกรรม (Innovation) โดยนำหลักการและความรู้พื้นฐานมาประยุกต์ใช้ในการประดิษฐ์คิดค้น โดยนำแนวความคิดใหม่หรือการใช้ประโยชน์จากสิ่งที่มีอยู่แล้ว มาปรับใช้ในรูปแบบใหม่ เพื่อทำให้เกิดประโยชน์คือ การทำในสิ่งที่แตกต่างจากคนอื่น โดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ (Change) ในรอบตัวเรา ให้กลายมาเป็นโอกาส (Opportunity) เช่น ผลิตภัณฑ์ใหม่ การบริการรูปแบบใหม่ การนำไปใช้ประโยชน์แบบใหม่ และต้องทำให้เกิด Continuous Human Resource Improvement หมายถึงการพัฒนาแนวความคิดของบุคคลด้านการสร้างนวัตกรรมให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยใช้หลักความรู้ อย่างเช่น 8K’s, 4L's และ 2R’s เป็นต้น  การทำให้โครงการประสบความสำเร็จในการสร้างนวัตกรรม ต้องส่งเสริมให้คนเกิดความกล้า กล้าคิด กล้าทำ กล้าทดลอง เรียนรู้จากประสบการณ์ ความผิดพลาดมาเป็นบทเรียน และสร้างวัฒนธรรมการเปลี่ยนแปลงอย่างไม่หยุดนิ่งในการพัฒนา และถ่ายทอดความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ ประสบการณ์ ทั้งภายในองค์กรและภายนอกองค์กร   และผู้บริหารระดับสูงต้องส่งเสริมและสนับสนุนอย่างจริงจังในทุกด้าน อย่างเช่น เงินทุน  แรงงาน เวลา และองค์ความรู้ ซึ่งผู้บริหารระดับสูงต้องเป็นผู้กำหนดนโยบายให้ชัดเจนในการสร้างนวัตกรรมแรงจูงใจในการพัฒนา กระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมในทิศทางบวกและที่ถูกต้อง ซึ่งความสำเร็จที่เกิดขึ้นให้เป็นผลงานของทั้งองค์กร โดยมีขั้นตอนของการเกิดนวัตกรรม 3 ระยะ คือระยะที่ 1 มีการประดิษฐ์คิดค้น (Innovation) หรือเป็นการปรุงแต่งของเก่าให้เหมาะสมกับยุคสมัย โดยนำแนวความคิดใหม่หรือการใช้ประโยชน์จากสิ่งที่มีอยู่แล้ว มาปรับใช้ในรูปแบบใหม่ เพื่อทำให้เกิดประโยชน์ระยะที่ 2 พัฒนาการ (Development) มีการทดลองในแหล่งทดลอง ซึ่งอาจจัดทำอยู่ในลักษณะของโครงการทดลองปฏิบัติก่อน (Pilot Project)ระยะที่ 3 การนำเอาไปปฏิบัติในสถานการณ์ทั่วไป และถ่ายทอดให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม ซึ่งจัดว่าเป็นนวัตกรรมขั้นสมบูรณ์ อุปสรรค์ที่ทำให้ไม่ประสบความสำเร็จในการสร้างนวัตกรรม คือ1. Change Culture การต่อต้านการเปลี่ยนแปลงของคนในองค์กร ซึ่งคิดว่าการเปลี่ยนแปลงนั้นส่วนมากเป็นเชิงลบ และความล้มเหลวก่อนที่จะลงมือทำ ซึ่งเป็นสภาพแวดล้อมที่ทำลายและไม่สามารถทำให้เกิดการสร้างนวัตกรรม2. Customer Base การละเลยความต้องการของลูกค้า ซึ่งอาจทำให้ลูกค้าไม่ยอมรับและเกิดอคติกับองค์กร การสร้างภาพลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ใหม่หรือรูปแบบการบริการใหม่ต้องให้ความสำคัญกับลูกค้า ดังนั้นจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเชื่อมโยงนวัตกรรมกับความต้องการของลูกค้า3. Command Control การขาดความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งของผู้บริหารในแนวทางการสร้างนวัตกรรม ซึ่งไม่อาจเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับพนักงาน หรือผู้บริหารที่มีความคาดหวังกับพนักงานสูงเกินไป อาจทำให้เกิดทัศนคติที่ไม่ดี ไม่รับฟังความคิดเห็น ไม่มอบหมายงานและอำนาจในการตัดสินใจให้  โครงการที่คาดว่าจะทำหลังจากการเรียนคือ การสินค้าหรือการบริการที่เกี่ยวกับการรักษาสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นที่ต้องการของลูกค้าที่เน้นด้านสิ่งแวดล้อมในอนาคตได้เป็นอย่างดี  
กนกกาญจน์ คำคูณ รหัส 4914981851

สวัสดีอีกครั้งค่ะวันนี้ดิฉันขอตอบข้อ2-4

2.ทรัพยากรมนุษย์ช่วยทำให้เราเกิดการทำงานที่เป็นรูปธรรม(Project/Action plan) ได้อย่างไร

****ในองต์กรใดองค์กรหนึ่งจะเกิดการทำงานที่เป็นรูปธรรมได้ต้องใช้ทรัพยากรมนุษ์ที่มีประสิทธิภาพเริ่มตั้งแต่ผู้บริหารจนถึงพนักงานผู้บริหารต้องส่งเสริมการนำความคิดสร้างสรรค์ไปใช้ในการทำงานส่งเสริมให้พนักงานกล้าที่จะทำ กล้าลองผิดลองถูกและกล้าเผชิญกับความล้มเหลวโดยมีพื้นฐานความรู้และความรักในองค์กรอยากให้องค์กรมีความเจริญเติบโต และตามที่ท่านพารณกล่าวไว้ว่าคนเป็นทรัพยากรที่สำคัญที่สุดการจะเกิดสิ่งใดได้ขึ้นอยู่กับคนการให้Empowerment ก็เป็นการส่งเสริมให้องค์กรมีความคิดใหม่ๆและเกิดสิ่งใหม่ๆที่พัฒนาองค์กรได้

3. ทำอย่างไรถึงทำให้โครงการเหล่านั้นประสบผลสำเร็จ อุปสรรคในทรัพยากรมนุษย์ที่ทำให้โครงการเหล่านั้นไม่ประสบผลสำเร็จมีอะไรบ้าง

**** การที่จะทำให้โครงการประสบผลสำเร็จต้องมีการทำงานเป็นทีม มี Network Collaboration จะต้องมีการจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่มีประสิทธิภาพ มอบหมายงานให้ตรงกับความสนใจและศักยภาพของพนักงาน ผู้บริหารให้Empowerment เพื่อให้แต่ละคนแสดงศักยภาพออกมาให้เต็มที่

อุปสรรคที่ทำให้โครงการไม่ประสบผลสำเร็จ คือทฤษฎี3C

1.Cultural change

2.Customer base

3.Command control

นอกจากทฤษฎี3C แล้วการที่บุคคลากรไม่กล้าที่จะคิด/ทำนอกกรอบก็เป็นปัจจัยที่ทำให้โครงการไม่สำเร็จได้ การมีคุณธรรมก็จะทำให้งานประสบผลสำเร็จอย่างยั่งยืนได้

4.เราจะเอาความรู้เรื่องทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ให้ได้ผลจริงๆหรือทำเป็นโครงการที่เป็นรูปธรรมได้อย่างไร

**** เนื่องจากดิฉันทำงานเป็นพยาบาลซึ่งเป็นงานด้านบริการเป็นหลักและคิดว่าการบริการด้นการแพทย์และการพยาบาลจะสามารถทำให้ประเทศมีรายได้มากขึ้นได้เห็นได้จากนักท่องเที่ยวก่อนที่จะมาประเทศไทยเค้าจะดูข้อมูลว่ามีการแพทย์การดูแลที่ดีมีมาตรฐานหรือไม่ ดิฉันจึงมีความคิดที่จะนำความรู้นี้ไปใช้เพื่อให้เกิดการบริการที่ดี ลูกค้าคือผู้มารับบริการมีความพึงพอใจ การบริการที่ดีหมายถึงมีประสิทธิภาพถูกต้องตามหลักวิชาชีพ ถ้าเรามีการจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่ดีก็จะทำให้เกิดการบริการที่ดีได้

โครงการที่ดิฉันอยากทำคือ การบริการที่ถูกต้อง ฉับไวและสุขใจร่วมกัน เพราะดิฉันคิดว่าความต้องการของลูกค้าคือบริการที่ถูกต้อง รวดเร็ว พึงพอใจ เราต้องทำให้คนในองค์กรมีการทำงานเป็นทีม เยกว่าทีมสุขภาพ มีการอบรมพัฒนาความรู้อย่างต่อเนื่อง หัวหน้าเปิดโอกาศให้ลูกน้องแสดงความคิดเห็นและกล้าให้ทำสิ่งใหม่ๆโดยอยู่ภายใต้ความรู้และจรรยาบรรณวิชาชีพ รู้จักการเอาใจเขามาใส่ใจเรา เมื่อคนในองค์กรทำได้ทั้งหมดนี้จะทำให้องค์กรพัฒนาไปด้วยความยั่งยืนได้

สุดท้ายนี้ดิฉันขอขอบคูรอ.ดร.จีระ และทีมงานที่ไห้พวกเราได้มีความคิดมีมุมมองที่กว้างขึ้นและได้แสดงความคิดเห็น ขอบคุณค่ะ

น.ส.อรวิกา เจริญวรรณยิ่ง
เรียน ศ. ดร. จีระ  หงส์ลดารมภ์ดิฉัน น.. อรวิกา  เจริญวรรณยิ่ง   นักศึกษาปริญญาโท บริหารธุรกิจ สาขานวัตกรรม  รหัส 4914981321 ขอแสดงความคิดเห็นดังนี้ค่ะ 
  1. ทรัพยากรมนุษย์มีส่วนช่วยใน Innovation อย่างไร
ดังคำกล่าวของ คุณพารณ อิศรเสณา ณ อยุธยา คนเป็นทรัพยากรที่มีค่าที่สุดขององค์กร ดังนั้นการทำงานให้ประสบความสำเร็จก็ต้องมีคนเป็นส่วนร่วมหลักก่อนที่จะเริ่มใช้อุปกรณ์หรือเทคโนโลยีอื่นๆ เพราะคนคือผู้เสนอความคิด (Idea) อันทำให้เกิดสิ่งต่างๆขึ้น ดังนั้นการทำให้เกิด Innovation ต้องเริ่มจากการพัฒนาคนให้มีความคิดดี ทำดี กล้าทำในสิ่งใหม่ๆอย่างมีจริยธรรม  การที่องค์การจะได้รับแนวคิดใหม่ๆจากบุคลากรในองค์การได้ ต้องมีการเปิดโอกาสทางความคิดให้กับทุกคนในองค์การ 
  1. ทรัพยากรมนุษย์ช่วยในการนำ Idea เพื่อทำให้เกิด Project หรือ Action Plan อย่างไร
การเกิด Idea อันเป็นผลทำให้เกิด Project หรือ Action Plan นั้น จากที่กล่าวมาแล้วว่าหากคนมีความคิดดี ทำดี กล้าทำในสิ่งใหม่ๆอย่างมีจริยธรรมแล้ว ก็เป็นผลให้ ความคิดดีๆเหล่านั้นเกิด Action Plan ขึ้นมาได้ แต่มากไปกว่านั้น เมื่อเกิด Action Plan แล้ว คนที่คิดสิ่งใหม่ๆขึ้นมานั้นต้องศึกษาถึงปัญหาและวางเป้าหมายของโครงการที่คิดขึ้นมา โดยมีการกำหนดระยะเวลาเพื่อความสำเร็จอย่างเป็นรูปธรรม นั่นหมายถึง ทรัพยากรมนุษย์ต้องมีความรับผิดชอบในสิ่งที่ตัวเองคิดขึ้นมา โดยองค์การให้การสนับสนุนโครงการเหล่านั้น 
  1. ทำอย่างไรจะทำโครงการให้ประสบความสำเร็จและมีอุปสรรคในเรื่องทรัพยากรมนุษย์ และมีอุปสรรคอะไรบ้างที่ไม่ประสบความสำเร็จ
การคิดสิ่งใหม่ๆเกิดขึ้นกับทุกคนอยู่ตลอดเวลา แต่การที่ความคิดเหล่านั้นจะสำเร็จเป็นประโยชน์ต่อองค์การมีอุปสรรคมากมาย ซึ่งโครงการนั้นอาจล้มเหลวตั้งแต่ยังไม่ได้ลงมือทำเลยก็ได้ เช่น ทฤษฏี 3C ของอาจารย์จิระ ดังนั้นการที่จะทำให้โครงการประสบความสำเร็จ ผู้บริหารและทุกคนในองค์การต้องมีส่วนร่วมผลักดันให้เกิดนวัตกรรมอย่างสมบูรณ์ มีการพัฒนาบุคลากรอย่างมีคุณภาพ ส่วนอุปสรรคอันทำให้ไม่ประสบความสำเร็จ ก็คือ การไม่สนับสนุนโครงการอย่างต่อเนื่อง  การปิดกั้นความคิดดีๆของสมาชิกในองค์การ และอุปสรรคอีกอย่างที่สำคัญ คือ การที่ผู้บริหารไม่เห็นความสำคัญอย่างจริงจังของโครงการนั้นๆ อาจเป็นผลให้เกิดความล่าช้าในงบประมาณการสนับสนุน ขาดความภูมิใจในโครงการที่ตนคิดขึ้น อันเป็นเหตุสำคัญที่ทำให้โครงการไม่ประสบความสำเร็จ 
  1. จะเอาความรู้เรื่องทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ให้ได้ผลจริงหรือทำเป็นโครงการที่เป็นรูปธรรมในเรื่องใด
การแข่งขันและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในยุคปัจจุบัน อยู่ในระดับสูงมาก ดังนั้นเพื่อความอยู่รอดขององค์การในสังคมธุรกิจปัจจุบัน องค์การต้องทำให้บุคลากรเห็นความสำคัญของการอยู่รอดขององค์การ ทำให้ทุกคนต้องการก้าวไปพร้อมกับองค์การอย่างมั่นคง โดยให้ผลตอบแทนที่คุ้มค่าอย่างจริงใจเพื่อความสำเร็จ ดังนั้นหากองค์การมีการจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่ดี ทุกคนเห็นความสำคัญของความสำเร็จ มีแนวคิดที่จะพัฒนาองค์การร่วมกัน นวัตกรรมก็จะเกิดขึ้นได้เพราะการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่ดี.
นางสาว ศิริพร คงสมบูรณ์

เรียน ศ.ดร.จิระ หงส์ลดารมภ์

ก่อนอื่นต้องขอขอบพระคุณมากเลยนะคะ ที่อาจารย์ให้เกียรติมาสอนพวกเราชาว MBA Innovation ที่ ม.รามคำแหง รู้สึกประทับใจในการสอนของอาจารย์มากค่ะ และเพื่อไม่ให่เสียเวลาขอแสดงความคิดเห็นดังนี้ค่ะ ดิฉัน น.ส.ศิริพร คงสมบูรณ์ (ID 4914980728) No. 35 Sec. 2

  1. ทรัพยากรมนุษย์ช่วยเหลือด้านนวัตกรรมอย่างไร

  2. เมื่อ นวัตกรรม หมายถึง สิ่งใหม่ที่เกิดจากการใช้ความรู้และความคิดสร้างสรรค์ที่มีประโยชน์ต่อเศรษฐกิจและสังคม และแน่นอนต้องเกิดจากแนวคิดของคน ซึ่ง คนเป็นทรัพยากรที่มีค่าขององค์กร และถือเป็นต้นทุน (Human Capital) ที่สำคัญของการดำเนินธุรกิจ เป็นตัวขับเคลื่อนธุรกิจและเศรษฐกิจทั้งระบบ องค์กรจะสามารถดำเนินการและเติบโตได้อย่างยั่งยืน ถ้ามีบุคลากรที่ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น องค์กรจึงต้องทำการพัฒนาและสร้างศักยภาพ ให้แก่บุคลากร โดยเริ่มตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมขององค์กร เน้นการทำงานเป็นทีม การสร้างภาวะผู้นำ สร้างความจงรักภักดี การคิดริเริ่มสร้างสรรค์ รวมทั้งคุณธรรมและจริยธรรมที่ดี โดยองค์กรจะต้องให้บุคลากรได้รับความรู้ใหม่ๆ มีข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัย เพื่อนำมาประยุกต์ใช้กับการทำงานให้บรรลุเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยัง เป็นการเพิ่มมูลค่า และนวัตกรรม ให้องค์กรมากขึ้นด้วย


    ทฤษฎีมูลค่าเพิ่ม--->Data--->Information--->Knowledge--->Value Added--->Wisdom



  3. ทรัพยากรมนุษย์ช่วยเหลือในการนำ Idea ไปทำให้เกิด Project หรือ Action Plan อย่างไร


  4. ก่อนอื่นเราต้องยอมรับว่า ในภาวะการณ์ปัจจุบันมีการแข่งขันทาง ธุรกิจที่ทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ ความดาดหวังของลูกค้าสูงขึ้น ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมทั้งพฤติกรรมของคนทำงานเปลี่ยนไป ดังนั้น ทรัพยากรมนุษย์ จึงถูกคาดหวังจากองค์กรให้เป็นเสมือนหุ้นส่วนธุรกิจที่มีส่วนร่วมกับทุกๆส่วนขององค์กร เพื่อให้องค์กรประสบความสำเร็จนั้น ทรัพยากรมนุษย์จะต้อง

    2.1 มีความรู้ ความเข้าใจในองค์กรและธุรกิจ
    2.2 มีความชำนาญในวิชาชีพ
    2.3 เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง
    2.4 มีความดิดริเริ่มสร้างสรรค์
    2.5 คิดอย่างเป็นระบบ
    2.6 เข้าใจผู้อื่น
    2.7 มีการสื่อสาร
    2.8 มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
    2.9 มีทักษะในการพัฒนาผู้อื่น
    2.10 มีการพัฒนาตนเอง



  5. การที่โครงการด้านนวัตกรรมจะประสบความสำเร็จได้ จะต้องทำเริ่มจาก


  6. การจะให้โครงการประสบความสำเร็จมีส่วนประกอบดังนี้

      3.1 ผู้บริหาร จะต้องให้ความร่วมมือและเป็นผู้นำในการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมขององค์กร ซึ่งจะนำไปสู่การสร้างวัฒนธรรมขององค์กร
      3.2 ศึกษาความต้องการของลูกค้า ต้องรู้ว่าลูกค้าต้องการอะไร แนวโน้มของตลาดเป็นอย่างไร

      3.3 การวิจัยและพัฒนา ในตัวสินค้าหรือบริการที่จะทำ

      3.4 การสร้างพันธมิตรเพื่อนวัตกรรม ขอความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับโครงการ

      3.5 การสร้าง Brand ให้เป็นที่รู้จักในวงกว้าง


    อุปสรรคในเรื่องทรัพยากรมนุษย์ที่ทำให้โครงการไม่ประสบความสำเร็จ

      1 Culture Change การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมองค์กร เพราะคนเราจะไม่ชอบการเปลี่ยนแปลง
      2 Customer Base ไม่ศึกษาความต้องการของลูกค้าและตลาด

      3 Command Control ผู้บริหารขาดคุณสมบัติความเป็นผู้นำที่ดี



  7. จะนำความรู้ที่เรียนมาทำโครงการนวัตกรรม
  8. คือ ต้องการผลิตกระป๋อง (อลูมิเนียม) เครื่องดื่มเปลี่ยนสีได้ เมื่อได้รับความเย็นในอุณหภูมิที่พอเหมาะ เช่น กระป๋องเครื่องดื่มเป็ปซี่ที่เป็นรูปดารา หรือนักร้อง เมื่อคุณนำไปแช่จนได้ที่ความเย็นพอเหมาะแล้วสีของเสื้อผ้าจะเปลี่ยนไป (ไม่รู้ว่าจะเป็นโครงการที่ฝันค้างหรือเปล่านะค่ะ แต่คนเราต้องกล้าที่จะฝันก่อนค่ะ)

เอกกฤษ ชนะพาห์ รหัส 4994910674 นักศึกษาปริญญาโท MBA Innovation มหาวิทยาลัยรามคำแหง ทรัพยากรมีส่วนช่วยเหลือ Innovation ใน 3 ด้านอย่างไร1.        การมีความคิดใหม่ๆการมีความคิดใหม่ๆถือเป็นส่วนหนึ่งของ Innovation แต่การที่คนเราจะมีความคิดใหม่ๆต้องอาศัยความรู้ ความคิด และวิสัยทัศน์ค่อนข้างมากพอสมควร ดังนั้นองค์กรต้องสนับสนุนให้มีการถ่ายทอดความรู้ ความคิด                 ประสบการณ์ และให้โอกาสในการแสวงหาความรู้เพื่อเปิดโลกทัศน์ของเขาให้กว้างขึ้น อาจจะมีการฝึกอบรมให้กับพนักงานในส่วนที่คิดว่าเขาขาด การดูงานนอกสถานที่ การสัมมนา การถ่ายทอดประสบการณ์จากระดับบนลงสู่ระดับล่าง นายจ้างให้ความเป็นกันเองกับลูกน้องรับฟังความคิดเห็นของเขา ทำให้เขารู้สึกว่าเขาเป็นส่วนหนึ่งขององค์กรทำให้เขากล้าคิด กล้าแสดงออกมากขึ้นและอื่นๆเป็นต้น เมื่อเขาได้รับความรู้ และประสบการณ์ที่องค์กรมอบพร้อมทั้งรู้สึกว่าตัวเองเป็นส่วนหนึ่งขององค์กรแล้วเชื่อได้เลยว่าความคิดใหม่ๆที่ต้องการจะเปลี่ยนแปลงจะต้องเกิดขึ้นตามมา2.        ทรัพยากรมนุษย์ช่วยให้เราเกิดการทำงานที่เป็นรูปธรรม เช่นโครงการและ Action plan ได้อย่างไรหลังจากที่ได้แนวความคิดใหม่มาแล้วหากทางองค์กรมองว่าสามารถก่อให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กรได้ ทางผู้บริหารหรือหัวหน้าควรที่จะนำแนวความคิดใหม่นั้นเข้าสู่ที่ประชุมเพื่อระดมแนวทางในการปฏิบัติให้เกิดเป็นรูปธรรมขึ้น ทั้งนี้ทั้งนั้นแนวทางในการปฏิบัติที่ดีควรมาจากทุกๆคนในองค์กรไม่ว่าจะเป็นระดับผู้บริหาร และระดับปฏิบัติการ หลังจากนั้นระดับผู้บริหารต้องชี้แจงให้คนในองค์กรทราบถึงผลดีที่จะได้รับและผลเสียที่จะต้องเจอจากการทำและไม่ทำโครงการนี้  การแสดงจุดยืนที่ชัดเจนในนโยบายการทำงนและการสนับสนุนอย่างเต็มที่ชองผู้บริหารจะเป็นแรงผลักดันที่สำคัญในการที่จะก่อให้เกิดการปฏิบัติการตามนโยบายที่วางไว้3.        ทำอย่างไรจึงจะทำให้โครงการเหล่านั้นประสบผลสำเร็จและอุปสรรคที่ทำให้ไม่ประสบผลสำเร็จมีอะไรบ้าง การที่จะทำให้โครงการใหม่ๆประสบผลสำเร็จได้นั้นต้องอาศัยสิ่งเหล่านี้-          ความร่วมมือของคนในองค์กร ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญเพราะไม่มีงานใดสำเร็จได้ด้วยคนเพียงคนเดียว-          การสนับสนุนและการมีส่วนร่วมของผู้บริหาร ผู้บริหารต้องปลูกฝังหรือมุ่งเน้นให้ผู้ปฏิบัติการตระหนักถึงผลดีที่จะได้รับหากโครงการนี้สำเร็จพร้อมทั้งมีการประกาศให้รางวัลเพื่อเป็นสิ่งตอบแทนและกระตุ้นให้เกิดความร่วมมือ อุปสรรคที่จะทำให้ไม่ประสบผลสำเร็จมีดังนี้-          ขาดความร่วมมือของคนในองค์กร เนื่องจากเขามองไม่เห็นว่าทำแล้วจะได้อะไร และไม่เห็นความสำคัญของการเปลี่ยนแปลงเพราะคิดว่าสิ่งที่มีอยู่ก็ดีอยู่แล้ว-          ผู้ปฏิบัติงานขาดความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาที่จะต้องทำสิ่งนั้นๆ เมื่อเขาไม่เข้าใจ-          ขาดผู้รับผิดชอบและสนับสนุนอย่างจริงจัง เนื่องจากการทำการเปลี่ยนแปลงสิ่งใหม่ๆย่อมมีความเสี่ยงสูง 4.        จะนำความรู้เรื่องทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ให้ได้ผลจริงหรือก่อให้เกิดโครงการที่เป็นรูปธรรมในเรื่องใดจะนำความรู้เรื่อง HR มาใช้กับลูกน้องใต้บังคับบัญชากับกิจการของตนเองเกี่ยวกับการค้าขายเพราะการค้าขายเป็นกิจการที่ต้องใช้คนหรือติดต่อกับคนจำนวนมาก หากว่าเราไม่ใช้กลยุทธ์HR มาใช้อาจก่อให้เกิดการขาดทุนหรือถูกโกงจากคนที่เราไม่ให้ความสำคัญกับเขาก็ได้ นำเอากลยุทธ์มาใช้ในการให้อำนาจเขาในการตัดสินใจ การแสดงความคิดเห็น การมีส่วนร่วมในกิจการ และส่งเสริมเขาให้ทำงานได้อย่างเต็มที่
ดารณี อร่ามพรกุล รหัสประจำตัวนักศึกษา 4914980703  การจัดการทรัพยากรมนุษย์มีส่วนช่วยนวัตกรรมในขั้นตอนต่าง ๆ ดังนี้ 1.     การเกิดนวัตกรรม  การจัดการด้านทรัพยากรมนุษย์ที่ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรมที่ดีประการหนึ่งคือการสร้างสภาพแวดล้อมในองค์กรให้เป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์  ซึ่งจะส่งเสริมให้พนักงานเกิดความกล้าคิด กล้าทำ กล้าเผชิญหน้า ไม่ว่าจะเป็นความสำเร็จหรือล้มเหลว  2.     ช่วยให้เกิดการทำงานที่เป็นรูปธรรม  เมื่อได้เกิดนวัตกรรมในองค์กรแล้ว  การจะนำไปปฏิบัติจะต้องมีปัจจัยทั้งด้านงบประมาณ บุคลากร อุปกรณ์ และเวลา ที่เหมาะสมเพื่อนำนวัตกรรมนั้นไปทำหรือใช้ปฏิบัติ  การจัดการด้านทรัพยากรมนุษย์ที่จะมีส่วนช่วยคือการจัดเตรียมพนักงานให้พร้อมสำหรับการทำงานในหน้าที่ต่าง ๆ ที่ได้รับผลกระทบ ประกอบด้วย การสื่อสารให้พนักงานทราบถึงจุดมุ่งหมายของโครงการ ความจำเป็นในการเปลี่ยนแปลง  ผลประโยชน์ที่องค์กรและพนักงานจะได้รับจากโครงการ เมื่อได้ให้ความรู้ที่เพียงพอแล้ว ก็จัดการฝึกอบรมเพื่อให้พนักงานสามารถปฏิบัติงานในสภาวะที่จะเปลี่ยนแปลงในอนาคต   3.     ทำอย่างไรให้โครงการประสบความสำเร็จ  อุปสรรคหลักคือขาดการสนับสนุนจากผู้บริหาร และพนักงานขาดความรู้ความสามารถในเรื่องที่เกี่ยวข้อง ทางแก้ไขคือต้องทำความเข้าใจกับผู้บริหารให้ตระหนักถึงความจำเป็นที่องค์กรต้องสนับสนุนทั้งในด้านงบประมาณ บุคลากร อุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ที่จำเป็น เวลาที่เหมาะสม เพื่อให้พนักงานมีได้มีความรู้ ความสามารถในการที่จะวางแผนงานที่เป็นไปได้ รู้วิธีปฏิบัติ เตรียมรับมือกับปัญหาที่อาจเกิดขึ้น และพร้อมเผชิญหน้ากับปัญหา และหาหนทางแก้ไข เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่วางไว้ โครงการที่ต้องการทำหลังการเรียนรู้ สิ่งที่ต้องการทำในด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ คือการทำให้เกิดวัฒนธรรม รักงานที่ทำ  โอกาสที่คนเราจะได้ทำงานที่รักนั้นมีอยู่ไม่มาก  แต่หากได้ทำงานใดและรักในงานที่ทำ  จะทำให้เห็นคุณค่าของงาน และทุ่มเทกำลัง ความสามารถ ในการปฏิบัติงานอย่างเต็มที่  แผนการสร้างวัฒนธรรมในหน่วยงาน คือการชี้ให้สมาชิกในหน่วยงานเห็นถึงความสำคัญของงานที่ทำ ว่ามีผลกระทบต่อองค์กรในภาพรวมอย่างไร หากทำงานอย่างเต็มกำลังความสามารถแล้ว จะส่งผลที่ดีเช่นไรต่อภาพลักษณ์ขององค์กร ความรู้สึกประทับใจของลูกค้า ส่งผลให้พนักงานในหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องทำงานได้ราบรื่นขึ้น  ในขณะเดียวกัน ก็จะต้องให้รู้ว่าหากบกพร่องในหน้าที่แล้ว จะทำให้ภาพลักษณ์ขององค์กรเสียหายอย่างไร  ลูกค้าไม่พอใจเช่นไร และพนักงานในหน่วยงานอื่นต้องทำงานเพิ่มมากขึ้นอย่างไร  เมื่อสมาชิกตระหนักถึงผลดี ผลเสีย เหล่านี้แล้ว ก็จะทำให้รู้ถึงคุณค่าของงานที่ทำและตั้งใจทำงานอย่างเต็มที่ ผลพลอยได้ก็คือ สมาชิกจะทำงานอย่างมีจริยธรรม ไม่ถูกชักนำไปในทางที่ไม่ควร เพราะตระหนักถึงผลที่จะเกิดขึ้น  เช่นนี้แล้ว ไม่ว่าจะมีนวัตกรรมใดเกิดขึ้นในองค์กร สมาชิกก็จะยินดีที่จะเรียนรู้ และพัฒนาตนเองให้พร้อมสำหรับหน้าที่ที่อาจเปลี่ยนแปลงไปตามนวัตกรรมเหล่านั้น โดยตระหนักถึงคุณค่าของงานที่รับผิดชอบเป็นอย่างดี 

เรียน  ศ.ดร.จีระ  หงส์ลดารมภ์ ดิฉัน  นางสาวปทิดา  มกรพงษ์  นักศึกษาปริญญาโท สาขาการจัดการนวัตกรรม  รหัสประจำตัวนักศึกษา  4914981020

ทรัพยากรมนุษย์มีส่วนช่วยใน Innovation อย่างไร

ทรัพยากรมนุษย์นับว่าเป็นส่วนสำคัญขององค์กร การที่องค์กรจะมีความเจริญก้าวหน้าได้นั้น ต้องเริ่มมาจากการมีบุคคลากรที่ดี มีคุณภาพ การเชื่อมั่นในคุณค่าของคนจะนำมาซึ่งความสำเร็จขององค์กร องค์กรจึงควรให้ความสำคัญในเรื่องทรัพยากรมนุษย์ โดยเริ่มตั้งแต่การรับบุคลากรเข้าทำงาน จนกระทั่งเค้าเข้าทำงานแล้ว ควรมีการเพิ่มพูนความรู้ใหม่ๆ เช่น การจัดฝึกอบรม ,สัมมนา ฯลฯ ซึ่งในปัจจุบันการทำธุรกิจในระยะยาวจะต้องให้มีประสิทธิภาพในทุกๆเรื่อง โดยเฉพาะการมีเทคโนโลยีใหม่ๆเข้ามาเกี่ยวข้อง บุคคลากรจะต้องมีความรู้ ความสามารถไปตามเทคโนโลยีที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ซึ่งจะมีความเกี่ยวข้องกับ Innovation โดยตรง  เพราะนวัตกรรมคือการนำสิ่งที่มีอยู่ มาปรับปรุง เปลี่ยนแปลง พัฒนา เพื่อให้เกิดเป็นสิ่งใหม่ๆ และจะต้องเจริญควบคู่ไปกับความรู้ ความสามารถที่พัฒนาขึ้นเรื่อย ๆ ภายในองค์กร นั่นก็คือทรัพยากรมนุษย์นั่นเอง

ทรัพยากรมนุษย์ช่วยในการนำ Idea เพื่อให้เกิด Project หรือ action plan อย่างไร

ทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพ ย่อมจะมีการปฏิบัติในการทำงานอย่างต่อเนื่อง Project จะเกิดจากการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง ซึ่งมาจาก Idea ที่มาจากบุคคลากรที่มีคุณภาพ การได้รับการฝึกฝนและเพิ่มพูนความรู้ต่าง ๆ แก่บุคคลากร ย่อมจะทำให้บุคคลากรเหล่านั้นมี Idea ใหม่ ๆ มาพัฒนาองค์กร ซึ่งผลที่ได้ก็คือ Project หรือ Action plan ที่มีประสิทธิภาพ

ทำอย่างไรจึงจะทำให้โครงการเหล่านั้นประสบความสำเร็จ อุปสรรคในเรื่องทรัพยากรมนุษย์ที่ทำให้โครงการไม่ประสบความสำเร็จ มีอะไรบ้าง

การที่จะทำให้โครงการประสบความสำเร็จได้นั้น จะต้องมาจากบุคคลากรภายในองค์กรทีได้รับการพัฒนาทั้งความรู้ และประสบการณ์ โดยมีการร่วมมือ ร่วมคิด ร่วมทำ และได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูง การที่โครงการจะไม่ประสบความสำเร็จ มีหลายประการ คือ

-  การขาดการให้โอกาส และการสนับสนุนจากผู้บริหาร

-  ขาดทักษะ ความรู้ในเรื่องที่ได้รับมอบหมาย

- ขาดความสามารถในการปกิบัติงาน

- ข้อจำกัดในด้านเวลา

เราจะนำความรู้เรื่องทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ให้ได้ผลจริงๆ หรือทำโครงการที่เป็นรูปธรรมในเรื่องใด

เราจะนำความรู้เรื่องทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ให้ได้ผลจริงๆได้ก็คือ ใช้กับการปฏิบัติงานในปัจจุบัน โดยในการเรียนรู้ทำให้ได้รับความรู้จากเร่องทรัพยากรมนุษย์หลายๆด้าน เช่น การที่จะทำให้ผู้ใต้บังคับบัญชารักเรา เราต้องใหความจริงใจกับเค้าก่อน ให้ความรู้ ทักษะต่างๆควบคู่ไปกับคุณธรรม จริยธรรมในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ สร้างความผูกพันธ์ในองค์กร ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งสำคัญ ถ้าเราสามารถนับไปปรับใช้ในการปฏิบัติงาน จะทำให้องค์กรดำเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ และรักษาทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพ

 

ดิฉัน นางสาวนันทวัน  เทศชูวงศ์ ID 4914980455 นักศึกษาปริญญาโท MBA INNOVATION ม.รามคำแหง ขอส่งความคิดเห็นที่อาจารย์ให้แสดงความคิดเห็น 4 ข้อดังนี้

1. ทรัพยากรมนุษย์มีส่วนช่วยใน Innonation คือ มนุษย์สามารถนึกคิก เรียนรู้ ศึกษา และสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆให้เกิดขึ้นเสมอ แล้วยังนำสิ่งเดิมที่มีอยู่แล้วมาพัฒนาได้เกิดประโยชน์ ให้มีความก้าวหน้ามากยิ่งขึ้นให้ทันต่อยุคโลกาภิวัฒน์ รวมทั้งมีคุณค่าต่อสังคม

2. ทรัพยากรณ์มนุษย์ช่วยในการนำ Idea เพื่อให้เกิด Project หรือ Action Plan ได้นั้น องค์ที่มีการตัดสินใจอยู่ที่ผู้บริหารหรือหัวหน้า ต้องเป็นคนที่เปิดใจให้กว้างยอมรับฟังความคิดเห็นของผุ้ใต้บังคับบัญชา และคนในองค์กรต้องพร้อมที่จะยอมรับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต และต้องมีกรอบเป้าหมายหรือนโยบายในการให้แนวคิด เพื่อที่จะได้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน แต่อาจจะต้องมีแรงจูงใจด้วยการให้รางวัลหรือผลตอบแทน เช่น เลื่อนตำแหน่ง ขึ้นเงินเดือน หรือ เงินโบนัส ฯลฯ เพื่อที่จะได้เห็นแนวความคิดของคนในองค์กรว่ามีแนวความคิดอย่างไร

3. ทำอย่างไรโครงการนั้นจึงจะประสบความสำเร็จ

 -ทุกคนในองค์กรต้องให้ความร่วมมือ และพร้อมที่จะยอมการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในอนาคต

-ผู้บริหาร/หัวหน้า ต้องเป็นผ้ที่ใจกว้างยอมรับฟังความคิดเห็นของทุคนในองค์กร

- ต้องให้โอกาสคนทุกระดับชั้น(หัวหน้างาน,ลูกจ้าง เป้นต้น) ร่วมแสดงความคิดเห้นหรือแสดงความคิด โดยไม่มีการแบ่งชั้นวรรณะ

- ต้องมีแรงจูงใจหรือผลตอบแทน

- ต้องมีคุณธรรมและจริยธรรม

- มีความสามัคคี

   - อุปสรรคที่ทำให้โครงการไม่ประสบความสำเร็จ

- คนในองค์กรไม่ให้ความร่วมมือ ไม่ยอมรับการเปลี่ยนที่จะเกิดขึ้น ยึดติดอยู่กับสิ่งเดิมๆ

- ผู้บริหารไม่ยอมรับฟังความคิดเห็นของคนในองค์กร เอาความคิดตัวเองเป้นใหญ่

- กำหนดเป้าหมาย โครงการ หรือ นโยบายไม่ชัดเจน

- คนในองค์กรไม่มีความรู้ความสามรถ

- ขาดแรงจูงใจ หรือผลตอบแทน

- มีการแบ่งพรรคแบ่งพวก ไม่มีความสามัคคีเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน

- ไม่มีโอกาสได้แสดงความคิดเห็น/แนวคิด

4. เราจะเอาความรู้เรื่องทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ให้เกิดผล คือ ถ้าอนาคตมีบริษัทเป็นของตัวเองจะอบรมปลูกฝังคนในองค์ให้มีคุณธรรมและจริยธรรม มีความสามัคคี และรู้จักรักองค์กร(โดยการให้ทุกคนนำเสนอแนวความคิดเพื่อช่วยในงานพัฒนาองค์กร) เมื่อองค์กรพัฒนาแล้วจึงนำมาซึ่งผลตอบแทน(เงินเดือน) และต้องการให้พัฒนาขึ้นเรื่องๆ ก็จะให้แรงจูงใจและผลตอบแทน และที่สำคัญต้องยอมรับฟังความคิดเห็นของทุกคนในองค์

Innovation จะเกิดขึ้นได้ "ต้องไม่หยุดนิ่งแนวความคิด" แต่แนวความคิดต้องมีคุณธรรมและจริยธรรม ประกอบเข้าไปด้วย พร้อมทั้งให้คุณค่ากับสัมคมด้วย

 

 สวัสดี อาจารย์ และทีมงานครับ  ผม นาย โสรัจ กีรติวรพงศ์  รหัส 4914980470 ขอขอบพระคุณ อาจารย์และทีมงานเป็นอย่างยิ่งครับ 

ที่ทำให้ผมได้~กระตุ้นความอยากรู้  อยากคิด อยากค้นคว้ามากขึ้น~

  ความคิดเห็นในข้อที่ 1 

   สำหรับในความเข้าใจของผมคือ การสร้างคนให้มีความเข้าใจถึง ความต้องการของคน(ลูกค้า)”  บนพื้นฐานของคำว่า คนนั้นมีความต้องการไม่รู้จบ เมื่อ คน(HR)ที่เข้าใจถึงความต้องการที่แท้จริง ของ

คน(ลูกค้า)   คน(HR) เหล่านั้นก็จะสามารถสรรสร้างนวัตกรรม เพื่อตอบสนองความต้องการในเรื่องนั้นๆ ได้  ด้วยความรู้ของขบวนการที่เป็นระบบ ซึ่งจะทำให้นวัตกรรมในแต่ละเรื่องนั้นประสพผลสำเร็จได้มากขึ้น     ผมเชื่อ 100 % ว่าพื้นฐานของนวัตกรรมนั้นมากจาก คน(HR) เพราะฉะนั้นประเด็นสำคัญสำหรับตัวผมแล้วนั้นคิดว่า สิ่งสำคัญที่สุดตอนนี้คือ การสร้างคน(HR) ให้มีความเข้าใจอย่างแท้จริงในเรื่องของความต้องการใหม่ๆของคน(ลูกค้า) ถ้าทำได้คน(HR)เหล่านี้ก็จะสามารถสรรสร้างนวัตกรรมขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการนั้นแบบโป๊ะเช๊ะประสพผลสำเร็จมากขึ้น  เพราะนวัตกรรมเกิดจากคน ไม่มีคนที่ต้องการใช้ นวัตกรรมไม่เกิด      Key:  เข้าให้ถึงความต้องการ แล้วนวัตกรรมก็จะเกิดขึ้นเอง  ความคิดเห็นในข้อที่  2   แน่นอน ชัวครับว่าหนีไม่พ้นเรื่องของความ ~กล้า~ ครับ แต่ก่อนที่คนจะกล้านั้น ควรจะต้องมีความเข้าใจถึง ขบวนการจัดการ idia นั้นๆ ว่ามีความเป็นไปได้จริงแค่ไหนโดยการนำเอาทษฎีต่างๆ มาสนับสนุน แล้วคำนวณหาความเสี่ยงในการลงทำให้ได้ ว่ามีความเป็นไปได้ กี่ %  อัตราเสี่ยงกี่ % เพราะความเสี่ยงนั้นมีความสำคัญยิ่งในความกล้าที่จะตัดสินใจลงมือทำ          

                                     ความเสี่ยง 
   Idia --à ข้อมูลทางทษฎี --------à  ลงมือทำ                                      ความเสี่ยง Key:  มองให้เห็นทั้งหมดของความเสี่ยงและจะเกิดความกล้าที่จะทำ ความคิดเห็นในข้อที่ 3         เมื่อชัดเจนกับเป้าหมาย และความเสี่ยงที่เกิดขึ้นแล้ว ต่อจากนั้นก็ต้องใช้ความสามารถ ความพยายามทำทุกวิถีทาง(มีจริยธรรมด้วย) อย่างเต็มที่ให้ดีที่สุด เน้น ที่สุด ในทุกๆ ขบวนการของโครงการ  และแผนการแก้ไข หรือทางออก กับสิ่งที่อาจเกิดขึ้นแบบเหนือความคาดหมาย หากพิจารณาจุดเหล่านี้อย่างรอบคอบแล้ว ก็จะสามารถพิชิตปัญหาต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นในระหว่างการดำเนินการโครงการ ทำให้มีกำลังใจ มองเห็นเป้าหมายชัดเจน  บวกกับความเอาจริง เอาจัง กัดไม่ปล่อย  ทั้งหมดนี้ก็พอเพียงสำหรับคนที่จะ พิชิตความสำเร็จของโครงการได้     ส่วนเรื่องของคนที่ทำให้โครงการไม่ประสพผล  นั้นคือ ขาดความเอาจริง เอาจังและกัดไม่ปล่อยนั้นเอง  มองไม่เห็นเป้าหมายที่ชัดเจน  ขาดการกระตุ้นตัวเอง ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่จำเป็นมากที่สุด   Key:  ทำให้ดีที่สุด ต้องเป็นคนที่เอาจริง เอาจัง กัดไม่ปล่อย   ความคิดเห็นในข้อที่ 4   Now. ตอนนี้ตัวผมเองนั้นเป็น MIS อยู่ในองค์ที่ค่อนข้างมีปัญหามากๆ ในเรื่องของทรัพยากรมนุษย์ สำหรับระยะอันใกล้นี้ ที่คิดไว้เป็นเรื่องที่ช่วยให้ แผนก HR ในบริษัทนั้น มี WebBase ที่สามารถสื่อในเรื่อง ข้อมูลการลา , ข้อมูลความรู้ การอบรมม,แรงงานสัมพันธ์ ,เวลาการทำงานของพนังงาน  เป็นต้น   Key: ทำกับสิ่งที่อยู่รอบๆ ตัวให้ดีขึ้นก่อน นั้นคือการฝึก        
ดรุณี รัตนสิริวัฒนกุล
กราบเรียน  ดร. จีระ  หงส์ลดารมภ์   ดิฉัน ดรุณี รัตนสิริวัฒนกุล   รหัสประจำตัว 4914980482  MBA INNOVATION RU

            ทรัพยากรมนุษย์ มีส่วนช่วยในการพัฒนา Innovation

เมื่อพูดถึงทรัพยากรมนุษย์ กับการพัฒนา innovation นั้นถือว่าเป็นส่วนสำคัญมากๆ กับ การสร้างสรรค์ แนวคิด การจัดการกระบวนการดำเนินการ เป็นส่วนสำคัญในการผลักดันประเทศกับแห่งการแข่งขันที่มากขึ้นจากนอกประเทศที่เข้ามาแข่งขันในปัจจุบัน

 ด้านการบริหารงานบุคลากร Collaborate Team

                ยกย่อง ส่งเสริมบุคคลที่ ที่เก่ง ให้อยู่ในองค์กร , ยอมรับเชื่อมั่น ในคุณค่าของคน

รักษาคนเก่ง ได้คนที่มีคุณภาพ คนเก่ง มีการเรียนรู้ตลอดเวลา อ่านหนังสือเป็น, ปลูกฝังให้พนักงานมีความผูกสัมพันธ์ที่ดีกับองค์กร ความรักองค์กร ในด้านต่างเช่น สร้างบุคลากรให้มีความเชื่อและความเลื่อมศรัทธาให้มีความเข้มแข็ง มีอุดมการณ์ร่วมกันในการไปสู่เป้าหมาย

การทำ innovation ต้องกล้าที่จะตัดสินใจ กล้าที่จะเสี่ยง ต้องการเปลี่ยนแปลง กล้าในการออกความคิดเห็น และ แสดงสิ่งซึ่ง เข้าใจแล้ว และกระตุ้นให้ผู้ร่วมอุดมการณ์ รับรู้และเข้าใจ

การบริหารงานการตัดสินใจ  Empowerment  

   ระบบการตัดสินใจ การกระจายอำนาจในการตัดสินใจ หรือ Empowerment กระจายการตัดสินใจลงไปในระดับรองลงไป ทำให้ผู้ร่วมทีม เกิดความมั่นใจ รักในการมีส่วนมากขึ้น ซึ่งจะเป็นส่วนความสัมพันธ์ กับความสามัคคี กันการทำงาน พื้นฐานของการตัดสินใจต้องมีข้อมูลการตัดสินใจ เพื่อการลดความเสี่ยงในเรื่องนั้นๆ

        ต้องมีบุคคลากรที่มีความแม่นยำในการตัดสินใจ

เมื่อได้คนที่เก่ง ที่ดี ก็จะมี idea ที่จะนำไปทำในเกิดเป็น action plan ได้ ทำให้ความเสี่ยงลดลง และ เปอร์เซ็นต์ความสำเร็จก็จะเพิ่มขึ้นตามตามเป้าหมายไปด้วย

        เปิดโอกาสให้ผู้ร่วมทีม คิด เสนอ แนวทาง การปฏิบัติงาน โดยมองจาก เป้าหมายมาก ขึ้นให้อิสระทางด้านความคิดแนวๆใหม่, วิธีการใหม่ๆ ทำให้เป็น กระบวนการใหม่ วิธีการใหม่ๆ มากขึ้น

อยากให้นำแนวคิดการบริหารงานในลักษณะ Leader มาใช้ให้คนใน team รู้จักงานของตัวเองคิดได้เองว่าควรทำอะไร สามารถที่ กับการทำ Innovation ต้องมีความกล้าที่จะเสี่ยง กล้าทดลอง ต้องไม่กลัวที่จะเจ้ง ถ้าไม่ทำเจ้งแน่ๆ

ต้องสร้างสังคม innovation ตรงนี้จะไม่อยากเน้นลงไปอยากให้ทุกท่านได้ใส่ลงไปในความคิดว่าเราจะสร้างมันได้อย่างไร อยากจะฝากให้ทุกท่านช่วยกันเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างสรรค์ และปลูกฝังคนรอบข้างให้เข้าใจการเปลี่ยนแปลงไปสู่  innovation ทฤษฎียิ่งให้มากย่อมได้รับมากจำไม่ได้ว่าไปฟังจากที่ไหนค่ะ  สิ่งที่เป็นปัญหาหรืออุปสรรค
  • การบริหารที่ขาดคุณธรรม   ทำให้การได้รับความเชื่อถือ ในการทำงานระยะยาวไม่ได้ผลงานที่น่าเชื่อถือ
  • ความไม่กล้าเป็นเครื่องกั้น ความสำเร็จ
  • ขาดความสามัคคี ความร่วมมือกัน อย่างจริงจัง
  • ปัจจัยกระตุ้น, ตัวกระตุ้น ที่จะผลักดันขับเคลื่อนไปสู่เป้าหมาย
  • โครงการที่ยาวนานเกินไป ทำให้งานที่ต้องมีการลงทุนจะเห็นว่ามีค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นมาก
  • ขาดความเข้าใจความต้องการของลูกค้า

           

สุดท้ายนี้ข้าพเจ้าคิดว่าจะนำความรู้ด้านทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ในเรื่อง การทำงานในปัจจุบันในด้านการพัฒนาซอฟแวร์ใช้ในองค์กรด้านใช้ empowerment มากขึ้น และลักษณะการทำงานเป็น team ทุกคนมีส่วนในการตัดสินใจ และระหว่างหัวหน้ากับลูกน้อง จะเป็นแบบ Leader มากขึ้นค่ะ

คิดให้ปิ้ง...ทำให้จริง...กัดไม่ปล่อย...เข้าใจถึงความต้องการ

   
                 ทุกสิ่งในโลกล้วนแล้วแต่เป็นฝีมือมนุษย์ทั้งสิน  มนุษย์เป็นตัวก่อให้เกิดทุกสิ่งไม่ว่าจะเป็นปัญหา  หรือ ความสำเร็จต่างๆ  บางครั้งความสำเร็จก็มาจากความล้มเหลวได้เหมือนกัน  แต่อะไรหละที่เป็นตัวทำให้เกิดการพัฒนาในมนุษย์ได้  โดยการใช้ความรู้  ความคิดสร้างสรร ความมีคุณธรรม  ก็สามารถทำให้เกิดคุณค่ากับตัวเองและสังคมได้  เมื่อทุกสิ่งมารวมกัน  ก็เกิดความคิดสร้างสรรเป็น นวัตกรรม ขึ้น                 ดังนั้นทรัพยากรมนุษย์จึงมีบทบาทในการเปลี่ยนแปลงทุกสิ่งทุกอย่าง บนโลกได้                โดยการนำความคิดสร้างสรรนั้น ไปทำให้เกิดเป็นรูปธรรม ซึ่งต้องใช้ความรู้  การจัดการ ที่ดี ถ้าทรัพยากรมนุษย์ขาดความรู้ ขาดความสามารถ และขาดการจัดการที่ดี  ก็ไม่สามารถนำความคิดสร้างสรรเหล่านั้น  แสดงออกมาสู่สาธารณชนได้รับรู้ได้                                  ความคิดสร้างสรร (IDEA)                                                               ¯                                  ขั้นตอนการจัดการ (ACTION PLAN)                                                               ¯                                  โครงการ  (PROJECT)                             โดยการใช้ความรู้จากการศึกษา  ค้นคว้า และทดลองในสิ่งที่สร้างสรรขึ้น  โดยความรอบครอบรอบรู้ และประสพการณ์จากผู้รู้รอบๆข้าง  ที่ผ่านขบวนการคิด วิเคราะห์  พัฒนา  และกล้าทำ  กล้าเสี่ยงที่จะพบกับความล้มเหลวได้             อุปสรรคที่ทำให้ไม่ประสบความสำเร็จ    เกิดจากขาดความรู้  ความเข้าใจในสิ่งที่คิดสร้างสรรขึ้น   และสำคัญที่สุดคือ  ขาดความกล้า  ที่จะลงมือทำ และ กล้าที่จะพบกับความผิดหวัง                จากความตั้งใจตั้งแต่แรกว่า จะต้องมี BRAND  ของตัวเองให้ได้     อยากสร้าง สินค้าที่สามารถแก้ปัญหาให้กับผู้สูงอายุ  ให้สามารถดำเนินชีวิตประจำวันได้อย่างมีความสุข และ ปลอดภัยนี่คือ สิ่งที่ตั้งใจไว้   เพราะในปัจจุบันนี้  ผู้สูงอายุจะมีจำนวนมากขึ้น เพราะวิวัฒนาการในทุกๆด้านเจริญก้าวหน้าขึ้น ผู้คนอายุยืนขึ้น นอกจากสุขภาพแล้ว  ผู้สูงอายุทั้งหลายยังประสพกับการดำเนินชีวิตที่ยุ่งยาก  เช่น  จะดื่มน้ำ แต่ไม่มีแรงจะยกแก้วน้ำ  จะลุกขึ้นยืนก็ต้องใช้แรงในการดันตัวเองอย่างมาก   ดังนั้นเมื่อได้อยู่ในสาย นวัตกรรม แล้ว จะออกแบบสินค้าใดๆเพื่อตอบสนองการใช้งานของผู้สูงอายุทั้งหลายให้ได้
วีระพันธ์ รุ่งเรืองกุลดิษฐ์ - ID4914980800
เรียน     ศ.ดร.วีระ หงส์ลดารมภ์ข้าพเจ้า นาย วีระพันธ์ รุ่งเรืองกุลดิษฐ์  นักศึกษาโครงการหลักสูตรบริหาร มหาบัณฑิต สาขาการจัดการ นวัตกรรมรุ่นที่ 1 มหาวิทยาลัยรามคำแหง รหัส 4914980800             จากการที่ได้รับการสอนเรื่องทรัพยากรมนุษย์จากอาจารย์มาแล้วนั้น ข้าพเจ้าขอเสนอความคิดเห็น ดังนี้ 1.      ทรัพยากรมนุษย์มีส่วนช่วยในเรื่องนวัตกรรมอย่างไรมนุษย์เป็นทรัพยากรที่มีค่าสำหรับซึ่งสำคัญกับองค์กร ดังนั้นการที่จะทำงานต่างๆ ให้ประสบความสำเร็จได้นั้น จะต้องมีมนุษย์เป็นปัจจัยหลักทั้งสิ้น มนุษย์มีการพัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ ในหลายรูปแบบ มนุษย์เป็นคนที่น่าเชื่อถือ มนุษย์จะมีการรับรู้เกี่ยวกับตนเอง และสิ่งแวดล้อมตามประสบการณ์ของแต่ละบุคคล มนุษย์ต้องการความรักความความเอาใจใส่ และการยอมรับจากผู้อื่น ซึ่งล้วนแล้วแต่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมในด้านความคิดและการกระทำทั้งสิ้น2.      ทรัพยากรมนุษย์ช่วยในเรื่อง idea เพื่อทำให้เกิด project หรือ action plan มนุษย์ทุกคนมีความสนใจมีความคิดในการพัฒนานวัตกรรมต่างๆ ซึ่งสามารถเรียนรู้เพิ่มเติมได้ในทุกเรื่องทำให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและองค์กร แต่มนุษย์นั้นก็มีปัญหาทางความคิดหลายๆ อย่างที่แตกต่างกัน ปัญหาคือมนุษย์พยายามปรับสิ่งแวดล้อมแทนที่จะจัดการกับตัวเอง หรือแทนที่จะพึ่งตนเอง พัฒนาตนเองให้มีความสามารถ มีวุฒิภาวะเพิ่มขึ้น มนุษย์ขาดความยืดหยุ่นทางความคิดและการกระทำจนไม่ยอมรับหรือไม่สัมผัสกับสิ่งแวดล้อม มนุษย์ครุ่นคิดแต่สถานการณ์ในอดีตที่ก่อปัญหาให้กับตัวเองโดยย้ำคิด ซึ่งเป็นการเปลืองพลังงานแทนที่จะใช้พลังงานในการคิด Idea ใหม่ๆ หรือ project ต่างๆ ซึ่งหากนำการพัฒนาด้านทรัพยากรมนุษย์มาช่วยเหลือปรับปรุงการทำงานทุกๆ อย่างจะลุล่วงไปได้ด้วยดี3.      ทำอย่างไรจะทำโครงการให้ประสบความสำเร็จ และมีอุปสรรคในเรื่องทรัพยากรมนุษย์ และมีอุปสรรคอะไรที่ทำให้ไม่ประสบความสำเร็จการที่มนุษย์จะทำการสิ่งใดให้ประสบความสำเร็จ มนุษย์ยุคใหม่มีความสามารถในการพัฒนาตัวเอง รู้จักตนเองและสามารถนะจิตสำนึก จิตใต้สำนึก และจิตเหนือสำนึกที่มีอำนาจที่ยิ่งใหญ่ของคนเรานี้        และความสุขให้แก่ตนเองและผู้อื่นได้อย่างเต็มที่ แนวทางที่จะทำให้โครงการประสบความสำเร็จมีดังนี้3.1  ด้านส่วนตัว การเสริมสร้างบุคลิกภาพและความเชื่อมั่นในตนเอง การเอาชนะความกลัว ความวิตกกังวล ปมด้อยปมเด่นของคนเรา การผ่อนคลายความเครียด การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ การพัฒนาความจำ3.2  ด้านครอบครัว การเสริมสร้างเสน่ห์ในตัวเรา การช่วยคนในครอบครัว นำศักยภาพในตัวเองออกมาใช้ให้ได้มากและมีความสุข3.3  ด้านการงาน มีมนุษย์สัมพันธ์ในการทำงาน มีศิลปะของการการเป็นเจ้านายหรือลูกน้อง การปรับพฤติกรรมของตนเองและบุคคลอื่นๆ ในหน่วยงานอุปสรรคทรัพยากรมนุษย์ ควรมีทัศนคติที่ดีต่อตัวบุคคล ทัศนคติคือสภาพจิตใจ พฤติกรรม หรือความประพฤติที่แสดงออกในเรื่องหนึ่งถึงความคิดเห็นความรู้สึกอย่างมีวัตถุประสงค์ หรือจุดมุ่งหมายภายใต้ความเชื่อของตนเอง บุคคลที่มีพฤติกรรมการทำงานที่ไม่ดี ทำงานคนเดียวเก่ง ทำเป็นทีมแย่ ชอบนำบุคคลใกล้ชิดรวมถึงญาติมิตรเข้ามาร่วมงาน และไม่วางตัวเป็นกลาง ไม่ชอบแสดงความคิดเห็นในที่ประชุม แต่ชอบแสดงความคิดเห็นนอกห้อง มีความคิดสร้างสรรค์แต่ขาดการต่อเนื่อง ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ที่ดี มีความคิดกว้างไกล มีทิศทาง มีความคิดสร้างสรรค์ มีความกล้า มีพลัง มีคุณธรรมสูง ก่อให้เกิดความศรัทธาในหน่วยงาน มีวินัยในตนเอง ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงงานได้ดี4.      จะเอาความรู้เรื่องทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ให้ได้ผลดี โดยมีโครงการที่คิดว่าอยากจะทำในอนาคตผมจะนำความรู้เรื่อง HR ไปปรับปรุงงานที่ทำอยู่ในปัจจุบันทั้งทางด้าน ความคิดและการปฏิบัติตัวกับผู้ร่วมงานเพื่อให้เกิดประโยชน์กับองค์กร โดยปฏิบัติตัวเป็นแหล่งข้อมูล ผู้รับข้อมูล เป็นผู้นำ กล้ารับผิดชอบ เป็นศูนย์กลางแก้ปัญหาทั้งเล็กและใหญ่ เป็นผู้ช่วยเหลือชี้แนะใส่ใจการทำงานของลูกน้องอย่างเหมาะสม เป็นผู้มอบอำนาจแจกจ่ายงาน เป็นผู้สอนตามขั้นตอนปฏิบัติเป็นผู้กำหนดนโยบายการวางแผน กลยุทธ์ต่างๆ เช่นการนำ 4 M มาใช้ในการทำงาน คือ 1. Money 2. Material 3. Machine และ 4. Man              
นางสาวดวงแก้ว ทรัพย์ประดิษฐ์
นางสาวดวงแก้ว ทรัพย์ประดิษฐ์  รหัส 4914980922  MBA innovation (Section II) 1) HRM มีส่วนช่วยส่งเสริมในเรื่องนวัตกรรมอย่างไรต้องยอมรับอย่างหนึ่งว่า การแข่งขันกันทางธุรกิจในปัจจุบัน องค์กรที่พร้อมสำหรับการเปลี่ยนแปลงไปตามเทคโนโลยีแบบใหม่ หรือแม้แต่กระแสความแรงใหม่ ๆ ย่อมมีโอกาสหรือ ความได้เปรียบเหนือชั้นมากกว่าองค์กรที่หยุดอยู่กับที่ ไม่มีการพัฒนาไปตามโลกที่หมุนอยู่ตลอดเวลา ซึ่ง Human Resource Management (HRM) นับว่าเป็นสิ่งสำคัญอย่างหนึ่งในการทำให้องค์กรสามารถปรับตัวเปลี่ยนแปลงหรือคิดค้นสิ่งใหม่ ๆ ได้นั้นอย่างมีระบบ และมีประสิทธิภาพมากขึ้น เนื่องจากในองค์กรหนึ่ง ๆ ประกอบไปด้วย บุคคลากรที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องความรู้ ความคิด ความสามารถ หรือแม้แต่ กระทั่งเชื้อชาติ หรือ ศาสนาก็ตาม ซึ่ง HRM ที่ดีจะมีส่วนช่วยในการ เสริมสร้างองค์ความรู้ให้แก่องค์กร ปรับฐานความรู้ ความสามารถ ช่วยให้เกิดกระบวนการคิดที่เป็นระบบ อีกทั้งยังเป็นส่วนสำคัญในปลูกฝัง การวางรากฐานขององค์กรให้มี Innovation Culture เพื่อให้พนักงานมี Mind set และมีจุดมุ่งหมายเดียวกัน 2) HRM มีส่วนช่วยในการนำ Idea ใหม่ ๆ ให้เกิด Project หรือ Action plan ได้อย่างไรการบริหารทรัพยากรมนุษย์มีส่วนช่วยในการพัฒนาความรู้ความสามารถของบุคลากรในองค์กรนั้นๆ เมื่อบุคลากรได้รับการฝึกฝนอบรมแล้ว จะทำให้เกิดความสามารถที่มากขึ้นและวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล สามารถใช้ความรู้ความสารถในการแก้ปัญหาและประยุกต์สิ่งที่มีอยู่ให้พัฒนามากยิ่งขึ้น หรือกระทั่งคิดริเริ่มในสิ่งใหม่ 3) ทำอย่างไรจะทำให้ Project เหล่านั้น Success และมีอุปสรรคในเรื่อง HRM อย่างไรบ้างการจะทำให้ Project หรือ Idea เหล่านั้นสำเร็จขึ้นได้ HRM มีส่วนช่วย ดังนี้-         สร้างเสริม และปลูกฝัง Innovation culture ให้องค์กร เพื่อให้ทุกคนพูดภาษาเดียวกันและไปสู่จุดมุ่งหมายเดียวกัน-         ส่งเสริมให้องค์กรเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ร่วมถึงพัฒนากระวนการคิดอย่างมีระบบให้แก่องค์กร-         ส่งเสริมบุคคลากรทุกคนขององค์กรมีการปรึกษาหารือและสามารถแสดงความคิดเห็น รวมถึงถกเถียงในลักษณะ brainstorming เพื่อหากระบวนการที่จะได้มาซึ่งความสำเร็จในแต่ละโครงการ และเพื่อให้เกิดแนวความคิดใหม่ ๆ-         Reward นับเป็นสิ่งสำคัญอีกอย่างหนึ่ง อีกทั้งมีการสร้างขวัญและกำลังใจ เมื่อความสำเร็จปรากฏ เพื่อจะได้เป็นผลในเชิงบวก สำหรับงานต่อๆไป-         มีการทบทวนข้อผิดพลาดจากงานที่ผ่านมา เพื่อปรับปรุงพัฒนางานปัจจุบัน และในอนาคต-         Communication นับเป็นอีกสิ่งหนึ่งที่ช่วยให้องค์กรสื่อสารเป็นภาษาเดียวกัน และเข้าใจตรงกัน

อุปสรรคในเรื่องของ HRM ที่ทำให้โครงการไม่ประสบความสำเร็จ

-         การมี Policy ที่ไม่ชัดเจน ทำให้องค์กรคลุมเครือ ไม่มีทิศทางไปที่แน่นอน บุคลากรก็ไม่สามารถทำงานได้อย่างเต็มที่-         องค์กรขาดซึ่งแรงสนับสนุวจากฝ่ายบริหาร การที่ฝ่ายบริหารไม่สนับสนุน ไม่สนใจ ไม่เอาใจใส่ ซึ่งทำให้บุคคลากรในระดับล่างลงมา ไม่กล้า ไม่สามารถที่จะทำได้อย่างเต็มที่เช่นกัน-         แผนการพัฒนาบุคคลากรไม่เป็นตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ-         พนักงานมีทัศนคติที่เป็นแง่ลบกับองค์กร หรือแนวทางที่องค์กรกำลังจะก้าวไปสู่-         บุคคลากรไม่ได้รับการพัฒนาความรู้ ความสามารถอย่างเต็มที่ 4) การนำเอาความรู้เรื่อง HR ไปใช้ให้ได้ผลจริงๆหรือทำโครงการในรูปธรรมได้อย่างไรสิ่งที่สำคัญที่สุดในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ คือการพัฒนาความรู้และศักยภาพของบุคลากร แรกสุดจะต้องเข้าใจในรายละเอียดของงานในแต่ละบุคคล จึงจะเริ่มแผนพัฒนาได้ สิ่งสำคัญอีกสิ่งที่ไม่ด้อยไปกว่ากัน คือการพัฒนาในแง่จิตใจ และทัศนคติของบุคลากร ซึ่งสิ่งเหล่านี้มีผลกระทบโดยตรงกับการปฏิบัติงาน หากพนักงานมีความรู้สึกหรือทัศนคติที่ไม่ดีต่อองค์กร หรือเพื่อนร่วมงานแล้ว ผลงานที่ได้ออกมา จะไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ เพราะฉะนั้นการพัฒนาที่เป็นรูปธรรมในองค์กร สามารถทำได้หลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นการฝึกอบรมทั้งที่เกี่ยวข้องกับงานโดยตรง หรือการฝึกอบรมในแง่ของอุปนิสัย (เช่น การทำงานอย่างปลอดภัย) การทำกิจกรรมร่วมกันของบุคลากรทั้งองค์กร (เช่น กิจกรรม Team Building หรือ การจัดกิจกรรม ทัศนาจรเพื่อสร้างปฏิสัมพันธ์ ระหว่างตัวบุคลากร และหัวหน้างาน)  
นางสาวชนิดา มานะกิจ
นางสาวชนิดา มานะกิจ   รหัสประจำตัว 4914980289 MBA-Innovation / RU  เรียน ศ.ดร. จีระ หงส์ลดารมภ์ และคณะ  ดิฉันขอแสดงความคิดเห็นในเรื่อง HR กับ Innovation ดังต่อไปนี้ค่ะ  1.       ทรัพยากรมนุษย์มีส่วนช่วยเหลือด้านนวัตกรรมอย่างไร  ในอดีตที่ผ่านมา ฝ่ายบริหารทรัพยากรมนุษย์นั้นมักจะถูกมองว่า เป็นแค่หน่วยงานที่สนับสนุนองค์กร เป็นหน่วยงานที่ทำให้เกิดต้นทุน (Cost Center) และไม่ได้เป็นส่วนที่สร้างกำไรให้แก่องค์กร แต่มุมมองเหล่านั้นถูกปรับเปลี่ยนไปอย่างสิ้นเชิง เมื่อเราก้าวเข้าสู่โลกปัจจุบันซึ่งเต็มไปด้วยการแข่งขัน คงไม่มีใครปฏิเสธได้ว่า มนุษย์ คือสิ่งที่สำคัญที่สุดขององค์กร และถือเป็นแรงขับเคลื่อนที่ทรงพลังมากที่สุดที่จะนำให้องค์กรก้าวไปสู่เป้าหมายที่ตั้งไว้ได้  จากคำถาม - ทำให้เราต้องมองย้อนกลับไปตั้งแต่ตอนที่ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์สรรหาคนเข้ามาทำงาน  ให้คนที่มีความรู้ความสามารถได้ทำงานในตำแหน่งที่เหมาะสม ให้การฝึกอบรม เพิ่มพูนความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการทำงานให้อยู่เสมอ มีสวัสดิการที่ดี รวมถึงการสร้างบรรยากาศที่ดีในการทำงาน และเมื่อมนุษย์เราได้รับการพัฒนาทักษะความรู้อย่างต่อเนื่อง ก็ย่อมจะก่อให้เกิดแนวความคิดใหม่ๆ  กระบวนการทำงานใหม่ๆ (New Business Process) ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อองค์กร, สังคม และประเทศชาติตามมา ดังนั้นจะเห็นได้ว่า ความต่อเนื่องในทุกกระบวนการของการจัดการทรัพยากรมนุษย์มีช่วยเข้าไปเติมเต็มในการก่อให้เกิดนวัตกรรม และพัฒนาต่อไปให้สามารถนำไปใช้งานได้จริง  2.       ทรัพยากรมนุษย์มีส่วนช่วยในการทำให้เกิด project หรือ action plan ได้อย่างไร  ในการที่จะช่วยผลักดันให้เกิด Action Plan นั้น ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ควรแบ่งบทบาทของตนออกเป็น 3 อย่างคือ บทบาทแรก: ผู้ปฏิบัติงานมืออาชีพ (Professional Practitioner) คือ ทำหน้าที่เป็นผู้ปฏิบัติงานในด้านต่างๆ ของการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร เช่น การสรรหา การจัดอบรม การบริหารค่าตอบแทน โดยงานที่ทำทุกงานนั้นจะต้องมีมาตรฐาน (Standard) มีกระบวนการทำงาน (Process) และวิธีปฏิบัติงาน (Work Instruction) ที่ครบถ้วนและแน่นอน ไม่มีการใช้ความรู้สึก ความสนิทสนมส่วนตัวเข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจ และรวมถึงการที่จะนำเอาเทคโนโลยีมาใช้เพื่อปรับปรุงให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงานเพิ่มมากขึ้นด้วย บทบาทที่สอง: ต้องเป็นผู้ให้คำปรึกษา (Counselor) แก่พนักงานในทุกระดับ เพื่อทำให้เกิดความไว้วางใจและเกิดศรัทธา และที่สำคัญต้องเป็นผู้สนับสนุน (Supporter) ให้เกิดการพัฒนาในด้านต่างๆ ตามความต้องการองค์กร โดยผ่านการฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรทุกระดับเพื่อให้องค์กรก้าวไปสู้การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะมาซึ่งการเกิดนวัตกรรมในที่สุด บทบาทที่สาม: เป็นผู้มีส่วนร่วมในการกำหนดกลยุทธ์ทางธุรกิจขององค์กร (Business Strategy) ซึ่งนั่นหมายถึงการที่ HR จะได้เข้าไปมีบทบาทร่วมรับรู้ และแสดงความคิดเห็นต่อกลยุทธ์ทางธุรกิจขององค์กร ทำให้ทราบถึงความต้องการอย่างแท้จริงว่า องค์กรต้องการพัฒนาไปในด้านใด ให้ความสำคัญกับสิ่งใด เพื่อจะได้เตรียมหาแนวทางและกลยุทธ์ที่จะรับมือกับสิ่งที่จะเกิดขึ้นได้อย่างถูกต้อง  3.       ทำอย่างไรให้ Action Plan นั้นประสบความสำเร็จ และอุปสรรคมีอะไรบ้าง? สิ่งสำคัญที่จะทำให้โครงการประสบความสำเร็จได้คือ ความกล้าเสี่ยงและกล้าลงทุนของผู้บริหาร และรวมถึงความร่วมมือและทุ่มเทแรงกายแรงใจของคนในองค์กร หากผู้บริหารยังลังเลและกลัวที่จะประสบความล้มเหลวอยู่ โครงการต่างๆ คงไม่สามารถเกิดขึ้นได้ และการที่โครงการนั้นจะประสบความสำเร็จหรือไม่ ย่อมขึ้นอยู่กับบุคลากรในองค์กรเป็นสำคัญ อุปสรรคที่อาจเกิดขึ้น คือ การขาดความร่วมมือและการขาดความเข้าใจที่ถูกต้องของการทำโครงการ ซึ่งจะส่งผลถึงแนวทางการปฏิบัติงานของคนในองค์กรอย่างเห็นได้ชัด รวมถึงการขาดการสนับสนุนอย่างจริงจังต่อเนื่อง ในส่วนนี้ทั้งผู้บริหารและ HR ควรเป็นผู้รับผิดชอบที่จะช่วยผลักดันโครงการตั้งแต่เริ่มต้นจนจบ  4.       จะนำความรู้เรื่องการจัดการทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ให้ได้ผลจริงหรือก่อให้เกิดโครงการที่เป็นรูปธรรมได้ในเรื่องใด เริ่มแรกคงจะต้องนำมาประยุกต์ใช้กับงานที่ทำอยู่ในปัจจุบัน อาจมีการปรับเปลี่ยนหรือหาวิธีการทำงานใหม่ๆ ให้คนในองค์กรกล้าแสดงความคิดเห็นมากกว่าที่เป็นอยู่ เพื่อเป็นหนทางที่จะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่ดีกว่า และสำหรับในตัวสินค้า เราก็ควรจะหากลยุทธ์ในการนำเสนอที่แตกต่างจากเดิมเพื่อดึงดูดลูกค้าให้สนใจในผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ มากขึ้น เช่น นำเสนอในแง่ของการเป็นสินค้าเพื่อสุขภาพ  แทนที่จะนำเสนอภาพลักษณ์เดิมของสินค้านั้นๆ ว่าเป็นสินค้าที่เหมาะสำหรับลูกค้าระดับ high end เท่านั้น  
นายภาคภูมิ มานิตย์ รหัส 4914981360 (RU:MBA Innovation)
ทรัพยากรมนุษย์ คือ ทุนที่สำคัญยิ่งสำหรับองค์กรทุกขนาด ถ้าไม่ดี มีไม่เพียงพอ มีมากเกินไป ก็จะทำให้องค์นั้นๆ อยู่ไม่รอด ถ้าคนไม่ดี ไม่เก่ง หรือไม่รักสามัคคี อยู่รวมกันมากๆ ก็จะทำให้องค์กรนั้นๆ สะกดคำว่า Innovation ไม่เป็น นักศึกษาปริญญาโท มหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขา MBA Innovation Sec II รุ่นที่ 1 นายภาคภูมิ มานิตย์ รหัส 4914981360 Mobile: 081-9123468ทำงานที่ Kohler (Thailand) PCL; Ceramic Sanitary ware Products (Kohler & Karat Brand) ก่อนอื่นนักศึกษาทุกคนต้องขอขอบคุณท่าน .ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์ Guru ทางด้าน HR &Innovation (ซึ่งต่อไปผมขอนุญาติแทนชื่อและตำแหน่งของท่านด้วย คำว่า อาจารย์คำสั้นๆ แต่ให้ความหมายที่ลึกซึ้ง ดังคำกล่าวที่ว่าให้ความรู้กันเพียงนิด แต่สายสัมพันธ์ลูกศิษย์และอาจารย์จะคงอยู่ตลอดไป”), อาจารย์ยม และทีมงานของท่าน ที่ได้สละเวลาอันมีค่าของท่านมาให้ความรู้อันมีค่ายิ่งและยังเปิดโลกทัศน์ใหม่ๆ ในเรื่องของ HR Innovation และยังกระตุ้นให้พวกเรา (MBA Innovation มหาวิทยาลัยรามคำแหง) ให้กล้าคิด กล้าแสดงออก ถึงแม้ว่าตอนช่วงเริ่มต้น Class พวกเราอาจจะตกใจหรืองุนงง ถึงวิธีการสอนของอาจารย์ แต่หลังจากนั้นเราก็เรียนกันอย่างสนุกสนาน และเริ่มมีความกล้าในการคิดแสดงออกกันมากขึ้น ถึงขั้นแย่งกันออกความคิดเ็ห็นกันเลยที่เดียว  ก่อนอื่นผมขอเขียน Diagram ง่าย เพื่อแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง HR และ Innovation ดังนี้  H1: การหาคนเก่ง คนดี รักสามัคคี                                                              I1: Products  H2: การพัฒนาคน ความรู้ใหม่ ส่งเสริม     ß  HR ßà Innovation à      I2: Service H3: การรักษาคนเก่ง คนดี ให้อยู่นานๆ                                                         I3: HR Innovation  จาก Diagram ด้านบนจะเห็นได้ว่า HR และ Innovation นั้นมันเชื่อมโยงกันอยู่ มีความสัมพันธ์เกื้อหนุนกันอยู่ เหมือนคำถามที่ตอบได้ยากยิ่ง ไก่กับไข่ใครเกิดก่อนกัน (ซึ่งทางนักวิทยาศาสตร์ทั้งฝั่งตะวันตก และตะวันออก ก็ทำวิจัยกันเรื่องนี้อยู่ ซึ่งผลออกมาคร่าวๆ คือคำตอบไม่เหมือนกัน) ฉะนั้น HR & Innovation ก็เช่นกัน คือ ถ้าไม่มี HR แล้ว Innovation ก็ไม่เกิด แต่ถ้าไม่มี Innovation ก็จะไม่เกิดการพัฒนาด้าน HR เช่นกัน ต่อไปคำว่า HR Innovationก็เริ่มจะคุ้นหูเรามากขึ้นและแยกกันไม่ออกเลยทีเดียว ในการจะตอบคำถามสามข้อแรกนั้น ผมขอสรุปสั้นไว้ดังนี้ การที่เราจะหาความคิดใหม่ๆ แลัวนำความคิดใหม่นั้นมาทำให้เกิดเป็นรูปธรรม และประสบความสำเร็จอย่างยั่งยืนนั้น เราต้องมี  3 กล้า คือ 1. กล้าคิด คือ กล้าที่จะคิดอะไรนอกกรอบ โดยต้องคิดอย่างมีระบบ Systematic Thinking มี Logic ไม่เพ้อฝันหรือจินตนาการมากเกินไป เพื่อคิดสิ่งใหม่ๆ โดยเอาความรู้และความคิดสร้างสรรคที่มีอยู่แล้วมาประสมประสานใหม่ ผ่านกระบวนการต่างๆ เพื่อให้ได้มาซึ่ง Innovation Concept โดยความคิดนั้นจะต้องไม่ผิดจริยธรรมและไม่สร้างความแตกแยกให้เกิดขึ้นในสังคมและระบบเศษฐกิจของชาติ 2. กล้าทำ คือ กล้าที่จะลงมือทำ (Get Things done) เพื่อให้ความคิดใหม่นั้น เกิดเป็นรูปธรรม (Action Plan, Project) กล้าที่จะทำอะไรที่แตกต่างไปจากเดิม แต่ไม่ผิดจริยธรรม ไม่ยึดติดกับวิธีการเดิมที่ไม่ได้ผลดังคำกล่าวที่ว่า ถ้าเราไม่เริ่มก้าวแลัวจะไปสู่จุดหมายได้อย่างไร และที่สำคัญต้องเริ่มที่ตัวเราก่อนเสมอ ถ้าเราอยากให้เกิดการเปลี่ยนเราก็ต้องเป็นผู้่นำในการเปลี่ยนแปลงนั้น  3. กล้ารับผิดชอบ คือ กล้าที่จะยอมรับกับความล้มเหลว ความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น โดยไม่โยนความผิดไปให้คนอื่น ไม่ใช่เอาดีเข้าตัว เอาชั่วให้คนอื่น กล้ารับฟังความคิดเห็นของคนอื่น กล้ารับคำติชม วิจารณ์ จากคนอื่นอย่างเต็มใจ และยินดีที่จะนำมาปรับปรุงตนเองให้ดีขึ้นเรื่อยๆ ไป เรามาเข้าสู่คำถามใน Class กันดีกว่าครับ ที่ว่า HR ช่วยเหลือ Innovation ใน 3 stage ได้อย่างไร 1. HR ช่วยให้เกิดความคิดใหม่ๆ (Ideal) ได้อย่างไรโดย HR จะรับคนดี คนเก่ง คนที่ก่อให้เกิดความสามัคคี เข้ามาในองค์กร เพื่อนำคนที่มีอยู่และคนใหม่ที่เข้ามาพัฒนาในด้านความคิด ความรู้ สิ่งใหม่ ให้เกิด paradigm shift และ HR จะต้องทำ Cultural Change โดยเปลี่ยนจากเดิมไปสู่ ทฤษฎี 4 L‘s คือเขาใจวิธีการเรียนรู้ มีบรรยากาศที่ดี ได้โอกาส และสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ ซึ่งจะนำไปสู่การสร้าง Innovation Culture ให้เกิดกับองค์กร โดยจะต้องมีจริยธรรมควบคู่ไปด้วย และจะต้องเกิด Relationship ซึ่งแปลว่า ความสัมพันธ์ระหว่าง HR กับพนักงานหัวหน้ากับลูกน้องไม่ใช่แค่การทำงานเพียงอย่างเดียว แต่เป็นความสัมพันธ์เชิงครอบครัว อบอุ่น คือ การเชื่อใจซึ่งกันและกัน (Trust) และเกิดการ share ความรู้ระหว่างกัน เพื่อรักษาให้พนักงานอยู่กับองค์กรนานๆ (Loyalty)  สุดท้ายต้องสร้าง Role Model ทาง Innovation ซึ่งอาจจะประกอบด้วยคุณสมบัติดังนี้ - ความอดทน และอดกลั้น - ความสุภาพ โดยการใช้คำพูดที่สุภาพ - ความดี - คุณธรรม จริยธรรม - การหาความรู้อย่างต่อเนื่อง - การมีสุขภาพจิต และร่างกายที่แข็งแรง โดย Role model ต้องมีทฤษฎี 2 I's (ทฤษฏีใหม่ของอาจารย์) อยู่ีในใจด้วยเสมอ - I แรกคือ Inspiration คือการเรียนรู้ยุคใหม่ พนักงานต้องถูกกระตุ้นจุดประกายให้เกิดความสุข และ Happy ที่ถูกกระตุ้นให้ไปสู่ความเป็นเลิศ โดยการคิดสร้างสรรค์และคิดนอกกรอบ- I ที่สองคือ Imagination เพราะ ไอน์สไตน์ (Einstein) ได้พูดไว้เลยว่า "Knowledge สู้ Imagination ไม่ได้ เพราะคนไทยปัจจุบันไม่ชอบมีจินตนาการ เราเรียนแบบท่องจำ จึงเกิด Innovation ได้ น้อย  2. HR ช่วยทำให้ความคิดใหม่นั้น เกิดเป็นรูปธรรม (Action Plan, Project) ได้อย่างไรจากข้อแรกจะเห็นได้ว่า HR ได้ส้ราง Learning Organization ขึ้นมาในองค์กร ซึ่งจะประกอบไปด้วย2.1 วัฒนธรรมขององค์การ กล่าวคือพนักงาน หัวหน้างาน ลูกน้องจะต้องดูแลช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีผลประโยชน์ร่วมกัน และทุกคนต้องพร้อมรับความเปลี่ยนแปลง ตลอดเวลาไม่คงที่เหมือนเดิม2.2 รูปแบบองค์การ จะต้องเป็นแบบไร้พรมแดนไม่มีกำแพงมาขวางกั้นแต่ละแผนก หรือบุคคล สามารถทำงานเป็นทีม มีแรงงานหลากหลาย และเน้นย้ำความสำคัญของลูกค้าและพนักงานมากกว่าผลกำไร2.3 ภาวะผู้นำในองค์การ มีการกระจายอำนาจไม่อยู่ที่คนคนเดียว มอบอำนาจเ็บ็ดเสร็จ (Empowerment) ให้กับพนักงาน ยอมรับคำนิยมร่วมกัน (Corporate Value) มีความคล่องตัวในการปรับเปลี่ยนรูปแบบการบริหาร และบริหารงานโดยยึดหลัก Knowledge Management2.4 ระบบสารสนเทศ จะต้องมีเทคโนโลยีในการสื่อสาร การกระจายข้อมูล (Information Technology) ที่ดี พร้อมใช้เมื่อต้องการ มีความแม่นยำของข้อมูลและเปิดเผย โปร่งใส จากผลลัพธ์ที่เราได้จาก HR ข้างต้น บวกกับเงินทุนสนับสนุน ก็สามารถทำให้เรานำความคิดใหม่นั้นมาทำให้เกิดเป็นรูปธรรม (project, Action plan) และมีการใช้ Motivation Program อย่างเหมาะสมและการที่เราจะทำให้เกิด Innovation ได้นั้น เราต้องทำตามขั้นตอนอย่างเป็นระบบดังนี้ Part I: Leading the People who make Innovation Happen คือ จัดกลุ่มคนที่เป็น Innovators นำมาสร้างให้เป็นผู้นำ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการทำงานให้สัมฤทธิผล และสร้างบรรยากาศที่ดีในการทำงานPart II: Creating the Culture an Environment that Encourages Innovation คือเราต้องสร้างวัฒนธรรมสำหรับ Innovation โดยหลีกเลี่ยงการบริหารงานแบบเดิม สร้างองค์การให้เป็นมิตรกับ Innovation และมีการกระตุ้นหรือผลักดันเพื่อให้เกิด InnovationPart III: Changing How You Think about Leadership & Innovation คือการเปลี่ยนการจัดการใหม่ เพื่อให้เกิด Innovation รองรับและสร้างโอกาสเพื่อ Innovation และกำหนด Vision, Strategy และ Values ให้ชัดเจน เพื่อมุ่งมั่นไปสู่การทำให้เกิด Innovation ในองค์กรPart IV: The Practice of Innovation หลังจากที่เราเปลี่ยนแนวคิด สร้างวัฒนธรรม สร้างคน สร้างบรรยากาศในการทำ Innovation แล้ว ก็ต้องมีการฝึกฝน ทดลองทำ เพื่อให้มีประสบการณ์ มีความชำนาญ และเห็นแนวทางในการทำให้ innovation เกิดขึ้นในองค์การ  3. HR ช่วยทำให้ Action Plan, Project นั้นประสบความสำเร็จได้อย่างไร และอุปสรรคใน HR ที่จะทำให้ไม่ประสบความสำเร็จมีอะไรบ้าง  ส่งเสริมผลสำเร็จในการจะทำให้ธุรกิจใดประสบผลสำเร็จและยั่งยืนนั้น เราต้องไม่ลืมหลักพิ้นฐานทางการตลาด คือ 4 P’s
  1. Pricing ต้องตั้งราคาให้เหมาะสม ไม่เอาเปรียบผู้บริโภคจนเกินไป เน้น Long term margin
  2. Product สร้างผลิตภัณฑ์ให้ตรงตามความต้องการของผู้บริโภค โดยมีคุณภาพที่เหมาะสม
  3. Physical Distribution  ต้องกระจายสินค้าได้ทั่วถึง ตรงตามความต้องการของ วางสินค้าให้ตรง
  4. Promotion ต้องมีการส่งเสริมการตลาดให้ตรงกลุ่มเป้าหมาย และไม่โฆษณาเกินจริง
 โดย HR จะเข้ามีบทบาทอย่างมากในการจะทำโครงการให้สำเร็จ ซึ่งต้องมี ทุนตามหลัก ทฤษฎี 5 K’s ใหม่ ดังนี้
  1. Innovation Capital
  2. Knowledge Capital
  3. Cultural Capital
  4. Emotional Capital
  5. Creativity Capital
 และต้องรู้และแสวงหาโอกาสและลดความเสี่ยงจาก Globalization เพื่อขยายและต่อยอดทางธุรกิจ สุดท้ายเราต้องสร้าง Brand สัญชาติไทยให้รู้จักกันทั่วโลก อุปสรรคแน่นอนคือ ทฤษฎี 4 C’s+G
  1. Cultural Change การไม่ชอบการเปลี่ยนแปลง ทำให้องค์กรล้าหลังและถูก โลกไร้พรมแดนเล่นงาน
  2. Customer Base การผลิตที่ไม่้ได้สนใจลูกค้า หรือตลาด ทำให้ผลิตภัณฑ์ไม่ได้รับการตอบรับ
  3. Command Control มีแต่คนสั่งและควบคุม ไม่มีคนคิดและคนทำ  ทำให้โครงการหยุดชะงัก
  4. Competition การแข่งขันและคู่แข่งที่เปลี่ยนตัวเองได้ทันตามยุด IT ถ้าเราช้าก็จะล้าหลังทันที
  5. Globalization  การเปิดเสรีทางการค้าในโลกไร้พรมแดน ทำให้ไ่ม่มีกำแพงขวางกั้น ใครจะมาก็มา
 และยังมีการลงทุนแบบไม่ต่อเนื่อง หรือการที่เราเป็นสังคมพูดข้างเดียว ไม่ได้ให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการ Share ความคิดเห็นและบูรณาการเข้าหากัน ก็จะทำให้โครงการนั้นล้มเหลวได้โดยง่าย      4. โครงการนวตกรรมที่อยากทำ เรื่องอะไร และทำไมถึงอยากทำเรื่องนี้โครงการนวตกรรมที่อยากทำคือ Refreshing Spa & Massage in Factory เพราะว่าในอุตสาหรรมการผลิตหรือ Office นั้นทุกคนทำงานกันต่อเนื่อง อย่างน้อยแปดชั่วโมงหรือมากกว่า 12 ชั่วโมง บางคนใช้แรงกาย ใช้สมองในการคิด ใช้สายตากับหน้า Computer มากเกินไป ทำใ้ห้เหนื่อย เมื่อย ล้า ซึ่งผิดหลัก Ergonomic และทำให้สุขภาพกายและใจของพนักงานไม่ดี ส่งผลต่อการทำงานและการดำรงชีวิต ดังนั้นผมจึงอยากจะทำรีเฟรชสปาย่อยๆ ในโรงานหรือสำนักงาน ให้บริการกับพนักงาน ในราคาที่ย่อมเยาว์ โดยใส่ใจในเรื่องของสุขภาพกายและจิต โดยเสริมความรู้ในเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวกับการทำงาน ข้อคิดต่างๆ เช่น เรื่องเกี่ยวกับ HR สุืดท้ายนี้ต้องขอขอบคุณทุกท่านที่สละเวลาในการอ่าน Blog นี้ หวังว่าจะเป็นประะโยชน์แก่ท่านไม่มากก็น้อย  
นายวีระพันธ์ รุ่งเรืองกุลดิษฐ์ - ID4914980800

**เนื่องจากส่งครั้งแรก format ไม่เรียบร้อยจึงส่งใหม่อีกครั้งครับ** 

เรียน     ศ.ดร.วีระ หงส์ลดารมภ์

ข้าพเจ้า นาย วีระพันธ์ รุ่งเรืองกุลดิษฐ์  นักศึกษาโครงการหลักสูตรบริหาร มหาบัณฑิต สาขาการจัดการ นวัตกรรมรุ่นที่ 1 มหาวิทยาลัยรามคำแหง รหัส 4914980800

              จากการที่ได้รับการสอนเรื่องทรัพยากรมนุษย์จากอาจารย์มาแล้วนั้น ข้าพเจ้าขอเสนอความคิดเห็น ดังนี้ 1.      ทรัพยากรมนุษย์มีส่วนช่วยในเรื่องนวัตกรรมอย่างไร

มนุษย์เป็นทรัพยากรที่มีค่าสำหรับซึ่งสำคัญกับองค์กร ดังนั้นการที่จะทำงานต่างๆ ให้ประสบความสำเร็จได้นั้น จะต้องมีมนุษย์เป็นปัจจัยหลักทั้งสิ้น มนุษย์มีการพัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ ในหลายรูปแบบ มนุษย์เป็นคนที่น่าเชื่อถือ มนุษย์จะมีการรับรู้เกี่ยวกับตนเอง และสิ่งแวดล้อมตามประสบการณ์ของแต่ละบุคคล มนุษย์ต้องการความรักความความเอาใจใส่ และการยอมรับจากผู้อื่น ซึ่งล้วนแล้วแต่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมในด้านความคิดและการกระทำทั้งสิ้น

 

2.      ทรัพยากรมนุษย์ช่วยในเรื่อง idea เพื่อทำให้เกิด project หรือ action plan มนุษย์ทุกคนมีความสนใจมีความคิดในการพัฒนานวัตกรรมต่างๆ ซึ่งสามารถเรียนรู้เพิ่มเติมได้ในทุกเรื่องทำให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและองค์กร แต่มนุษย์นั้นก็มีปัญหาทางความคิดหลายๆ อย่างที่แตกต่างกัน ปัญหาคือมนุษย์พยายามปรับสิ่งแวดล้อมแทนที่จะจัดการกับตัวเอง หรือแทนที่จะพึ่งตนเอง พัฒนาตนเองให้มีความสามารถ มีวุฒิภาวะเพิ่มขึ้น มนุษย์ขาดความยืดหยุ่นทางความคิดและการกระทำจนไม่ยอมรับหรือไม่สัมผัสกับสิ่งแวดล้อม มนุษย์ครุ่นคิดแต่สถานการณ์ในอดีตที่ก่อปัญหาให้กับตัวเองโดยย้ำคิด ซึ่งเป็นการเปลืองพลังงานแทนที่จะใช้พลังงานในการคิด Idea ใหม่ๆ หรือ project ต่างๆ ซึ่งหากนำการพัฒนาด้านทรัพยากรมนุษย์มาช่วยเหลือปรับปรุงการทำงานทุกๆ อย่างจะลุล่วงไปได้ด้วยดี

 3.      ทำอย่างไรจะทำโครงการให้ประสบความสำเร็จ และมีอุปสรรคในเรื่องทรัพยากรมนุษย์ และมีอุปสรรคอะไรที่ทำให้ไม่ประสบความสำเร็จการที่มนุษย์จะทำการสิ่งใดให้ประสบความสำเร็จ มนุษย์ยุคใหม่มีความสามารถในการพัฒนาตัวเอง รู้จักตนเองและสามารถนะจิตสำนึก จิตใต้สำนึก และจิตเหนือสำนึกที่มีอำนาจที่ยิ่งใหญ่ของคนเรานี้        และความสุขให้แก่ตนเองและผู้อื่นได้อย่างเต็มที่

แนวทางที่จะทำให้โครงการประสบความสำเร็จมีดังนี้

 

3.1  ด้านส่วนตัว การเสริมสร้างบุคลิกภาพและความเชื่อมั่นในตนเอง การเอาชนะความกลัว ความวิตกกังวล ปมด้อยปมเด่นของคนเรา การผ่อนคลายความเครียด การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ การพัฒนาความจำ

 

3.2  ด้านครอบครัว การเสริมสร้างเสน่ห์ในตัวเรา การช่วยคนในครอบครัว นำศักยภาพในตัวเองออกมาใช้ให้ได้มากและมีความสุข

 

3.3  ด้านการงาน มีมนุษย์สัมพันธ์ในการทำงาน มีศิลปะของการการเป็นเจ้านายหรือลูกน้อง การปรับพฤติกรรมของตนเองและบุคคลอื่นๆ ในหน่วยงาน

 อุปสรรคทรัพยากรมนุษย์ ควรมีทัศนคติที่ดีต่อตัวบุคคล ทัศนคติคือสภาพจิตใจ พฤติกรรม หรือความประพฤติที่แสดงออกในเรื่องหนึ่งถึงความคิดเห็นความรู้สึกอย่างมีวัตถุประสงค์ หรือจุดมุ่งหมายภายใต้ความเชื่อของตนเอง บุคคลที่มีพฤติกรรมการทำงานที่ไม่ดี ทำงานคนเดียวเก่ง ทำเป็นทีมแย่ ชอบนำบุคคลใกล้ชิดรวมถึงญาติมิตรเข้ามาร่วมงาน และไม่วางตัวเป็นกลาง ไม่ชอบแสดงความคิดเห็นในที่ประชุม แต่ชอบแสดงความคิดเห็นนอกห้อง มีความคิดสร้างสรรค์แต่ขาดการต่อเนื่อง

ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ที่ดี มีความคิดกว้างไกล มีทิศทาง มีความคิดสร้างสรรค์ มีความกล้า มีพลัง มีคุณธรรมสูง ก่อให้เกิดความศรัทธาในหน่วยงาน มีวินัยในตนเอง ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงงานได้ดี

 4.      จะเอาความรู้เรื่องทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ให้ได้ผลดี โดยมีโครงการที่คิดว่าอยากจะทำในอนาคตผมจะนำความรู้เรื่อง HR ไปปรับปรุงงานที่ทำอยู่ในปัจจุบันทั้งทางด้าน ความคิดและการปฏิบัติตัวกับผู้ร่วมงานเพื่อให้เกิดประโยชน์กับองค์กร โดยปฏิบัติตัวเป็นแหล่งข้อมูล ผู้รับข้อมูล เป็นผู้นำ กล้ารับผิดชอบ เป็นศูนย์กลางแก้ปัญหาทั้งเล็กและใหญ่ เป็นผู้ช่วยเหลือชี้แนะใส่ใจการทำงานของลูกน้องอย่างเหมาะสม เป็นผู้มอบอำนาจแจกจ่ายงาน เป็นผู้สอนตามขั้นตอนปฏิบัติเป็นผู้กำหนดนโยบายการวางแผน กลยุทธ์ต่างๆ เช่นการนำ 4 M มาใช้ในการทำงาน คือ 1. Money 2. Material 3. Machine และ 4. Man              

 

นาย กู้ศักดิ์ ไทยวัฒนาพร
เรียน ศ.ดร. จีระ หงส์ลดารมภ์นายกู้ศักดิ์  ไทยวัฒนาพร  รหัสประจำตัว         4914981263นวัตกรรม (Innovation) มีรากศัพท์มาจาก innovare ในภาษาลาติน แปลว่า ทำสิ่งใหม่ขึ้นมา ความหมายในเชิงนวัตกรรมในเชิงเศรษฐศาสตร์คือ การนำแนวความคิดใหม่หรือการใช้ประโยชน์จากสิ่งที่มีอยู่แล้วมาใช้ในรูปแบบใหม่ เพื่อทำให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจ หรือก็คือ การทำในสิ่งที่แตกต่างจากผู้อื่น โดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงต่างๆ (Change) ที่เกิดขึ้นรอบตัวเราให้กลายมาเป็นโอกาส (Opportunity) และถ่ายทอดไปสู้แนวคิดใหม่ที่ทำให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง  สังคมและประเทศชาตินวัตกรรม คือความสามารถในการใช้ความรู้ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ทักษะและประสบการณ์ทางเทคโนโลยี หรือการจัดการมาพัฒนาให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ กระบวนการการผลิตใหม่ หรือบริการใหม่ เพื่อตอบสนองความต้องการของตลาด นอกจากนั้นยังรวมถึงการปรับปรุงเทคโนโลยี การแพร่กระจายเทคโนโลยี การออกแบบผลิตภัณฑ์ หรือการฝึกอบรม ที่นำมาใช้ในการสร้างนวัตกรรมเพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ และก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมของประเทศ ในรูปแบบของการเกิดธุรกิจใหม่ การลงทุนใหม่ ผู้ประกอบการใหม่ ตลาดใหม่ แหล่งรายได้ใหม่ และการจ้างงานใหม่ เป็นต้นการทำนวัตกรรมให้ประสบผลสำเร็จได้นั้น ต้องเริ่มจากการให้คำมั่นร่วมกันระหว่างคนที่เกี่ยวข้องจะต้องมีความตั้งใจที่จะพัฒนาสินค้าและตราสินค้าเพื่อให้เกิดความมั่นคงร่วมกัน ลัษณะสำคัญของ นวัตกรรมนั้นต้องมาจาก ความตั้งใจที่ต้องการให้เกิดขึ้น มากกว่าจะเกิดขึ้นโดยบังเอิญและต้องมี ความใหม่และ นำมาใช้ได้ ในระดับกลุ่ม ฝ่าย หรือองค์กรนวัตกรรมต้องอาศัยภาวะผู้นำ กล้าคิด กล้าทำ กล้านำ กล้าเปลี่ยนแปลง บวกกับการบริหารจัดการ ภาวะผู้นำจะเป็นองค์ประกอบที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่เราหวังไว้ได้ ทำให้เราเกิดพลังในการกระตุ้นให้เกิดความร่วมมือร่วมใจ พร้อมที่จะเดินก้าวไปอย่างเร็วๆ แต่มั่นคง เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่วางไว้ปัญหาและอุปสรรคในด้านการสร้างนัตกรรม ระบบการศึกษาและวิธีการเรียนการสอนของประเทศไทยยังมุ่งเน้นการสอนแบบท่องจำมากกว่ากระตุ้นให้นักเรียน หรือ นักศึกษา คิดในเชิงวิเคราะห์ นักศึกษาจำนวนมากมักขาดทักษะในการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ทันสมัยไม่สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการทำงาน ไม่ทันต่อความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทันสมัย ซึ่งเปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว ทำให้เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนานวัตกรรม"รากเหง้าปัญหาของการนวัตกรรมคนในองค์กร หรือคนในองค์กรไม่ค่อยมีการรังสรรค์นวัตกรรม มักมาจากพื้นฐานเรื่องของระบบ การศึกษาที่สอนให้ท่องจำ และทำตามมากกว่าที่จะให้คิด"การสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน ถือได้ว่าเป็นสิ่งจำเป็นที่ผู้บริหารต้องให้ความสำคัญ เนื่องจากปัจจุบันธุรกิจมีการแข่งขันกันสูงมาก ประกอบปัจจัยที่นอกเหนือการควบคุม มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เช่น การเปิดเสรีทางการค้า (FTA) ดอกเบี้ยและน้ำมันมีแนวโน้มราคาสูงขึ้น การหลั่งไหลของสินค้าจากประเทศจีน เป้นต้น ดังนั้น ผู้บริหารจำเป็นต้องมีกลยุทธ์ที่ดี ที่สามารถแข่งขันทั้งในและต่างประเทศได้ทฤษฎี Michel E.Porter ได้กล่าวถึงการสร้างกลยุทธ์ที่สำคัญของการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน ประกอบด้วย
  1. กลยุทธ์ต้นทุน (Cost Strategy) พยายามลดต้นทุนจนทำให้สร้างความได้เปรียบกว่าคู่แข่งขัน
  2. กลยุทธ์ความแตกต่าง (Differentiate Strategy) ในอดีตสินค้ามักจะมีการผลิตที่เป็นจำนวนมาก แต่ปัจจุบันทำไม่ได้อีกแล้ว เพราะกลุ่มลูกค้ามีความต้องการหลากหลาย ทำให้ต้องสร้างความแตกต่างมากกว่ารายอื่น
  3. กลยุทธ์มุ่งเฉพาะกลุ่ม (Niche or Focus Strategy) ปัจจุบันโทรศัพท์มือถือ มีประสิทธิภาพทั้งสามารถส่งข้อมูลเสียง
กลยุทธ์การสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันเป็นพื้นฐานที่แต่ละกิจการพยายามสร้าง และเมื่อแต่ละประเทศมีหลายองค์กรที่สามารถสร้างความได้เปรียบก็จะทำให้ประเทศนั้นๆมีขีดความสามารถในการแข่งขัน (Competitiveness) ที่เหนือประเทศอื่นๆปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญในการสร้างความได้เปรียบก็คือ ความรู้ (Knowledge) ที่ต้องมีการเรียนรู้กันอย่างต่อเนื่องและสร้างสรรค์ อันจะนำสู่การสร้างนวัตกรรม (Innovation) ในองค์กร ซึ่งมีกลยุทธ์ที่สำคัญประกอบด้วย 1. มีการวิจัยและพัฒนาที่ดี 2. มีการพัฒนาสินค้าใหม่ที่มีโอกาสในความเป็นไปได้ 3. มีการผลิตที่ทันสมัย 4. มีการถ่ายทอดและร่วมมือกับผู้ที่มีประสบการณ์ และ 5. มีการจัดการพาณิชยกรรมที่ดีดังนั้นผู้บริหารจำเป็นต้องมีกลยุทธ์ที่ดีในการสร้างนวัตกรรมให้เกิดในองค์กรและเป็นที่ยอมรับของบุคลากร อันจะนำสู่การสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันและยิ่งกว่านั้นก็จะส่งผลทำให้ประเทศชาติมีขีดความสามารถทางการแข่งขันกับประเทศอื่นๆต่อไป

"ปัญหาของการนวัตกรรมคนในองค์กร หรือคนในองค์กรไม่ค่อยมีการรังสรรค์

นวัตกรรม มักมาจากพื้นฐานเรื่องของระบบ การศึกษาที่สอนให้ท่องจำ และทำตามมากกว่าที่จะให้คิด"

คนมีพลังสามารถสร้างสรรค์ได้ด้วยการเรียนรู้และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ความคิดของคนถ้าสามารถก้าวกระโดดได้ (break though) ก็จะพบสิ่งที่เราคาดหวังเอาไว้

นายสุทธิรัตน์ อรรคอุดม ID 4914980540

เรียน ศ.ดร.จีระ  หงส์ลดารมภ์

ผม นายสุทธิรัตน์  อรรคอุดม  ID 4914980540 RU:MBA INNOVATION

               1.  การจัดการทรัพยากรบุคคล ถือว่ามีส่วนสำคัญ เนื่องจาก ไม่ว่าองค์กรใดๆก็ตาม ทำธุรกิจแบบใด  ตัวจักรสำคัญที่เป็นตัวขับเคลื่อนการทำงาน ความคิดสร้างสรรค์ การพัฒนา ล้วนแล้วแต่มาจากคนทั้งสิ้น

                             ดังนั้นการสร้างคน  การคัดเลือกคน  การส่งเสริมให้ความรู้  ฝึกอบรม  ให้โอกาสมอบอำนาจ  กิจกรรมต่างๆ ที่ HR จัดขึ้น  สิ่งต่างๆ เหล่านี้ ล้วนเป็นสิ่งที่ HR  ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรมทั้งสิ้น

                             จากแนวคิดดังกล่าว อาจพูดได้ว่า องค์กรจะมีนวัตกรรมเกิดขึ้นหรือไม่  หรือถ้ามีแล้วจะประสบความสำเร็จหรือไม่นั้น การจัดการทรัพยากรบุคคลคือหัวใจสำคัญ

 

                2. การที่บุคคลจะใช้ความรู้และความคิดสร้างสรรค์มรามีอยู่ให้ออกมานอกกรอบเดิมๆ แต่ความคิดนั้นๆต้องไม่ใช่เพ้อฝัน  ต้องเป็นแนวคิดที่อยู่บนพื้นฐาน หรือหลักการที่เป็นไปได้  นั้น  นโยบายขององค์กรก็มีส่วนสำคัญ การสร้างพนักงานให้มีความรู้ ความคิด กล้าที่จะทำตามความคิดนั้น การมีความคิดใหม่ การมีโครงการใหม่ การต่อยอดธุรกิจต่างๆนั้น  พนักงานต้องมีพื้นฐานความรู้ (ทุนทางปัญญา) ทุนทางปัญญาจะเกิดขึ้นได้ก็มาจากพื้นฐานและความสนใจของพนักงานเองส่วนหนึ่ง  อีกส่วนหนึ่งก็มาจากองค์ความรู้ (knowledge base ) ที่ HR ช่วยสนับสนุน  ฝึกอบรมให้  เมื่อมีแนวคิดดี โครงการดี การที่จะลงมือทำก็น่าจะเป็นไปได้ดี

                การจัดการทรัพยากรบุคคลขององค์กรที่มีความสอดคล้องกับนโยบายของผู้บริหาร สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า และสอดคล้องกับเทคโนโลยีที่มีอยู่  ก็จะทำให้องค์กรและนวัตกรรมที่สร้างขึ้นประสบความสำเร็จ

                       

                3. องค์ประกอบที่สนับสนุนให้นวัตกรรมสำเร็จ

-          นโยบายของผู้บริหารระดับสูง สนับสนุนเต็มที่ (เงินทุน , เวลา , อื่นๆ )

-          ความรู้ ความสามารถของทีมงานนวัตกรรม

-          คุณธรรมและจริยธรรม ( เพื่อให้เติบโตอย่างยั่งยืน )

-          คำนึงถึงความต้องการของลูกค้า

-          ยอมรับในความล้มเหลวที่อาจจะเกิดขึ้นได้  เพื่อให้ทึมงานมีกำลังใจ  ไม่ต้องกังวลว่าถ้าลมเหลวและจะถูกลงโทษ

-          KNOWLEDGE  BASE

-          ความกล้าที่จะเสี่ยง ( แต่ต้องไม่โง่ )

 

อุปสรรคที่ขัดขวาง การทำนวัตกรรม

-          ผู้บริหารระดับสูง ขาดความรู้ ความสามารถ และไม่เข้าใจเรื่องของนวัตกรรม

-          ไม่มีเจ้าภาพที่ชัดเจน ( หาผู้รับผิดชอบไม่ได้ )

-          การไม่ยอมรับความเปลี่ยนแปลงที่อาจจะเกิดขึ้น  ทำให้เกิดการต่อต้านกันเอง

-          ความรู้ ความสามารถของทีมงานไม่เพียงพอ

-          ความไม่กล้าที่จะเสี่ยงลงทุน

-          ความไม่เป็นอิสระของผู้ปฎิบัติ (ไม่มีอำนาจในการสั่งการ )

-          ทำโดยไม่คิดถึงความต้องการของลูกค้า ( โอกาสล้มเหลวสูง )

-          ไม่คำนึงถึงคุณธรรมและจริยธรรม ( ไม่ยั่งยืน )

 

4. นวัตกรรมที่มีความสนใจ มีหลายแนวคิด แต่ยังไม่มีความชัดเจนนัก  เช่น

-          การพัฒนาการบริการรูปแบบใหม่ๆ  เนื่องจากการบริการเป็นงานที่ช่วยเพิ่มประสิธิภาพต่างๆ ให้ประโยชน์  ลดขั้นตอน  ลดกระบวนการ  ลดค่าใช้จ่าย  เป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับธุรกิจ และเป็นการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีอีกด้วย  และเป็นการลงทุนที่สามารถสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าได้อย่างมาก

-          การต่อยอดธุรกิจที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม  เนื่องจากปัจจุบันลูกค้ามีความต้องการบริโภคสินค้า ที่ไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เช่นใช้วัตถุดิบจากธรรมชาติ  กระบวนการผลิตม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม  ซึ่งทำให้เราสามารถนำเอาจุดนี้มาเป็นตัวที่ช่วยเพิ่มมูลค่าสินค้าและบริการได้ 

                  

       

นางสาววัชราภรณ์  ฉายชูวงษ์  รหัส 4914980182 Mbainnovation section 2                ไม่ว่าจะเป็นองค์กรขนาดใดก็ตาม การดำเนินการ การขับเคลื่อนทางธุรกิจจำเป็นต้องมีคนซึ่งถือเป็นหัวใจหลัก หากไม่มีคนก็คงไม่สามารถดำเนินการใดๆ ให้เกิดขึ้นได้ ดังนั้นหากเรามีการจัดการบุคลากรในองค์กรให้ดี ให้มีประสิทธิภาพ ก็จะทำให้องค์กรนั้นๆ ดำเนินไปได้ ส่วนว่าจะไปได้ด้วยดีหรือไม่ดีนั้นเป็นอีกเรื่องหนึ่ง ที่เราต้องหาแนวทางต่อไป             เราต้องไม่ลืมว่าการคิด การทำ การสร้างสรรค์ใดๆก็ตาม จำเป็นต้องใช้แนวความคิดบวกกับการปฏิบัติที่สอดคล้องกัน คนๆหนึ่งไม่สามารถสมบูรณ์แบบได้หากไม่เคยได้เรียนรู้หรือพัฒนาใดๆ เลย ซึ่งการเรียนรู้และพัฒนานั้นไม่สามารถเกิดขึ้นได้จากตัวแปรใดตัวแปรหนึ่ง เช่น ตัวบุคคล สติปัญญา โอกาส ฯลฯหากแต่ต้องใช้ตัวแปรทุกอย่างช่วยกันทำให้เกิดขึ้น เป็นตัวอย่างหนึ่งที่แสดงให้เห็นถึงการบริหารจัดการบุคลากรให้เป็นไปตามที่องค์กรต่างๆ ต้องการ             ทั้งนี้และทั้งนั้นทุกอย่างก็ไม่ได้เกิดจากคนเพียงคนเดียว แต่จำเป็นต้องเป็นคนทั้งองค์กร การเกิดความคิด โครงการที่ทำให้องค์กรมีความก้าวหน้าและพัฒนานั้นต้องมาจากความร่วมมือของคนทุกคนในองค์กร องค์กรใดก็ตามที่ยังยึดถือกับการบริหารแบบเดิม เช่น รวบรวมอำนาจการสั่งการไว้ที่คนเพียงคนเดียว ก็จะทำให้แนวทางการทำงานเป็นไปตามความคิดของคนเพียงคนเดียว ซึ่งเปรียบเหมือนคนขาไม่ดีคือก้าวเท้าใดเท้าหนึ่งก่อนเสมอแล้วค่อยดึงเท้าอีกข้างตาม ทำให้การเดินเป็นไปอย่างช้า หากแต่ถ้าก้าวเดินโดยสลับเท้าก็จะทำให้เดินได้เร็วกว่าคนที่เท้าไม่ดี อีกทั้งยังมีโอกาสที่สามารถจะวิ่งไปได้ไกลและเร็วกว่าคนที่มักจะก้าวเท้าใดเท้าหนึ่งก่อนแล้วค่อยดึงเท้าอีกข้างให้ตาม นั่นคือ แนวการบริหารที่ให้ทุกคนในองค์กรมีส่วนร่วมทางความคิดเพื่อพัฒนา สร้างสรรค์ สิ่งดีๆต่อไป            แต่สิ่งสำคัญคือ หากคนยังมั่นใจในศักยภาพและความคิดของตนเองเป็นหลักใช้ความเห็นส่วนตัวมาตัดสินความคิดผู้อื่น และปิดกั้นความคิด รวมถึงเบี่ยงเบนให้ผู้อื่นคิดตามที่ตนเองคิดนั้น สิ่งที่เรียกว่า นวัตกรรม ก็คงไม่เกิดขึ้นอย่างแน่นอน
นาย วิทูรย์ วิจิตร นักศึกษาปริญญาโท การจัดการนวัตกรรม รหัสประจำตัว 4914981551

คำถาม  Q1 ทรัพยากรมนุษย์มีส่วนช่วยใน innovation อย่างไร
    Q2 ทรัพยากรมนุษย์ช่วยในการนำ idea เพื่อทำให้เกิด project หรือ action plan อย่างไร
    Q3 ทำอย่างไรจึงจะทำให้โครงการเหล่านั้นประสบความสำเร็จ  อุปสรรคในเรื่องทรัพยากรมนุษย์ที่ทำให้โครการไม่
                      ประสบความสำเร็จมีอะไรบ้าง
    Q4 ถ้าจะเอาความรู้เรื่องทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ให้ได้จริง ๆ หรือทำโครงการที่เป็นรูปธรรมในด้านใด

กระผม นาย วิทูรย์  วิจิตร  นักศึกษาปริญญาโท  การจัดการนวัตกรรม  รหัสประจำตัว   4914981551

ต้องกราบขอบพระคุณท่าน ศ.ดร.จีระ  หงส์ลดารมภ์  เป็นอย่างมากที่ได้สละเวลามาเป็นวิทยากรบรรยายในหัวข้อ  ทรัพยากรมนุษย์
สำหรับ นวัตกรรม  ซึ่งการบรรยายได้ให้ความรู้ และข้อคิดกับนักศึกษามากมายหลายประการ
สำหรับความคิดเห็นของกระผม  ต่อคำถามที่ได้มีการแลกเปลี่ยนความรู้กันเกิดขึ้น มีดังต่อไปนี้
    A1 ทรัพยากรมนุษย์  มีส่วยช่วยพัฒนาทุก ๆ สิ่งให้ดีขึ้น  เนื่องจากทรัพยากรมนุษย์เปรียบได้กับทรัพยากรที่มีค่าที่สุด
สามารถที่จะจัดการกับทุกอย่างได้ เพราะฉะนั้นมนุษย์ก็ย่อมจะเป็นผู้ทำให้เกิด หรือการใช้ประโยชน์ที่เกิดจาก innovation
ไม่ว่าจะเป็น innovation ทางด้านใด รูปแบบใด สาขาใด
    A2 มนุษย์ หรือการจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่ดี ย่อมทำให้ขั้นตอนการทำ นวัตกรรม มีโอกาสประสบความสำเร็จ
ถึงแม้ว่าโอกาสที่จะประสบความล้มเหลวจะมีมากกว่าเยอะเยอะ  แต่การเริ่มต้นที่ดี  และเริ่มต้นอย่างมีหลักการ  ก็อาจทำให้
โครงการ ที่ต้องการทำมีโอกาสประสบความสำเร็จได้มากขึ้น
    A3 การที่จะทำให้โครงการใด ๆ สำเร็จขึ้น นั่น ย่อมต้องอาศัยขบวนการมากมายหลายขั้นตอน  รวมทั้งจังหวะ
และโอกาสด้วย  ทั้งนี้ต้องไม่ลืมว่าการที่จะทำเกี่ยวกับ นวัตกรรม มันย่อมมีโอกาสเสี่ยงที่จะพบกับความล้มเหลวมากกว่าโอกาส
ที่จะประสบความสำเร็จมากมาย  อุปสรรคที่อาจเกิดขึ้น  อาจมีได้มากมายหลายทาง  ไม่ว่าจะเป็นความพร้อมเรื่องทุน  เวลา  รวมถึงผู้ร่วมงาน
ซึ่งอาจจะเกี่ยวข้องโดยตรงหรือไม่เกี่ยวข้องเลย ก็ได้ เช่น  บุคคลากรขาดความรู้ ขาดความเอาใจใส่  ในการที่จะปฏิบัติภารกิจ
,บุคคลขาดการประสานงาน  หรืออาจมีการกระทบกระทั่งกันในขณะปฏิบัติงานก็ได้
    A4 สามารถเอาความรู้ด้านทรัพยากรมนุษย์  มาช่วยในการวางแผนการดำเนินงานได้   เพราะถ้าเกิดเรา คิด
โครงการ  หรือทำโครงการใดโครงการหนึ่ง  ถ้าเราสามารถวิเคราะห์ปัญหา วิเคราะห์อุปสรรค ได้  วางลำดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน
เป็นลำดับแบบแผน  โอกาสจะประสบความสำเร็จ ก็จะมีมากขึ้น


                                                                                                            วิทูรย์   วิจิตร  รหัสประจำตัว 4914981551

นายวีรบูรณ์ อนุทรงศักดิ์
กระผม นายวีรบูรณ์ อนุทรงศักดิ์ 4914980698 รุ่นที่ 1 section 2 ก่อนอื่นผมต้องขอกราบขอบพระคุณ อ.จีระ และคณะเป็นอย่างสูงที่ได้เปิดโลกทรรศน์ให้กับผมและเพื่อนๆได้เรียนรู้และคิดตามที่อาจารย์แนะนำ และผมขอตอบคำถามอาจารย์ดังนี้ครับ 1.    ทรัพยากรมนุษย์มีส่วนช่วยในการสร้าง innovation ได้อย่างไร ในเมื่อ Innovation นั้นไม่สามารถเกิดได้จากเครื่องจักร พืช หรือสิ่งของ ก็หมายความว่ามนุษย์เท่านั้นที่จะสามารถสร้างความเป็น innovation ได้แต่เพียงผู้เดียว ดังนั้นความสำคัญของมนุษย์สำหรับงาน innovation จึงไม่ต้องบรรยาย แต่มนุษย์ที่จะสร้าง innovation นั้นไม่ได้เกิดจากโชคชะตา จำเป็นต้องผ่านการฝึกฝน ผ่านการเรียนรู้และกระบวนการในการพัฒนา ซึ่งความพยายามในการสร้างคนถือว่าเป็นหนทางเดียวที่จะพัฒนาให้ถึงจุดนี้ได้ ดังนั้นศาสตร์หรือวิชาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคนหรือทรัพยากรมนุษย์จึงถือเป็นทางเลือกแรกที่ควรจะหยิบมาพิจารณา 2.    ทรัพยากรมนุษย์ช่วยในการนำ Idea เพื่อให้เกิด Project หรือ Action Plan อย่างไร เมื่อมนุษย์มีไอเดีย Innovation ความเชื่อ ศรัทรา ซึ่งก็คือเป้าหมายที่ต้องการ กระบวนการเพื่อไปสู่เป้าหมายจึงจำเป็นต้องเกิดขึ้น ดังเช่นมรรคมีองค์ 8 คือหนทางไปสู่เป้าหมาย การวางแผน การวิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็ง การวิเคราะห์ตลาด ทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพจะสนับสนุนแผนการใดๆให้ประสบความสำเร็จได้ 3.    ทำอย่างไรจึงจะทำให้โครงการเหล่านั้นประสบความสำเร็จ อุปสรรคในเรื่องทรัพยากรมนุษย์ ที่ทำให้โครงการไม่ประสบผลสำเร็จมีอะไรบ้าง โครงการจะสำเร็จได้ต้องเกิดจากแผนที่ดี คนที่ดี ทีมงานที่ดี วิธีการปฏิบัติและการสื่อสารที่ดีสำหรับอุปสรรคที่เกิดจากทรัพยากรมนุษย์นั้นมี คือ การไม่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของทีมงาน 4.    เราจะเอาความรู้เรื่องทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ให้ได้ผลจริงๆ หรือทำเป็นโครงการที่เป็นรูปธรรมในเรื่องใด 

ในการทำธุรกิจส่วนตัวขนาดเล็ก การจะเติบโตไปเป็นอุตสาหกรรมระดับชาติได้จำเป็นต้องมีการบริหารจัดการที่ดี ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่าไม่ใช่เป็นการบริหารจัดการด้านใดด้านหนึ่ง แต่เป็นการบริหารจัดการเกี่ยวกับทรัพยากรมนุษย์ ความคิดของมนุษย์จะเป็นตัวผลักดันให้องค์กรเติบโตอย่างรวดเร็วและยั่งยืนได้ ผมอยากจะเป็นผู้บริหารองค์กรระดับชาติ และผมมั่นใจว่าเป็นได้เมื่อผมได้เรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรมนุษย์มากเพียงพอ

  

 

เรียน ศ.ดร. จีระ หงส์ลดารมภ์ กระผมนายอนุชา ปัญวัฒนลิขิต  รหัสประจำตัว 4914981193

รู้สึกเสียดายมากๆครับที่ไม่ได้รับฟังการบรรยายของท่านอาจารย์ เพราะว่าต้องไปสัมนาที่ต่างประเทศ เห็นพี่น้องผองเพื่อนที่เรียนบอกว่าสนุกมาก ยังงัยโอกาสหน้าไม่พลาดครับ 

1) การจัดการทรัพยากรมนุษย์มีส่วนช่วยใน INNOVATION ได้อย่างไร

ถ้าเรานับตามพ.. จะเห็นว่าโลกได้ถือกำเนิดขึ้นมากว่า 2,500 ปี มนุษย์ก็มีการพัฒนาการมาเรื่อยๆตั้งแต่ สมัยยุคหินจนถึงสมัยยุคดิจิตอล ช่วงเวลาที่ผ่านมามีนวัตกรรมเกิดขึ้นมากมาย ทั้งโดยตั้งใจและไม่ตั้งใจ โดยผ่านการเรียนรู้ ลองผิดลองถูก และอะไรอื่นๆอีกมากมาย การสะสมองค์ความรู้เหล่านี้และการต่อยอดองค์ความรู้เกิดจากความคิดและการสร้างสรรค์ของมนุษย์ ทั้งสิ้น ดังนั้นคงปฏิเสธไม่ได้ว่าทรัพยากรมนุษย์เป็นส่วนสำคัญที่ทำให้โลกของพวกเราอยู่ได้จนกระทั่งถึงทุกวันนี้

 2) ทรัพยากรมนุษย์ช่วยในการนำ Idea เพื่อทำให้เกิด Project หรือ Action Plan อย่างไรบ้าง

ในแต่ละวันทั่วโลกจะมีแนวความคิดใหม่ หรือผสมผสานออกมามากมาย แต่จะมีแนวความคิดอันไหนที่สามารถทำให้เกิดขึ้นจริงๆได้ โดยไม่ใช่สิ่งเพ้อฝันถือเป็นเรื่องหนึ่งที่ควรพิจารณา เพราะว่าจะต้องมีองค์ประกอบหลายๆด้านมาช่วยผลักดันแนวความคิดเหล่านั้นไปสู่การใช้งานได้จริง เช่น ความเป็นไปได้ของโครงการ, ค่าใช้จ่าย, คนที่เข้ามาบริหารจัดการ และกรอบแนวคิด ไม่ว่าจะในหรือนอกกรอบ มาช่วยสนับสนุนแนวความคิดเหล่านี้ไปสู่การปฏิบัติงานจริง อาทิเช่น โครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ได้แนวความคิดจากวิถีชาวบ้านแบบไทยๆ ซึ่งบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ของความเป็นไทย แล้วนำไปต่อยอดทางธุรกิจโดยผ่านการวิเคราะห์ วิจัยมาอย่างมากมาย, ข้อดี-ข้อเสีย ก่อนที่จะมาเป็นโครงการอย่างทุกวันนี้ และนำไปสู่ผลการปฏิบัติงานได้อย่างจริงจัง

 3) ทำอย่างไรจึงจะทำให้โครงการเหล่านั้นประสบความสำเร็จ อุปสรรคในเรื่องทรัพยากรมนุษย์ที่ทำให้โครงการเหล่านั้นไม่ประสบความสำเร็จมีอะไรบ้าง

ในแต่ละโครงการ จะต้องมีหลายคน จากหลายๆหน่วยงานเข้ามามีส่วนร่วมในโครงการ ดังนั้นจะต้องมีการวางแผนงานที่ดี, การร่วมแรงร่วมใจ, วางกำลังคนให้ถูกกับงาน, สายงานบังคับบัญชาชัดเจน, การควบคุมเรื่องค่าใช้จ่าย, การพัฒนาองค์ความรู้คู่คุณธรรม, การทำงานเป็นทีม, ระยะเวลาสำเร็จของโครงการ, ศึกษาจุดแข็ง จุดอ่อน และประเมินผลงานในแต่ละช่วงของโครงการว่าสิ่งใดที่เป็นตัวปัญหา และสิ่งใคช่วยสนับสนุนงานของโครงการให้ประสบผลสำเร็จ ในขณะเดียวกันการดำเนินของโครงการก็ต้องมีอุปสรรคอยู่บ้าง เช่น การสื่อสารของคนในโครงการไม่ดีพอ, การประเมินความเสี่ยงต่อโครงการไม่คลอบคลุมถึงผลกระทบ, ความร่วมมือของคนในหลายๆส่วนงานที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าความสำเร็จหรืออุปสรรคในทุกๆส่วนของโครงการล้วนแล้วมีทรัพยากรมนุษย์เข้ามาเกี่ยวข้องทั้งสิ้น ดังนั้นทรัพยากรมนุษย์จึงเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้โครงการสำเร็จหรือล้มเหลว

 4) จะนำความรู้เรื่องทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ให้ได้ผลจริงหรือก่อให้เกิดโครงการที่เป็นรูปธรรมในเรื่องใดโลกเราทุกวันนี้เป็นยุคโลกไร้พรมแดน กล่าวคือมนุษย์สามารถติดต่อสื่อสารถึงกันได้แค่ปลายนิ้วมือเดียว ดังนั้นจะต้องมีเทคโนโลยีที่สามารถตองสนองความต้องการของมนุษย์และความพึงพอใจสูงสุดได้มากกว่าที่เป็นอยู่ปัจจุบัน เช่น การนำระบบ วัตถุบ่งชี้อัตโนมัติมาใช้งาน (RFID) ยกตัวอย่างเช่น ท่านจะรู้สึกอย่างไรเมื่อท่านเข้าไปที่ธนาคาร แล้วมีเสียงพูดว่า สวัสดีครับ คุณ…… ทางธนาคารยินดีรับใช้แล้วพนักงานสามารถให้ข้อมูลเกี่ยวกับการทำรายการล่าสุด และข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับท่านทั้งหมด รวมทั้งนำเสนอบริการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องและดีที่สุดกับตัวท่าน สิ่งเหล่านี้สามารถสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าไม่มากก็น้อย ซึ่งระบบ RFID เป็นเทคโนโลยีที่คิดว่าจะทำให้สามารถเกิดประโยชน์ในหลายๆด้านในอนาคตอันใกล้นี้

กราบเรียนท่านอาจารย์ ดร. จิระ หงส์ลดารมภ์ สวัสดีเพื่อนร่วม Class MBA InnovatIon RU และเพื่อนชาว Blog ทุกท่าน ผมสมเกียรติ สุวพันธ์ รหัส 4914981397 ผมรู้สึกยินดีอย่างยิ่งที่ได้รับความรู้จากท่านอาจารย์ ในเรื่องการบริหารพรัพยากรมนุษย์และได้รู้เกี่ยวกับทฤษฎี 4L's ,5K's ,8K's ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างยิ่งกับการนำไปใช้ในการทำงานและการดำรงชีวิตประจำวัน

สิ่งสำคัญอย่างยิ่งประการแรกคือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของคนให้ทุก คนมีความกล้าที่จะคิดนอกกรอบและพร้อมที่จะรับการเปลี่ยนแปลง ถ้าทุกคนในองค์กรยินดีที่จะดิดว่า Change is Challenge การเปลี่ยนแปลง คือความท้าทาย โอกาสที่องค์กรนั้นสามารถเกิดนวัฒตกรรมได้มาก แต่ในบางองค์กรยังไม่ยินดีที่จะยอมรับการเปลี่ยนแปลง ผมจึงอยากเสนอแนวคิดเพื่อให้ทดลองนำไปใช้กัน

A small truth to make life 100%

If

A B C D E F G H I J K L M N O P Q R S T U V W X Y Z

Is equal to

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26

What make 100%

HARD WORK

H+A+R+D+W+O+R+K

8+1+18+4+23+15+18+11=98%

KNOWLEDGE

K+N+O+W+L+E+D+G+E

11+14+15+23+12+5+4+7+5=96%

LOVE

L+O+V+E

12+15+22+5=54%

LUCK

L+U+C+K

12+21+3+11=47%

MONEY

M+O+N+E+Y

13+15+14+5+25=72%

LEADERSHIP

L+E+A+D+E+R+S+H+I+P

12+5+1+4+5+18+19+9+16=89%

Every probrem has a solution only if we perhaps change our

ATTITUDE

A+T+T+I+T+U+D+E

1+20+9+20+21+4+5=100%

It is our attitude towards life and work that makes OUR life 100%!!

ATTITUDE IS EVERYTHING

Change your attitude and change your life !!

เมื่อทุกคนมี Attitude ที่ดีทุกอย่างก็สามารถดำเนินการได้ง่าย

จากคำกล่าวของอาจารย์ ศุภชัย หล่อโลหการ Inovation นวัฒตกรรม คือ สิ่งใหม่ที่เกิดจากใช้ความรู้และความคิดสร้างสรรค์ที่เป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจ และสังคม จากการเกิดนวัฒตกรรมสามารถเกิดได้ในสภาวะต่างๆ

1. สภาวะวิกฤต (Crisis) Ex. Internet เพื่อการสื่อสารในสงครามเวียดนาม การเกิดนวัฒตกรรมในสภาวะวิกฤตนั้น HRD อาจมีส่วนเกี่ยวข้องน้อยเนื่องจากนวัฒตกรรมเกิดจากพื้นฐานความรู้ที่มนุษย์ต้องการแก้ปัญหาในสภาวะนั้นๆ

2. สภาวะปกติ (Normal) HRD มีส่วนเกี่ยวข้องอย่างมากเนื่องจากการพัฒนา ทรัพยกรมนุษย์ให้เกิดความกล้าที่จะคิดและทำสิ่งใหม่นั้นทำได้ค่อนข้างยาก แนวทางที่จะส่งเสริมให้เกิดนวัฒตกรรมอย่างต่อเนื่องมีอยู่มากมาย ขึ้นอยู่กับประเภทขององค์กรและธุรกิจ

จากคำถามของอาจารย์ในห้องเรียนผมขอสรุปโดยรวมทั้ง 4 ข้อดังต่อไปนี้ครับผมขอเสนอแนวทางที่จะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้เกิด นวัฒกรรมอย่างต่อเนื่องและนำไปสู่ Actions plan ได้ 6 หัวข้อ

1. Empowerment การมอบหมายอำนาจและความรับผิดชอบ

พร้อมที่จะรับผิดชอบให้บรรลุวัตถุประสงค์

อิสระที่ปฏิบัติงานที่ตัวเองรับผิดชอบ

ลำดับความสำคัญของงานสนุกกับงาน

2. Truth and respect ให้เกียรติและไว้วางใจซึ่งกันและกัน

วางตนน่าเชื่อถือ ซื่อสัตย์ เปิดเผยต่อเพื่อนร่วมงาน

ใส่ใจพนักงานเพื่อนร่วมงาน

ให้เกียรติกันและกันทั้งระบบ Supply chain รวมทั้งสังคม

3. Passion to win

มุ่งมั่นที่จะชนะ ความเป็นเลิศ

บรรลุวัตถุประสงค์มากกว่าแล้วเสร็จ

ผลิตภัณฑ์และบริการที่คุณภาพสูง

4. Entrepreneural Spirit มีจิตรสำนึกของความเป็นจำของธุรกิจ

การกระตือรือร้นที่จะก้าวหน้า

เสนอแนวทางใหม่เพื่อความสำเร็จ

รอบคอบกล้าเสี่ยงอย่างมีหลักการ

5. Individual filfullment เติมเต็มให้กับชีวิต สุขส่วนตัว

การตอบแทนอย่างเหมาะสมให้โอกาส

6. Continuous improvement

พัฒนาอย่างไม่หยุดยั้ง

หาความรู้

รู้จากประสบการณ์ ส่วนอื่น

ริเริ่มแนวคิดใหม่

สรุปได้ว่า การทำให้ทุกคนในองค์กรมี Attitude ที่ดีนั้น

ก็จะสามารถนำองค์สู่การเปลี่ยนแปลงแล้วนำหลักการ HRD เข้ามาใช้ให้เหมาะสมกับองค์กรและประเภทธุรกิจก็จะสามารถพัฒนาให้เกิด นวัฒตกรรมอย่างต่อเนื่องและยั่งยืนสืบไป

สุดท้ายหวังและเชื่อมั่นว่าทุกหน่วนงานและองค์กรสามารถพัฒนา ไปสู่นวัฒตกรรมได้

ขอบคุณครับ

นายคงศักดิ์ กาญจนกูลกิจ
เรียน ศ.ดร.จีระ  หงส์ลดารมภ์ และคณะ

กระผมนายคงศักดิ์ กาญจนกูลกิจ รหัสประจำตัว 4914981045  นักศึกษาโครงการบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต  สาขาวิชาการจัดการนวัตกรรม  ขอเสนอความคิดเห็นในเรื่องของทรัพยากรมนุษย์สำหรับนวัตกรรม ดังนี้ครับ

1. การจัดการทรัพยากรมนุษย์มีส่วนช่วยสร้างนวัตกรรมได้อย่างไร
คุณภาพของนวัตกรรมจะดีขึ้นได้ประกอบด้วยปัจจัยหลายๆด้าน แต่ปัจจัยที่สำคัญที่สุดที่จะทำให้นวัตกรรมมีคุณภาพคือการที่มีทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพนั่นเอง ซึ่งแต่คนมีความสามารถในการคิดค้น ประดิษฐ์ พัฒนา และสามารถบริหารจัดการให้สามารถดำเนินธุรกิจในภาวะที่มีการแข่งขันกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ  ในการที่จะมีส่วนช่วยสร้างนวัตกรรมนั้น ผู้ที่มีส่วนสร้างสรรค์ต้องเป็นคนที่มีความคิดสร้างสรรค์ มีคุณธรรม มีความรู้ มีการบริหารจัดการที่ดี และต้องสร้างสรรค์ผลงานที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมอีกด้วย


2. ทรัพยากรมนุษย์ช่วยในการนำ idea เพื่อทำให้เกิด Project หรือ action plan อย่างไร              
ทรัพยากรมนุษย์สามารถเรียนรู้ พัฒนาตนเอง เพื่อให้อยู่รอดในสังคมที่มีการแข่งขันกันสูง ในสถานการณ์ที่แข่งขันกันมากนี้เองจะทำให้มนุษย์เกิดแนวความคิดใหม่ๆ ในการคิดค้น ประดิษฐ์ และนำมาสร้างสรรค์จนเป็นนวัตกรรมที่มีคุณภาพ  ดังนั้นในการเพื่อให้เกิด Project หรือ Action Plan นั้นในความคิดเห็นของกระผมควรที่ต้อง
- มีความเข้าใจในธุรกิจของตนเองและคู่แข่งทางธุรกิจ
- มีการบริหารจัดการที่ดี
- มีความสามัคคีกันในองค์กร
- มีการพัฒนาคนในองค์กรอย่างต่อเนื่อง
- มีคุณธรรมและจริยธรรม


3. ทำอย่างไรถึงทำให้โครงการเหล่านั้นประสบความสำเร็จ  อุปสรรคในทรัพยากรมนุษย์ที่ทำให้โครงการเหล่านั้นไม่ประสบความสำเร็จมีอะไรบ้าง
การที่จะประสบความสำเร็จในโครงการนั้น ทรัพยากรมนุษย์ต้องมีการพัฒนาตนเอง หาความรู้ใหม่ๆ ศึกษาคู่แข่ง มีการวางกลยุทธ์ที่ดีและเหมาะสม รวมถึงต้องมีความร่วมมือกันในองค์กร ผู้บริหารในองค์กรจะต้องให้การสนับสนุน ไม่ปิดกั้นความคิดของตนเองและผู้อื่น และที่สำคัญจะต้องมีคุณธรรมและจริยธรรม
อุปสรรคในทรัพยากรมนุษย์ที่ทำโครงการไม่ประสบความสำเร็จนั้น มีเหตุผลมากมาย แต่เห็นผลที่เด่นชัดและพบเห็นโดยทั่วไปคือ
- คนในองค์กรไม่สามัคคีกัน
- คนในองค์กรไม่ช่วยเหลือกัน
- ความแตกต่างกันด้านอุปนิสัย บางคนมีความเป็นตัวของตัวเองสูงจนไม่ยอมฟังความคิดคนอื่น บางคนไม่ออกความคิดเห็น บางคนไม่ฟังความคิดของคนอื่น
- การไม่ให้โอกาสซึ่งกันและกัน
 
4. จะนำความรู้เรื่องทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ให้ได้ผลจริงหรือก่อให้เกิดโครงการที่เป็นรูปธรรมในเรื่องใด
ปัจจุบันมีการแข่งขันกันในด้านธุรกิจและเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง แต่ละองค์กรได้พัฒนาบริการ ผลิตภัณฑ์ การตลาด มีการวางกลยุทธ์ที่ดีในการแข่งขันกับคู่แข่ง ซึ่งองค์กรต้องให้ความสำคัญในเรื่องของทรัพยากรมนุษย์เป็นอันดับต้นๆ ดังนั้นควรนำความรู้ในเรื่องทรัพยากรมนุษย์มาใช้ในการบริหารงานเช่น ความสัมพันธ์กับคนในองค์กร การวางแผนอัตรากำลัง ฝึกอบรมและให้ความรู้กับคนในองค์กรอย่างต่อเนื่อง การให้เงินเดือนและสวัสดิการอย่างดีและเหมาะสมเป็นต้น

รหัส 4914980033 นักศึกษาปริญญาโท โครงการบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต  สาขาวิชาการจัดการนวัตกรรม


1. การจัดการทรัพยากรมนุษย์มีส่วนช่วยในการสร้างนวัตกรรม หรือ innovation ได้อย่างไร
2. การนำความคิดสร้างสรรค์ไปสร้างให้เกิดเป็นรูปธรรมในการทำงาน หรือ นำ idea เพื่อทำให้เกิด actioin plan ได้อย่างไร
3. การทำให้โครงการประสบความสำเร็จในการสร้างนวัตกรรม และอุปสรรคที่ทำให้โครงการนั้นไม่ประสบความสำเร็จมีอะไรบ้าง
4. โครงการที่คาดว่าจะทำหลังจากการเรียน เพื่อที่จะนำเอาความรู้ในเรื่อง HR ไปใช้ให้ได้ผลจริงๆ หรือทำโครงการเป็นรูปธรรม คือเรื่องใด

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1. คำว่า innovation เกิดได้เพราะความพยายามของคนที่จะสร้างสรรค์สิ่งใหม่บนพื้นฐานของความเป็นจริง ซึ่งสามารถเขียนเป็น equation ได้ว่า

innovation = human + reality

ถ้าสังเกตให้ดี H คือ Human และ R คือ Reality เมื่อนำความคิดของมนุษย์มาตั้งอยู่บนพื้นฐานความเป็นจริงจะทำให้เกิด

innovation

innovation = H + R = HR

ฉะนั้น innovation จึงแยกออกจาก HR ไม่ได้เลย เพราะมนุษย์เป็นต้นกำเนิดของความคิด

เพื่อให้ได้มาซึ่งมูลค่าเพิ่มจากสิ่งเดิมสู่สิ่งใหม่ เนื่องจาก HR เป็นส่วนหนึ่งของการทำให้เกิด innovation ดังนั้นจะเห็นได้ชัดว่า HR มีส่วนช่วยในการสร้างนวัตกรรม

นวัตกรรมไม่ใช่เพียงแค่ความรู้หรือความคิดสร้างสรรค์เพียงอย่างเดียว แต่ต้องนำมาอิงกับความเป็นไปได้ในโลกแห่งความเป็นจริงด้วย การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ จึงเป็นการพัฒนานวัตกรรม

2. การทำให้ idea เกิดเป็น action plan นั้นจะต้องมีองค์ประกอบดังนี้

- การระดมแนวคิดของทีม ซึ่งการระดมแนวคิดต้องเกิดจากแหล่งความคิดที่แตกต่าง
- ความกล้าในการตัดสินใจลงมือทำ
- เงินทุนสนับสนุน
- ประโยชน์อันเป็นผลดีต่อสังคม และมนุษย์โลก


3.1 ปัจจัยที่ทำให้โครงการเหล่านั้นประสบความสำเร็จ

- ความชัดเจนของโครงการ เพื่อให้ทีมงานสามารถรู้ได้ว่า แนวคิดนั้นเป็นการเพ้อฝันหรือเป็น innovation
- การสนับสนุนจากเจ้าของหรือผู้บริหารสูงสุด หรือหน่วยงานของรัฐ ในเรื่องของเงินทุน
- มีวัฒนธรรมในแนวทางเดียวกันเพื่อให้เกิดแนวความคิดใหม่ๆ

3.2 อุปสรรคที่ทำให้โครงการไม่ประสบความสำเร็จ

- ความไม่โปร่งใสของแนวคิด ทำให้ทีมหรือสมาชิกในทีมขาดความเชื่อมั่น แม้ทุกคนจะทราบดีว่า การทำ innovation เป็นการเริ่มต้นความเสี่ยง แต่หากทิศทางของ idea ไม่ชัดเจนจะทำให้ทีมรู้สึกว่าความเสี่ยงยิ่งเพิ่มขึ้นกว่าเดิม
- ความสามัคคีของทีมงาน innovation อาทิ สมาชิกของทีมมีเป้าหมายที่แตกต่างกัน และแนวโน้มในการผลิต innovation ที่แตกต่างกันมีสูง และแยกเวลาแยกทีมให้กับผลงานของตัวเอง มากกว่าผลงานของทีม จะทำให้ยากต่อการบริหารงาน
- การจัดลำดับความสำคัญ หากสมาชิกในทีม จัดความสำคัญของ innovation ไว้ไม่เท่ากัน จะทำให้การทุ่มเทต่อการสร้าง idea ให้เป็นรูปธรรมนั้นมีไม่เท่ากัน
- การตัดสินใจ แม้ว่าจะได้รับการสนับหรือไม่ หากมีเป้าหมายเดียวกัน ย่อมแก้ปัญหาและหาทุนเพื่อสร้าง innovation ได้
- การขาดการสนับสนุนของภาครัฐ หรือเงินทุน

4. การนำความรู้เรื่อง HR ไปใช้ให้ได้ผลจริง โดยคิดว่าโครงการที่จะทำในอนาคต

- การสอนแนวใหม่ เพื่อให้ innovation ซึมเข้าไปในทุกสาขาวิชาแบบบูรณาการ ซึ่งเหนือกว่า การบูรณาการเพียงอย่างเดียว หรือการรวมเอาหลายวิชาเข้าด้วยกัน แต่ให้มีการคิด วิเคราะห์ใช้สิ่งที่มีอยู่ในสร้างสรรค์องค์ความรู้ใหม่ๆ ได้ ไม่ติดอยู่กับรูปแบบการสอนเดิมๆ เน้นการพัฒนาทางความคิดมากกว่าสั่งให้คิด หรือถูกบังคับให้คิด  การให้เกิดแนวการสอนที่เกิดการแลกเปลี่ยนความคิดกับทุกๆคนที่มีส่วนเกี่ยวข้องในชั้นเรียน เช่น ครู นักเรียน เจ้าหน้าที่ เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้บนพื้นฐานชีวิตจริงมากขึ้น การใช้ชื่อเล่นเพื่อให้สัมพันธ์กับวัฒนธรรมไทย และลดความสำคัญของ คำนำหน้าลง หรือยศฐาบรรดาศักดิ์ เพื่อให้นักเรียนสนุกกับความรู้มากขึ้นกว่าการสะดุดกับประสบการณ์ที่แตกต่าง และกดให้นักเรียนไม่กล้าแสดงออก เป็นต้น


สรุปโดยรวมแล้ว ขอนำเสนอ ทฤษฎี CRHR

C หมายถึง Change Methodology หรือกระบวนการให้เกิดการเปลี่ยน เนื่องจากว่า ถ้ายังติดอยู่กับแนวความคิดเดิมๆ จะไม่ให้ทำให้เกิดวิสัยทัศน์ที่แตกต่าง ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงก็ต้องเริ่มต้นที่ตัวของ นวัตกร เอง เปลี่ยนระบบความคิด เปลี่ยนวิธีการคิด เป็นต้น

R หมายถึง Reality Methodology หรือกระบวนมองภาพแห่งความเป็นจริง ไม่เพ้อฝัน เพื่อให้เกิดวิสัยทัศน์ถึงความเป็นไปได้ ในการสร้าง idea ให้เกิดขึ้นจริง เป็นรูปธรรม

H หมายถึง Happy Methodoloy หมายถึง การทำ idea ให้เป็นรูปธรรม อย่างมีความสุข เมื่อนวัตกร สร้างสรรค์ผลงานอย่างมีความสุขแล้ว ย่อมเกิดผลดี และสร้างสรรค์ผลงานได้มากขึ้น

R หมายถึง Relevance Methodology หมายถึง การให้เกิดขึ้นจริง หรือการโยงสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบย่อย ทั้งเรื่องการเปลี่ยนแปลง สภาพความเป็นจริง และความสุขในการสร้างสรรค์ผลงาน

ในทางตรงกันข้าม ถ้าคนไม่ยอมรับการเปลี่ยน ก็ย่อมไม่เกิดไม่นวัตกรรม เช่นเดียวกัน ในสภาพความเป็นจริง นวัตกรรมที่สร้างขึ้นควรจะก่อให้เกิดประโยชน์ตามสภาพความเป็นจริง เช่น ตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้า เป็นต้น   เรื่องของความสุขก็เช่นเดียวกัน หากการควบคุมสั่งการนั้น ไม่ถูกต้อง ไม่เหมาะสม ทำให้ผู้ปฏิบัติเกิดความทุกข์ในการสร้างสรรค์ผลงาน  และสิ่งสำคัญคือ หากขาดการประสานสิ่งเหล่านี้ ก็ไม่อาจจะทำให้นวัตกรรมเกิดขึ้นได้เช่นกัน

 

นายสุรศักดิ์ คงด้วง รหัสนักศึกษา 4914981139 MBA Innovation (ห้อง 2)
เรียน ศาสตราจารย์ ดร. จีระ ที่เคารพอย่างสูง ผมขออนุญาตตอบคำถามโดยสรุปได้ดังนี้ครับ ข้อ 1. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ช่วยในเรื่องนวัตกรรมอย่างไร ตอบ คำว่า "นวัตกรรม" หรือ นวกรรม มาจากภาษาอังกฤษว่า "Innovation" โดยคำว่านวัตกรรมมีรูปศัพท์เดิมมาจากภาษาบาลี คือ นว+อตต+กรรม กล่าวคือ นว แปลว่าใหม่ กรรม แปลว่าการกระทำ เมื่อรวมคำนวกับอัตตจึงเป็นนวัตต+กรรม=นวัตกรรม จะได้ความหมายว่าการกระทำที่ใหม่ ๆ เพราะฉะนั้นในการจัดการทรัพยากรมนุษย์จึงมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งที่จะช่วยในเรื่องของการจัดการนวัตกรรมได้เป็นอย่างดีครับ เพราะไม่มีทรัพยากรใดที่สำคัญไปกว่าทรัพยากรมนุษย์อีกแล้วครับ ในโลกนี้สิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นล้วนแล้วแต่เป็นแนวความคิดของและการกระทำของทรัพยากรมนุษย์ทั้งนั้น อาจกล่าวได้ว่านวัตกรรมใหม่ ๆ ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันนี้มนุษย์เป็นส่วนช่วยที่สำคัญที่ทำให้เกิดสิ่งเหล่านี้ได้เป็นอย่างดีครับผม ข้อ 2. ทรัพยากรมนุษย์ช่วยในเรื่อง Idea เพื่อทำให้เกิด Project หรือ Action Plan อย่างไร ตอบ ไม่มีอะไรที่ยอดเยี่ยมสูงไปกว่า Idea ของทรัพยากรมนุษย์เพราะสิ่งต่าง ๆ ที่ถูกพัฒนาและเกิดขึ้นได้นั้นล้วนแล้วแต่ทำให้เกิด Project ใหม่ ๆ ตลอดเวลา และสิ่งที่ตามมาก็คือ Action Plan ที่ดีตามมาอีกด้วย แต่ทั้งนี้ก็ต้องขึ้นอยู่กับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่ดีและกำหนดลักษณะงานที่เหมาะสมให้แก่ทรัพยากรมนุษย์ที่ถูกต้องเป็นสิ่งสำคัญครับ ข้อ 3. ทำอย่างไรจะทำโครงการให้ประสบความสำเร็จ และมีอุปสรรคในเรื่องทรัพยากรมนุษย์ที่ทำให้โครงการไม่ประสบความสำเร็จมีอะไรบ้าง ตอบ - สิ่งสำคัญที่สุดที่จะทำให้โครงการประสบความสำเร็จได้นั้นก็คือกำลังและความร่วมมือของทรัพยากรมนุษย์ที่มีอยู่ 1. ผู้บริหารจะต้องมีความยุติธรรมต่อผู้ใต้บังคับบัญชา 2. ทุกคนที่ทำงานจะต้องมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมายอย่างเต็มกำลัง 3. ทุกคนในองค์กรต้องมีความสมัครสมานสามัคคีและมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นต่อกันไม่เอาความคิดของตนเองเป็นใหญ่ 4. ทุกคนควรมีทัศนคติที่ดีต่อกันและต่อองค์กรเพื่อขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน 5. ผู้บริหารองค์กรควรหมั่นศึกษาปัญหาและข้อขัดแย้งต่าง ๆ เพื่อนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จได้ในอนาคต - อุปสรรคในเรื่องทรัพยากรมนุษย์ที่ทำให้โครงการไม่ประสบความสำเร็จ 1. ผู้บริหารเกิดความลำเอียงเข้าข้างพนักงานคนใดคนหนึ่ง 2. พนักงานขาดทักษะที่ดีในการที่จะเรียนรู้งาน 3. เกิดความขัดแย้งภายในองค์กรขาดความสมัครสมานสามัคคี 4. ทัศนคติไม่ตรงกัน 5. ผู้บริหารองค์กรไม่ศึกษาและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นภายในองค์กร 4. เราจะเอาความรู้เรื่องทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ให้ได้ผลดีจริง ๆ หรือทำโครงการที่เป็นรูปธรรมในเรื่องใด ตอบ สิ่งแรกที่ผมจะนำเอาความรู้ในส่วนของทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ก็คือเรื่องของการประเมินผลการปฏิบัติงาน และความถนัดของแต่ละบุคคล เพราะเราสามารถทราบได้ว่าเรามีความถนัดและสนใจในเรื่องใดบ้าง จากนั้นก็นำความคิดของแต่ละคนนั้นมาร่วมกันแถลงในรูปแบบของการประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนแนวความคิดและศึกษาในส่วนของโครงการที่เราจะลงมือปฏิบัติอย่างละเอียดถี่ถ้วน ผมเชื่อว่าถ้าหากเราตั้งใจในสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่เราคิดว่าเราทำได้งานที่ออกมาก็จะเกิดรูปธรรมตามมาในที่สุดครับ คำตอบที่ผมได้แสดงความคิดเห็นอาจถูกบ้างไม่ถูกบ้างควรไม่ควรก็ขอรบกวนให้อาจารย์ช่วยพิจารณาด้วยครับ ขอแสดงความเคารพอย่างสูง

เรียน ศ.ดร. จิระ    หงด์ลดารมภ์

ชื่อนายสำเร็จ        บุญเนาว์

เลขที่ 4914981493  หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการนวัตกรรม ม.รามคำแหง 

A1

HR สามารถเป็นทั้งแหล่งรวมรวมศาสตร์ หรือความรู้ด้านทรัพยากรมนุษย์ แบบใหม่ หรือที่ผมจะใช้คำว่า inno-HR ซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้ ดังจะเห็นได้ว่ากระแส Innovation นั้นกำลังเป็นกระแส (Trend) อยู่ในขณะนี้นั้น ผมสามารถสรุปตามความเข้า ที่ได้ร่ำเรียนกับท่านอาจารย์ ทั้งสอง ท่าน ได้ว่า inno-HR จะเป็นการนำองค์ความรู้เดิมที่มีปรากฏอยู่แล้วนั้น นำกลับมาเรีบเรียงใหม่ โดยการใช้กระบวนการคิดใหม่ จะทำให้เกิดองค์ความรู้รู้แบบใหม่ขึ้นอีก และความรู้นี้สามารถนำไปเป็นแนวการปฏิบัติต่อองค์การ และหน่วยงานต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นภาคเอกชน หรือรัฐบาล

Inno-HR ในความต้องการของผมจะต้องประกอบไปด้วย

-Attitude inno-HR หมายความว่า ตน อันหมายถึงบุคคล หรือทรัพยากรบุคคล ต้องมีทัศนคติที่ดี ต่อ การเปลี่ยนแปลงที่จะเกิด ขึ้นจากการเรียนรู้และการเปี่ยนแปลงจากการปฏิบัติ ตามแนวความคิดใหม่ๆ

-Creative inno-HR หมายความว่า บุคคลนั้นๆ นอกจากจะต้องเรียน inno-HR แล้ว ยังต้องสามารถ ต่อเติมองค์ความรู้ที่ตนได้เรียน ให้สามารถนำกลับไปใช้กับองด์การ ของตน หรือสามารถเป็นที่ปรึกษา และให้คำแนะนำต่อหน่วยงาน และผู้ใต้บังคับบัญชาได้ รวมถึงผู้ได้บังคับบัญชา ก็เช่นกัน หากว่าสามารถปฏิบัติได้เช่นนี้ ก็จะแสดงถึงว่าบุคคลผู้นั้นมีความเข้าใจในตัวตนเอง และตัวตนของบุคคลอื่น ดังพระราชาดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ว่า เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนานั้นเอง

 

A2

                Project และ Action Plan นั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องนำ inno-HR มาใช้ ให้เกิดขึ้นจริง ดังเช่นว่าการใช้ นำหลัก Customer Base inno-HR มาใช้เพื่อปรับปรุงด้านลูกค้า ซึ่งประกอบไปด้วย การพิจารณาเพื่อทำความเข้าใจในส่วนลึกของลูกค้า แต่ละกลุ่ม ผมหมายความว่าการใช้การจัดการทรัพยากรบุคคล แบบใหม่ น่าจะทำให้เจ้าหน้าที่ขององค์การ หรือหน่วยงาน นั้น ทั้งหมดเข้าใจ ในหน้าที่ของตนเองแบบใหม่ คือเติมใจในการให้บริการต่อผู้เข้ามารับบริการ และถ้าเกิดความสำเร็จขึ้น จะทำให้เกิดการเข้ามาใช้บริการนั้นๆ ซ้ำอีก นั้นก็หมายถึงรายได้ของหน่วยงานที่จะมากขึ้นอย่างแน่นอน ในทางตรงกันข้ามหากว่าหน่วยงาน นั้นๆ ยังคงใช้การจัดการบุคคลแบบเก่า ก็อาจจะทำให้หน่วยงานนั้น หายไปจากความต้องการขิงลูกค้าได้ เมื่อนำ Customer Base inno-HR เข้ามาใช้ในหน่วย เราก็อาจจะเริ่มต้นจากการร่างวัตถุประสงค์, กำหนดแนวทาง, ออกแบบแนวปฏิบัติ, ปฏิบัติตามแผน หรือที่ต่างชาติเรียกว่า Action Plan (ซึ่งก็ควรจะเป็น Action Plan ที่สามารถนำเราไปสู่การปกฺบัติได้จริง และที่สำคัญควรจะต้องสำเร็จ ด้วย)  และการติดตามประเมินผลในท้ายที่สุด

 

A3

                ในการนำ inno-HR ไปใช้เป็นแนวทางปฏิบัตินั้น เพื่อให้เกิดความสำเร็จ ให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ บุคคลจะต้องเข้าองค์ความรู้ของ inno-HR ให้ดีก่อน และการนำไปใช้นั้น จะต้องรู้การประยุกต์ใช้เพื่อให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม ต่างๆ ซึ่งผมได้เรียนท่านอาจารย์แต่ต้น เรื่อง Creative inno-HR หากว่าบุคคลนั้นเข้าใจและสามารถนำองค์ความรู้ของ inno-HR ไปใช้อย่างระมัดระวัง ก็เชื่อว่าจะประสบความสำเร็จได้ไม่ยาก อุปสรรคที่สำคัญนั้นผมยังมีความเชื่องอย่างมั่นคงว่า จะมาจากมนุษย์ด้วยกัน ที่มีอคติและไม่ยอมรับเหตุผล ของคนอื่นๆ อาทิเช่นว่า เจ้านายไม่เข้าใจ และไม่สนับสนุนให้ นำการเปี่ยนแปลงมาสู่หน่วยงานเป็นต้น ผมซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติก็ไม่สามารถจะทำให้เกิดผลสำเร็จได้ ครับ

 

A4

                ผมมีความเห็นว่าการนำ inno-HR มาใช้ ในโครงการที่มีขนาดเล็กๆ ก่อนจะทำให้สามารถปฏิบัติได้ และที่สำคัญคือ ทำแล้วจะต้องประสบการความสำเร็จ เพื่อเป็นตัวอย่างต่อการพัฒนาของหน่วยงานอื่นๆ โครงการที่น่าจะเริ่มต้น ในความเห็นของผมจะเป็น โครงการขนาดเล็กๆ ของรัฐบาล อาทิ เช่น โครงดารเงินกองทุนหมู่บ้าน หรือโครงการ OTOP หรือโครงการ SML เป็นต้น อันเนื่องจากว่าโครงการเหล่านี้ มีขนาดเล็ก สามารถเข้าไปให้ความรู้ ในเรื่องการบริหารงานทรัพยากรมนุษย์ ในแบบ inno-HR ตามที่ได้เรียนให้ทราบแต่ ตอนต้น ผมยังเชื่อว่าความเป็นคนท้องถิ่นจะทำให้การพัฒนา และจัดการทรัพยากรแบบใหม่ จะประสบความสำเร็จได้โดยง่าย แต่เนื่องจากว่าในแต่ละท้องถิ่นนั้น มีลักษณะที่แตกต่างกันออกไป จึงเป็นไปได้ว่า บางแห่งอาจจะประความสำเร็จ และบางแห่งอาจจะประสบกับความล้มเหลว ก็เป็นได้   

               

เนื่องจากเวลาจำกัด กระผมจะขอเรียนเสนอ แนวความคิดแบบใหม่ๆ ในโอกาสต่อๆ ไป ครับ

ศตนันท์ นิยมสันติสุข

 

นายศตนันท์  นิยมสันติสุข  491 498 0252  เด็ก ป.โท  รามคนหนึ่ง สาขาการจัดการนวัตกรรม

Satanunvejthani.com

Satanungmail.com

 

เนื่องจากเป็นการเรียนรู้ใหม่ในวัย 30 กว่าๆ  คำตอบของผม ถ้ามีส่วนใดที่ผมคิดผิด หรือ มีคำคมใดๆที่บอกกล่าว ขอให้ Feedback ให้ทราบด้วยครับ  เนื่องจากผมจะนำมาใช้ในที่ทำงาน และชีวิตส่วนตัวให้เกิด Innovation มาใช้ในงานปัจจุบัน                                                       ขอบพระคุณอย่างสูงครับ

 

Q. ทรัพยากรมนุษย์มีส่วนช่วยในการให้เกิด Innovation อย่างไร

A. เนื่องจาก Innovation เป็นการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ หรือต่อยอดแนวคิดเดิมให้ฉีกออกไป out of box ดังนั้นจึงต้องให้ทรัพยากรมนุษย์รู้จักคิดให้เยอะๆ  เพราะการคิดเยอะทำให้เราเกิดจินตนาการ  แต่ต้องไม่ใช่คิดฟุ้งซ่านโดยขาดหลักความจริงที่สามารถเกิดขึ้นได้ หรือเพ้อฝัน ดังนั้นจึงต้องคิดอย่างมีระบบ และต้องเข้าใจถึงกระบวนการที่จะสามารถถ่ายทอดความคิดของเราออกมาให้เห็นเป็นรูปธรรม   ซึ่งอาจจะต้องมีเครื่องมือมาช่วยเพิ่มเติม เพื่อให้คนอื่นเห็น เช่น Technology / บุคคลที่สอนให้คิดอย่างเป็นระบบ   ถ้าตอบกันเชิงวิชาการหน่อยก็คือ

Learning Methodology เข้าใจวิธีการเรียนรู้

             Environment  สร้างบรรยากาศ

             Opportunities สร้างโอกาส

             Communities  สร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้

ในแง่คิดที่ขอเสนอให้แตกต่างคือ มนุษย์ต่างจากสัตว์โดยทั่วไป  เนื่องจากคิดเป็น  แต่สัตว์เป็นตามสัญชาติญาณ  แต่เราเคยสังเกตหรือไม่ว่าภายใต้แรงกดดันสัตว์ก็จะมีอะไรให้เห็นแปลกๆ นั่นก็เรียก Innovation แต่เป็นของสัตว์  แต่มนุษย์ต้องทำโดยเป็นระบบ และผ่านการเรียนรู้ หรือ ต้องถูก pressure ตามสถานการณ์ หรือมี motivate ถึงจะเกิด Innovation ขึ้นได้

 

Q. ทรัพยากรมนุษย์มีส่วนช่วยในการนำ Idea เพื่อให้เกิด project หรือ action อย่างไร

A.  รู้จักวิเคราะห์เชิงป้องกันประเมินสิ่งที่อาจเกิดขึ้นได้ กำหนด Teamwork ที่เกี่ยวข้อง /  หา Team support  / Motivate และ รู้จัก Flexible ในการแก้ไขอุปสรรค  โดยต้องกำหนดเงื่อนไขของเวลาที่ประสบความสำเร็จในแต่ละขั้นตอน

Q. ทำอย่างไรที่จะให้โครงการประสบความสำเร็จ   อุปสรรคของ HR ที่ทำให้ไม่สำเร็จมีอะไร

A.อันดับแรกต้องมีความมุ่งมั่น  กล้าเสี่ยง  มีskill / knowledge / รู้จักเป็นนักแสวงหาโอกาสที่เหมาะสม

รู้จัก Globalization ว่าปัจจุบันมันไปถึงไหนกันแล้ว และมี vision  มุมมองที่แตกต่าง    ในกรณีที่ไม่สามารถผลักดันความคิดตัวเองได้ก็ต้องอาศัยแนวร่วม หรือ Team building  เพราะมันทำให้เราเปิดมุมมองได้กว้างขึ้น

อุปสรรคของ Human Resource  การที่ต้องทำงานกับ culture เก่าๆ กับคนหรือระบบที่ยึดติด  /  ความไม่มั่นใจไม่กล้าเสี่ยง เอาแต่กลัวว่าพลาดแล้วจะเกิดอะไรขึ้น อย่างนี้ Innovation ไม่ได้ผุดได้เกิดแน่ๆครับ และการทำตาม customer base คือไม่เสนอมุมมองอื่นให้ลูกค้าได้เห็น  และในการที่ต้องเป็นลูกน้องที่ต้องทำตามเจ้านายตลอดแบบ command control  โดยขาดการ Empowerment ของเจ้านาย

Q. เราจะนำความรู้เรื่อง HR  ไปใช้ให้ได้ผลจริง หรือ นำโครงการที่เป็นรูปธรรมในเรื่องใด

A. หลังจากที่คิดว่าตัวเองมีความรู้แน่นพอ และเข้าใจ Innovation อย่างแท้จริงสิ่งที่คิดว่าจะต้องทำก่อนคือ การพิจารณางานที่เราทำอย่างเชิงลึกมากขึ้น  เนื่องจากผมทำงานโรงพยาบาลและเข้าใจว่ามาตรฐานของโรงพยาบาลต่างๆ ต่างกันมาก ในส่วนที่ผมรับผิดชอบในการรักษาก่อน คือ ต้องทำระบบการส่งภาพเอกซเรย์ให้เป็น digital file คือไม่ว่าจะไปเปิดดูภาพที่ไหนบ้านนอกหรือเมืองนอก ที่ไหนก้อจะเห็นภาพเหมือนกัน ลดกระบวนการซ้ำซ้อนไปได้เยอะมาก  โดยอาศัย Technology / Internet / software ที่มีอยู่แล้ว  ซึ่งจะช่วยให้การรักษาผู้ป่วยได้ดีขึ้น และลดช่องว่างของคนที่มีสิทธิเท่าเทียมกันในความเป็นมนุษย์

 

 

เรียน ศ.ดร. จิระ    หงด์ลดารมภ์

       สุดารัตน์  แซ่อึ้ง ระหัส  4914981115  นักศึกษาปริญญาโทหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการนวัตกรรม ม.รามคำแหง 

      จากที่ได้รับควมรู้จากท่านอาจารย์เกี่ยวกับ การจัดการทรัพยากรมนุษย์  จึงมีความคิดเห็นเกี่ยวกับคำถามที่ได้รับดังนี้

1.ทรัพยากรมนุษย์มีส่วนช่วยในเรื่อง innovation อย่างไร

- ความคิดใหม่ๆจะเกิดขึ้นเมื่อ คนได้รับการส่งเสริมให้มีความรู้อย่างกว้างขวางรอบด้าน โดยต้องเป็นความรู้ที่รู้จริง มีเหตุมีผล  มีการพัฒนาความรู้อย่างต่อเนื่อง  และต้องสร้างให้รู้จักการวิเคราะห์ รู้คิด  มีทัศนคติที่ดี มีวิสัยทัศน์ที่กว้าง  มีความเข้าใจในการเปลี่ยนแปลงต่างๆที่เกิดขึ้น

2.ทรัพยากรมนุษย์ช่วยทำให้เกิด project หรือ action plan อย่างไร

 -  การกำหนดแผนงาน หรือโครงการต่างๆ จะต้องมีการจัดระบบการทำงานที่เป็นรูปธรรมที่ชัดเจน กำหนดช่วงเวลาทำงานและ หน้าที่ความรับผิดชอบในแต่ละขั้นตอน โดยระบุผู้รับผิดชอบ และทีมงาน ซึ่งทุกคนจะต้องมีภาวะผู้นำ  มีความรับผิดชอบ   มีความรู้ในงานที่ได้รับ สามารถทำงานเป็นทีมได้ และมีการสื่อสารข้อมูลที่ถูกต้องต่อกัน

3.ทำอย่างไรจึงจะทำให้โครงการเหล่านั้นประสบคามสำเร็จ

- ทุกคนมีความรับผิดชอบ มีทัศนคติที่ดีต่อการทำงานในหน้าที่

-มีความสารถนำความรู้มาประยุกต์ใช้ในงานได้อย่างถูกต้อง

- มีความสามัคคีกันในกลุ่ม รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีความสารถในการทำงานเป็นทีมได้ดี

- มีผู้นำทีมที่มีความสามารถ มีภาวะผู้นำสูง มีวิสัยทัศน์ที่ดี

-มีการติดตามงานตามกำหนดเวลา วิเคราะห์ประเมินผลงานเป็นระยะ

- เมื่อพบปัญหาต้องสามารถปรับกลยุทธในการปฏิบัติได้ทันที

อุปสรรคที่จะทำให้โครงการไม่สำเร็จ คือ

- ทีมงานขาดความรู้ ในงานที่รับผิดชอบ

-. เกิดความขัดแย้งในทีม

 - ขาดระเบียบวินัยในการทำงาน

 -ไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ  มักทำอะไรแบบเดิมๆ

 -บางคนมีความเห็นแก่ตัว ไม่รู้จักการช่วยเพื่อร่วมทีม

 - มีทัศนคติที่ไม่ดีต่องานในหน้าที่รับผิดชอบ

4. เมื่อเรียนแล้ว คิดจะทำโครงการอะไร

 จากความรู้ที่ได้ในการศึกษานี้ จะนำความรู้ไปสร้าง โครงการเสริมสร้างมนุษย์เงินเดือนพันธุ์ใหม่ในองค์กร  ซึ่งจะเน้นในเรื่ององค์ความรู้ และ จริยธรรม

นาง ชมพูนุท ศิริกุล

ชื่อ ชมพูนุท  ศิริกุล  รหัสนักศึกษา  4914980128   มหาวิทยาลัยรามคำแหง  Innovation รุ่นที่ 1

1. ทรัพยากรมนุษย์มีส่วนช่วยใน Innovation อย่างไร

ตอบ   การดำเนินงานขององค์การภายใต้สภาพแวดล้อมทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วในยุคโลกาภิวัฒน์ องค์การต่าง ๆ ทั้งภาครัฐบาล และภาคเอกชนต่างมุ่งหวังในการเพิ่มประสิทธิภาพประสิทธิผล และการได้เปรียบทางการแข่งขัน การบริหารจัดการองค์การให้ประสพความสำเร็จตามเป้าหมายที่กำหนดไว้จึงเป็นสิ่งที่ท้าทายผู้บริหารในการจัดการทรัพยากมนุษย์ภายในองค์การ การดำเนินงานในองค์การให้บรรลุผลสำเร็จนั้น มนุษย์เป็นปัจจัยสำคัญที่สุดในการบริหารงาน และเป็นทรัพยากรที่มีค่ามีศักยภายในตนเอง สามารถพัฒนาตนเองและองค์การได้ เมื่อต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นส่งผลให้องค์การต้องปรับกลยุทธใหม่เน้นความคิดริเริ่มสร้างสรรค์การทำงานที่รวดเร็วมีคุณภาพ และมีกาคิดค้นผลิตภัณฑ์หรือบริการใหม่ ๆ เกิดขึ้นมาอยู่เสมอ  เพื่อให้องค์การสามารถแข่งขันในตลาดโลกได้

ดังนั้น องค์การต้องมีบุคลากรมีความรู้ มีความคิดสร้างสรรค์เพื่อนำไปสู่การสร้าง นวัตกรรม  โดยเริ่มตั้งแต่การสรรหาและการคัดเลือกพนักงานตลอดจนการให้การฝึกอบรมพัฒนาความรู้อยู่เสมอ  และที่สำคัญผู้บริหารระดับสูงต้องมีความมุ่งมั่นในการนำองค์การไปสู่การสร้างนวัตกรรมเพื่อให้องค์การสามารถแข่งขันในตลาดโลกได้โดยการเปิดโอกาสให้ทุกคนในองค์การได้แสดงความคิดสร้างสรรค์และนำเสนอ Idea ได้อย่างอิรสระ

 กล้าทดลอง กล้าตัดสินใจทำ    นวัตกรรม คือ สิ่งใหม่ อาจจะเป็นการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น,หรือการต่อยอดจากผลงานการวิจัย โดยการใช้ความรู้และความคิดสร้างสรรค์เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์หรือบริการในรูปแบบ

ใหม่ ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจและสังคมโดยยึดหลักการมีคุณธรรมและจริยธรรมด้วย และองค์การจะต้องมีเงินทุนสนับสนุนเพื่อกระตุ้นและผลักดันให้เกิดนวัตกรรมอย่างเป็นรูปธรรมอย่างแท้จริงและต้องทำอย่างต่อเนื่อง2.ทรัพยากรมนุษย์ช่วยในการนำ Idea เพื่อทำให้เกิด Project  หรือ Action Plan  อย่างไร

ตอบ  คือการนำความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ที่ได้รับจากการพัฒนาการฝึกอบรม,การดูงาน,การสังเกตุ,การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ที่ได้รับเพื่อสร้าง Project  หรือ Action Plan  ในการพัฒนาองค์การให้ประสบความสำเร็จ และสามารถในการแข่งขันกับตลาดโลกได้ ต้องมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์,พัฒนาต่อยอดความรู้อยู่เสมอ มีความกล้าคิด,กล้าตัดสินใจทำ กล้าที่จะล้มเหลว เพื่อความสำเร็จในวันข้างหน้า การทำงานนั้นต้องทำงานเป็นทีม  มีอิสระทางความคิด เพื่อให้ได้มี Project ใหม่ ๆ เกิดขึ้นองค์การจะได้แข่งขันได้

3.ทำอย่างไรจึงจะทำให้โครงการเหล่านั้นประสพความสำเร็จ อุปสรรคในเรื่องทรัพยากรมนุษย์ที่ทำให้โครงการไม่ประสพความสำเร็จมีอะไรบ้าง

ตอบ  ทำอย่างไรจึงจะทำให้โครงการประสพความสำเร็จ

1.ผู้บริหารต้องส่งเสริมและให้การสนับสนุนอย่างจริงจัง ทั้งทางด้านเงินทุน,เวลา,รางวัลผลตอบแทน,การพัฒนาความรู้ให้แก่พนักงานอยู่เสมอ

2.ต้องมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่งานที่ได้รับมอบหมาย

3.ต้องทำงานเป็นทีมและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

4.หากการทำโครงการล้มเหลวผู้บริหารยอมรับความล้มเหลวนั้นโดยไม่ลงโทษพนักงาน

5.มีการกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายของการทำโครงการร่วมกันเพื่อให้ทุกคนได้มีส่วนร่วมและรับทราบแนวทางการปฏิบัติงานที่ถูกต้อง

อุปสรรค

1.  ไม่ทราบวัตถุประสงค์และเป้าหมายของการทำโครงการเพื่ออะไร

2. องค์การไม่เห็นถึงความจำเป็นในการพัฒนาความรู้,ทักษะและเทคโนโลยีให้แก่พนักงาน ทำให้พนักงานขาดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ไม่มีความคิดแปลก ๆ ใหม่ ๆ ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการในรูปแบบใหม่ ๆ

3.ขาดการสนับสนุนจากองค์การและผู้บริหารอย่างจริงจัง

4.องค์การขาดกลยุทธ์ในการบริหารการจัดการองค์การ

5.องค์การขาดการดูแลเอาใจใสความสุขกายสุใจ,ผลตอบแทนหรือรางวัล ที่ให้แก่พนักงาน

4. เราจะนำความรู้เรื่องทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ให้ได้ผลจริง ๆ หรือทำโครงการที่เป็นรูปธรรมในเรื่องใด

ตอบ   ดิฉันทำงานรับราชการกรมสรรพากร จะนำความรู้เรื่องการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ไปใช้ในเรื่องของการประเมินผลการปฏิบัติงานผู้ใต้บังคับบัญชา โดยการนำเทคนิคและวิธีการตลอดจนเครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการปฏิบัติงานไปปรับใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อให้เกิดความเที่ยงธรรม,ความน่าเชื่อถือ,การยอมรับ

และแจ้งผลการปฏิบัติงานให้แก่ผู้บังคับบัญชารับทราบถึงข้อดี และจุดบกพร่องของผู้ใต้บังคับบัญชาเพื่อให้

สามารถปรับปรุงการทำงานให้ดีขึ้น   
ชลกรณ์ ประเสริฐผล ID.4914981154
นางสาว ชลกรณ์ ประเสริฐผล ID: 4914981154, Tel: 084-148 6728 เมื่อ พุธ ที่ 22 สิงหาคม 2549 @ 23.00 รายงานนวัตกรรมกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์โครงการบริหารธุรกิจมหาบัญฑิต MBA (Innovation) รุ่นที่ 1 นำเสนอ ท่านอาจารย์ ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์จัดทำโดย นางสาว ชลกรณ์ ประเสริฐผล รหัสนักศึกษา 4914981154 จากหัวข้อ 1. การจัดการทรัพยากรมนุษย์เกี่ยวข้องกับนวัตกรรม และมีแนวความคิดใหม่ ได้อย่างไร นวัตกรรม คือ การนำสิ่งใหม่ๆ วิธีการใหม่ๆ เข้ามา หรือเกิดจากการเปลี่ยนแปลงปรับปรุง โดยวิธีการใหม่ การทำสิ่งที่มีอยู่แล้ว ให้เกิดเป็นสิ่งที่ดีขึ้น เป็นการดึงศักยภาพที่แท้จริงออกมา โดยอาศัยคนมีฝีมือ มนุษย์เป็นทรัพยากรที่สำคัญในการผลักดันให้เกิดนวัตกรรม เพราะมนุษย์แต่ละคนย่อมมีมุมมองของตนเองที่แตกต่างกันด้วยประสบการณ์ที่สะสมมา หรือมุมมองของแต่ละคนที่มีลักษณะเฉพาะ จึงเป็นการดีที่เราควรหามุมมองที่สร้างสรรค์ของแต่ละคนมาประยุกต์ใช้ เพื่อให้มีวิสัยทัศน์ที่กว้างขึ้น จึงเห็นว่าทุกสิ่งทุกอย่างต้องมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา และเปลี่ยนไปในแนวโน้มที่ดีขึ้น 2. ทรัพยากรมนุษย์ช่วยในการนำ Idea เพื่อทำให้เกิด Project หรือ Action plan อย่างไร ความคิดสร้างสรรค์ ที่เกิดจากมนุษย์ เป็นพรสวรรค์ บวกกับพรแสวงของแต่ละคนที่เกิดจากการศึกษา แล้วนำ ความคิด นั้นมาสร้างสรรค์ให้เกิดสิ่งใหม่ๆ เพื่อนำ Project นี้ก่อให้เกิดเป็นรูปธรรมขึ้นมา ทุกๆคน มีความคิดที่เป็นมุมมองของตนเอง และต้องกล้าที่จะเปิดตัวเอง เพื่อเสนอในแนวความคิดที่น่าจะเกิดประโยชน์ แต่ถ้าเมื่อใดความคิดนั้นได้ถูกเก็บไว้กับตัวก็จะไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ ดังนั้นความคิดต่างๆที่แต่ละบุคคลคิดขึ้นมาอาจก่อให้เกิดประโยชน์ได้ในระดับสังคม หรือประเทศก็เป็นได้ หรือแม้แต่ความคิดที่จะปรับเปลี่ยนสิ่งต่างๆ ที่มีอยู่แล้วของมนุษย์ให้ดียิ่งๆขึ้น ก็ถือเป็นความคิดที่ก่อให้เกิด Project ใหม่ๆ ได้เช่นกัน มนุษย์มีส่วนก่อให้เกิดการกระทำต่างๆ มากมาย กล่าวคือ ถ้าความคิดนั้นถูกเก็บไว้ก็ไม่สามารถสร้าง นวัตกรรมขึ้นมาได้ แต่ถ้าเมื่อใด กล้าที่จะเสี่ยงและลงมือปฏิบัติ นวัตกรรมนั้นก็จะเกิดเป็นรูปธรรมขึ้นมาซึ่ง นวัตกรรมนี้อาจก่อประโยชน์ต่อสังคมของประเทศ ดังนั้นจะเห็นได้ถึงบทบาทของทรัพยากรมนุษย์ว่ามีบทบาทสำคัญเพียงใดต่อการก่อเกิดซึ่ง นวัตกรรม ถ้าไม่มีมนุษย์ที่ใช้ความคิดสร้างสรรค์ต่างๆ นวัตกรรม ก็ย่อมไม่เกิดขึ้น 3. ทำอย่างไรถึงทำให้โครงการเหล่านั้นประสบความสำเร็จ และอุปสรรคในด้านทรัพยากรมนุษย์ที่ทำให้โครงการเหล่านั้นไม่ประสบความสำเร็จมีอะไรบ้าง การที่จะทำให้โครงการเหล่านั้นประสบความสำเร็จ เราต้องมีการวางแผนการจัดการทรัพยากรมนุษย์ให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด ไม่ว่าจะเป็น - การจัดวางบุคคลากรให้เหมาะสมกับตำแหน่งงาน และความสามารถของบุคคลนั้นๆ - การจัดกำลังคนให้เหมาะกับงานอย่างพอเพียงไม่มากและน้อยเกินไป - การให้โอกาสเป็นการเปิดกว้างสำหรับความคิดทุกความคิด ที่เข้ามาเพื่อให้งานในองค์การมีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลา - การทำงานเป็นทีม ร่วมมือร่วมใจกันระดมความคิดเพื่อให้เกิดความถูกต้องและความรวดเร็วในผลงาน(ประสิทธิภาพ) ส่วนในเรื่องของอุปสรรคที่ทำให้โครงการเหล่านั้นไม่ประสบความสำเร็จ อาจจะมีปัจจัยหลายด้านซึ่งอาจจะควบคุมได้และที่ควบคุมไม่ได้ ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของ - การปิดกั้นทางแนวความคิด - การใช้อิทธิพลจากตำแหน่งงานในการบีบบังคับ - การแบ่งพรรคแบ่งพวก - และยังรวมถึงทฤษฎี 3 C's คือ Culture Change , Customer Base และ Command Control 4. จะนำความรู้เรื่องทรัพยากรมนุษย์ ไปใช้ให้ได้ผลจริงหรือทำโครงการในรูปธรรมได้อย่างไร เนื่องจากการให้ความสำคัญกับทุกๆ โครงการขององค์กร จะช่วยส่งเสริมให้เกิดความรักในองค์กร ตั้งใจพัฒนาร่วมกันในทุกระดับของการบริหารในองค์กร จะมีแนวความคิดและมุมมองที่แตกต่างกันเนื่องจากระดับความรับผิดชอบและความสามารถแตกต่างกัน ทั้งนี้จะก่อให้เกิดนวัตกรรมที่หลากลายในหลายระดับการบังคับบัญชา และหากทุกโครงการมีแนวความคิดที่จะพัฒนาองค์กรร่วมกัน นวัตกรรมจะเกิดขึ้นอย่างไม่มีที่สิ้นสุด และก้าวไปเป็นองค์กรที่แข็งแกร่งและยั่งยืน
กมลพรรณ อรรถกรปัญญา

เรียน ศ.ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์

ก่อนอื่นต้องขอแนะนำตัวก่อนนะคะ ดิฉัน นางสาวกมลพรรณ อรรถกรปัญญา รหัสนักศึกษา ( 4914981427 ) รู้สึกเป็นเกียรติอย่างยิ่งที่ได้เข้ารับฟังการบรรยายจากท่านอาจารย์ในหัวข้อเรื่อง " HR and Innovation " ซึ่งดิฉันขอเสนอแนวความคิดที่อาจารย์ได้ทำการตั้งคำถามให้กับนักศึกษา ซึ่งดิฉันเชื่อว่ามันเป็นกุศโลบายอย่างหนึ่งของทางอาจารย์ที่จะให้นักศึกษาที่ได้รับฟังการบรรยายไปแล้วนั้น ได้กลับไปทบทวนสิ่งต่าง ๆ ที่ได้ฟัง เพื่อให้สมองได้เกิดการพุฒนาและเรียนรู้ ดังนั้นดิฉันจึงอยากจะขอแสดงความคิดเห็นใน 4 หัวข้อที่อาจารย์ได้ตั้งคำถามไว้

1. ทรัพยากรมนุษย์มีส่วนช่วยใน Innovation อย่างไร

Innovation ในความหมายของดิฉัน คือ การนำสิ่งที่มีอยู่แล้วมาทำให้เกิดประโยชน์สูงขึ้น ซึ่งหากจะกล่าวในแง่ของธุรกิจแล้ว จะหมายถึง การลดต้นทุน หรือเพิ่มคุณค่าให้กับตัวของมันเอง ซึ่งดิฉันถือว่า "ทรัพยากรมนุษย์ " เป็นปัจจัยสำคัญที่สุดที่จะทำให้ Innovation ดำเนินต่อไปได้ ยกตัวอย่างเช่น คนในองค์กรสามารถทำงานให้ได้มากขึ้นโดยใช้เวลาน้อยลง หรือ การลดปริมาณการใช้กระดาษโดยใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาเป็นตัวช่วย เป็นต้น ดังนั้นดิฉันจึงคิดว่า Innovation ที่เป็นระบบ จะเกิดได้ก็ต่อเมื่อ ทรัพยากรมนุษย์มีความคิดที่เป็นระบบระเบียบแบบแผน ซึ่ง ในที่นี้ ทรัพยากรมนุษย์ หมายถึง บุคคลทุกคนที่มีอยู่ในองค์กรนั้นๆ จะต้องมีความคิดที่จะพัฒนาองค์กรของตนให้ประสบความสำร็จ

2.ทรัพยากรมนุษย์ช่วยในการนำ Innovation เพื่อทำให้เกิด Project หรือ Action Plan อย่างไรดิฉันมีความเชื่ออยู่อย่างหนึ่งว่า บุคคลใดก็ตามที่มีความเชื่อมั่นว่าจะเขาจะสามารถชนะอุปสรรคที่จะเกิดขึ้นได้เสมอ บุคคลนั้นจะมีแรงผลักดันจากภายในสู่ภายนอก เป็นได้ทั้งฝ่ายรุกและฝ่ายรับ หรือ หากอยู่ในสถานการณ์ได้ไม่สู้ดีนักก็สามารถที่จะพลิกวิกฤตให้เป็นโอกาส มองเห็นแสงสว่างในทางตัน ซึ่งหากองค์กรใดหรือหน่วยงานใด หรือประเทศชาติใด มีบุคลากรดังกล่าว เขาจะมีความมุ่งมั่นในการทำงาน มีการวางแผนการทำงาน

(Action Plan) ที่เป็นระบบ จึงจะสามารถนำ Innovation มาเป็นช่วยแก้ไขสถานการณ์ที่เกิดขึ้นเฉพาะหน้าได้ ยกตัวอย่างง่าย ๆ เช่น การถือกำเนิดของอินเตอร์เน็ตปัจจุบัน เกิดขึ้นจากสภาวะความตึงเครียดของสงครามที่ขาดการติดต่อกัน ดังที่อาจารย์เคยกล่าวให้ฟังในการบรรยาย.....

3. ทำอย่างไรจึงจะทำให้โครงการเหล่านี้ประสบความสำเร็จ อุปสรรคในเรื่องทรัพยากรมนุษย์ที่ทำให้โครงการไม่ประสบความสำเร็จมีอะไรบ้าง

ถ้าจะกล่าวว่าปัจจัยใดที่จะส่งผลให้โครงการต่าง ๆ ประสบความสำเร็จ ดิฉันก็ยังเชื่อว่า ความคิดที่เป็นแง่ลบของคน
( Negative Thinking ) เป็นปัจจัยหลักที่สำคัญที่จะทำให้การพัฒนาไม่สามารถเกิดขึ้น ยกตัวอย่างเช่น ผู้บริหารที่มีความมุ่งมั่นที่จะแสวงหาผลกำไรที่เป็นตัวเงินเพียงอย่างเดียว นโยบายที่ออกมาก็จะไม่ค่อยคำนึงถึงพนักงาน ซึ่งค่อนข้างส่งผลเสียอย่างมาก ขอยก Case Study เรื่องหนึ่งให้ฟังนะคะ มันเป็นเรื่องของเพื่อนดิฉัน เขาทำงานอยู่บริษัทแห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นการจ้างพนักงานแบบ Contractor คือจะมีอีกหนึ่งบริษัทเป็นตัวกลางในการจ่ายเงินเดือนให้ เขาทำงานนี่มาสักพัก หัวหน้างานบอกว่าถ้าทำครบ 1 ปี ก็ทำการบรรจุให้เป็นพนักงานประจำ แต่เมื่อครบกำหนด 1 ปี ขึ้นมา ทางบริษัทก็แจ้งว่าตอนนี้ทางผู้ใหญ่ของบริษัทยังไม่มีนโยบายในการบรรจุพนักงาน ทางเพื่อนดิฉันก็ถามว่าแล้วจะบรรจุเมื่อไหร่ ทางฝ่ายบุคคลแจ้งว่ายังไม่สามารถบอกได้ ทางเพื่อนดิฉันก็หางานใหม่เมื่อได้ก็มาทำเรื่องของลาออก ทางบริษัทบอกว่าจะทำการบรรจุเป็นพนักงานประจำให้ถ้าไม่ลาออก แต่สุดท้ายเพื่อนของดิฉันก็ลาออก พร้อมกับมีหนึ่งคำถามเกิดขึ้นว่า " ทำไมต้องให้ลาออกก่อนถึงจะบรรจุเป็นพนักงานให้" ดิฉันคิดว่าการที่บริษัททำการ Training การทำงานให้กับพนักงานมันเป็นค่าใช้จ่ายอย่างหนึ่ง ซึ่งต้องทั้งใช้เงินและเวลาจำนวนหนึ่ง ในการที่จะฝึกคนให้มีเชี่ยวชาญในวิชาชีพนั้น Innovation จะไม่สามารถเกิดขึ้นได้ ถ้าคนไม่มีใจให้งาน การพัฒนาก็จะไม่เกิดขึ้น ดังนั้นคำขวัญที่ว่า " พัฒนาคน พัฒนางาน พัฒนาชาติ " ก็ยังน่าจะเข้าได้กับทุกยุคทุกสมัย ดังนั้นจึงพึงระลึกว่า คนเราคิดยังไงก็ได้อย่างนั้น คิดว่าทำไม่ได้ ก็ทำไม่ได้ตั้งแต่คิด คิดว่าแพ้ ก็แพ้ตั้งแต่คิด

4. เราจะเอาความรู้เรื่องทรัพยากรมนุษย์ไปใช้ให้ได้ผลจริง ๆ หรือทำโครงการที่เป็นรูปธรรมในเรื่องใด

ดิฉันคิดว่า ดิฉันจะนำความรู้ที่จากการฟังบรรยายเรื่อง " HR and Innovation " ไปใช้ประโยชน์ในการดำเนินชีวิต ดิฉัน แต่ขออนุญาตยังไม่ขอพูดถึงเรื่องในอนาคตนะคะ อย่างน้อยที่สุดวันนี้ดิฉันได้แนะนำหัวหน้างานดิฉันของดิฉันให้มาเข้ามาเยี่ยมชม www.ChiraAcademy.com ของอาจารย์ ดิฉันคิดว่ามันก็ถือเป็น Innovation อย่างหนึ่งเลยนะคะ ที่ใช้อินเตอร์เน็ตเป็นตัวถ่ายทอดแนวความคิดในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่เชื่อว่าอาจารย์ก็ตั้งใจจะถ่ายทอดความรู้ที่อาจารย์มีให้กับสาธารณะชนได้รับทราบ เพราะวันนี้หัวหน้างานดิฉันก็ได้เข้าไปอ่าน ดิฉันถือว่ามันเป็นโอกาสให้เกิดการเรียนรู้จากอาณาจักรแห่งการเรียนรู้

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท