ทิศทางเชิงยุทธศาสตร์ด้านวิชาการของพื้นที่ภาคเหนือ


ยุทธศาสตร์ด้านวิชาการยาเสพติด (ภาคเหนือ)

ฉอ

๑.   การศึกษาและพัฒนาชุดโครงการที่ใช้ชุมชนเป็นฐาน (Community

Based Program) โดยเน้นชุมชนเป็นศูนย์กลางทางวิชาการ ทั้งนี้ต้องสร้างคำจำกัดความ ของคำว่า “ชุมชน” เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกัน  อย่างไรก็ตามยังคงไม่ละทิ้งงานวิจัยที่มีลักษณะเป็น “โครงการ” แต่เน้นโครงการด้านชุมชน ซึ่งต้องกำหนดองค์ประกอบให้ชัดเจนว่า ชุมชน/พื้นที่แต่ละแห่งต้องการองค์ความรู้ในการสนับสนุนการทำงานในประเด็นใด เช่น ด้านการให้คำปรึกษา เป็นต้น

๒.  การศึกษาและพัฒนาชุดโครงการที่ใช้สถาบันเป็นฐาน (Institution

Based Program) โดยการพัฒนาองค์ความรู้ร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในประเด็นหรือกลุ่มเป้าหมายร่วมกัน

๓.     การศึกษาและพัฒนาองค์ความรู้ในการดูแล “กลุ่มเสี่ยง” ที่ยั่งยืน  โดยการบูรณาการ

ด้านสุขภาพ และการทำงานฐานชุมชน  เช่น  บูรณาการกับกลไกที่สอดคล้องกับกลไกภารกิจตามระบบงานสาธารณสุขของภาครัฐ  รวมถึงพัฒนางานรณรงค์ที่เป็นชุดรณรงค์ผ่านสื่อมวลชน (Air War) และการปฏิบัติการในพื้นที่ (Ground War)  

๔. การพัฒนาระบบฐานข้อมูล

 

 

˜ โจทย์ ประเด็นวิจัย ในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ๒๕๕๖

พื้นที่ภาคเหนือ

 

› มิติด้านการปราบปรามยาเสพติด

0 การศึกษาด้านการสกัดกั้นตามแนวชายแดน      

0การศึกษาเกี่ยวกับกลุ่มชนเผ่าและผู้พ้นโทษ

0การศึกษาด้านตัวยา

-การเฝ้าระวังตัวยาที่ยังเป็นความต้องการของพื้นที่ โดยการพัฒนา drug profile

-พืชเสพติด : ฝิ่น กระท่อม

-การจัดการความรู้ด้วยการสังเคราะห์ ไอซ์ สูโดอีฟรีดีน ยาที่ถูกกฎหมาย

-สารระเหย :  สถานการณ์สารระเหยบนพื้นที่สูง การแก้ไขปัญหาสารระเหยเชิงบริหารจัดการ เช่น

ปัญหาเรื่องการควบคุมตัวผู้เสพผู้ติดตามระบบบังคับบำบัด การตรวจพิสูจน์  การพัฒนาองค์ความรู้ทางวิชาการเพื่อกำหนดแนวทางการปรับระบบบริการ และแนวทางการแก้ไขเชิงนโยบาย   แนวทางการบำบัด/ดูแลที่เหมาะสม (ที่ลึกซึ้งกว่าระดับจิตสังคม  ไปจนถึงการดูแลโดยจิตแพทย์)  การแก้ไขปัญหาในชนกลุ่มชนเผ่าในภาคเหนือ ได้แก่ ม้ง และมูเซอแดงที่สูดดมสารระเหย  

-ไอซ์  :  

*การติดตามปัญหาไอซ์ ที่ไทยยังตามไม่ทัน  โดยติดตามครบวงจรทั้งด้านการศึกษาสถานการณ์ไอซ์

นอกประเทศการเสพ/กลุ่มผู้เสพ รูปแบบ/วิธีการเสพแบบผสมผสานตัวยา  การปรุง(ยา)  ผลกระทบต่อสุขภาพ การศึกษาด้านการค้า การตลาด การค้ารายย่อย  ทิศทางการที่ไอซ์ทดแทนตลาดยาบ้า และการขยายตลาดรายใหม่ การศึกษาวงจรนำเข้า - ส่งออกไอซ์  การติดตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงเร็ว และแตกต่างกันในแต่ละพื้นที่ ตลอดจนการศึกษาด้านพิษวิทยา  และผลกระทบต่อสุขภาพที่ชัดเจนของการเสพไอซ์

*การพัฒนากลไกการจัดการปัญหาที่ชัดเจน เนื่องจากพื้นที่ภาคเหนือเกิดการแพร่ระบาดมาก ซึ่งมี

ความจำเป็นต้องเข้าใจบริบท ของการเสพ การค้า  การพัฒนาของไอซ์จากยาเสพติดเพื่อความบันเทิงกลายเป็นยาเสพติดทั่วไป การเจาะตลาดชนบท การขายคู่ยาบ้า การใฝ่ฝันของผู้เสพยาบ้าที่ต้องการพัฒนาไปเสพไอซ์

          *การพัฒนาระบบข้อมูลเรื่องไอซ์ที่แยกออกจากฐานข้อมูลยาบ้าหรือเมทแอมเฟตามีนอื่นๆ  ประกอบด้วยการพัฒนา แบบฟอร์ม/การกรอกข้อมูลต่างๆ  รวมถึงฐาน drug profile

*การเฝ้าระวังการเผยแพร่วิธีการผลิต (kitchen lab) ผ่านอินเทอร์เน็ต การเฝ้าระวังการจัดซื้อเครื่องมือผลิต  

*การศึกษาบทเรียนการจัดการปัญหาและประสิทธิภาพของสื่อ/สื่อสารมวลชนที่ประสบผลสำเร็จของ

ประเทศอื่นๆ ในการควบคุมปัญหา เช่น  สหรัฐอเมริกา  ออสเตรเลีย ซึ่งเป็นประเทศที่มีแหล่งผลิตรอบประเทศ  โดยต้องศึกษาความสอดคล้องถึงพื้นฐานความคิดของประเทศตัวอย่างและไทย   โดยวิเคราะห์บริบทของไทย ตลอดจนการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการผลิตไอซ์ซึ่งดำเนินการในต่างประเทศให้กับบุคลากรของไทย เช่น ตำรวจ เพื่อประโยชน์ในการเท่าทันสถานการณ์และรูปแบบการแพร่ระบาดในประเทศไทย

 

0 การศึกษาด้านกฎหมาย โดยการศึกษาเกี่ยวกับ

-ยุติธรรมชุมชน/ทางเลือก

-การบังคับบำบัด

-ยาที่ถูกกฎหมาย

-กฎหมายเกี่ยวข้องกับเยาวชน/สิทธิมนุษยชน

-องค์กรปกครองท้องถิ่น

› มิติด้านการป้องกัน

-การส่งเสริมท้องถิ่น/ชุมชนเข้มแข็ง เช่น ศึกษาการแบ่งสีในสังคมไทย โดยเฉพาะพื้นที่ภาคเหนือกับการทำงานด้านยาเสพติด  การเมืองท้องถิ่นกับการกระจายอำนาจ และงานยุติธรรมชุมชน

-การสร้างกระแสปรองดองโดยใช้การแก้ไขปัญหายาเสพติดเป็นหลักในการแก้ไขปัญหาร่วมกัน และการศึกษาเปรียบเทียบการดำเนินงานด้านยาเสพติดในพื้นที่สีเหลืองและสีแดง)  

› มิติด้านการบำบัด

-การบำบัดตามภูมิปัญญาชาวบ้าน

-การบูรณาการงานยาเสพติดกับระบบบริการเรื่องสุขภาพ (การมองยาเสพติดในภาพรวมของระบบบริการสุขภาพ) การตั้งหน่วย one stop service ในชุมชน ร่วมกับการแก้ไขปัญหาสุขภาพอื่น เพื่อพัฒนาและทดสอบรูปแบบการดำเนินงานเพื่อเพิ่มจำนวนผู้เข้ารับการบำบัดสมัครใจ

› มิติด้านการบริหารจัดการ

-การสังเคราะห์งานวิจัย การจัดทำแผนที่ความรู้ และการจัดตั้ง Knowledge clearing house

 

˜ ข้อเสนอการบริหารการวิจัย/รูปแบบ และกลไก

-การพัฒนางานวิจัย

-การสนับสนุนให้เกิดผู้วิจัย

-การพัฒนาศักยภาพผู้วิจัย

-การสนับสนุนให้ผู้ปฏิบัติงานเข้าร่วมการวิจัย เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ และนำความรู้ไปใช้ในการให้คำปรึกษากับชุมชน/บุคคลที่เกี่ยวข้องในวงจรยาเสพติดได้

-การพัฒนางานวิชาการจากงานประจำ (R2R)หรือ การพัฒนางานวิจัยเพื่อชุมชน (Research to Community:R2C)  โดยการลงชุมชนด้วยจิตอาสาของนักวิจัย เพื่อให้เกิดเครื่องมือ กลไก วิธีการ ทักษะในการควบคุมปัญหาได้ และเพื่อให้เกิด นโยบายที่เกิดจากข้อมูลเชิงวิชาการที่เชื่อถือได้ (evidence policy) ที่แท้จริง รวมถึงงาน/ระบบเฝ้าระวังในชุมชนโดยสมาชิกชุมชน และระบบหนุนเสริมจากภาครัฐ เช่น ระบบข้อมูลภาครัฐ 

-การวิเคราะห์คุณภาพผลงานวิจัย ที่จะนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์  ให้ประชาชนเป็นศูนย์กลาง

เช่น การบำบัดโดยค่ายทหารกับความเหมาะสมในการบำบัดยาเสพติด

          -ระบบสนับสนุน/งบประมาณ

-การจัดสรรงบประมาณ เงินอุดหนุนด้านวิชาการ การเปิดกรอบเงินอุดหนุนภาคประชาชนด้านวิจัยเชิงปฏิบัติการ / R2R ให้ชุมชนเข้าถึงได้ (โดยไม่เน้นด้านระเบียบวิธีวิจัย) เพื่อให้ผู้ที่เข้าร่วมดำเนินงานเกิดความมั่นใจ            

-การบูรณาการงบประมาณพัฒนาวิชาการร่วมกับงบประมาณกองทุนแม่ของแผ่นดิน การสนับสนุนการดำเนินงานพร้อมพี่เลี้ยง ให้ชุมชนเรียนรู้และสามารถใช้งบประมาณร่วมในกองทุนแม่ของแผ่นดินของชุมชน

-การดำเนินงานบนระบบข้อมูล อย่างไรก็ตามปัจจุบันยังไม่มีฐานข้อมูลจากส่วนกลางที่เชื่อมโยงถึงระดับภาค ยังไม่มีการผ่องถ่ายข้อมูลที่ภาคสามารถใช้และบริหารข้อมูลได้  และรวมถึงยังไม่สามารถส่งเสริมให้นักวิจัยสามารถเข้าถึงฐานข้อมูลเพื่อวิเคราะห์ และใช้งานได้ (ปัจจุบันยังผูกขาดที่ส่วนกลาง)

          -การผนวกงานยาเสพติดกับงานสุขภาวะด้านสุขภาพ เช่น การสร้างเครือข่ายสถานีอนามัย เพิ่มศักยภาพของสถานีอนามัย การมีพยาบาลเข้าถึงผู้ป่วยที่บ้าน (ลักษณะเดียวกับการดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง มะเร็ง ผู้สูงอายุ)   อย่างไรก็ตามในหมู่บ้านแต่ละแห่งมีผู้มีอิทธิพล ซึ่งนักวิจัยและนักพัฒนาต้องเข้าถึง เช่น  ผู้ใหญ่ที่ชาวบ้านเกรงใจ ส่วนใหญ่จะเป็นครู และพระสงฆ์

-โครงการนักสื่อสารสุขภาพ (เช่น มีการฝึกอบรมพรสงฆ์ให้ทราบถึงปัญหาต่าง ๆ ซึ่งพระสงฆ์สามารถนำไปแทรกความรู้เทศนาให้ชาวบ้าน)

-พัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชน  ฝึกอบรมให้อาสาสมัครสาธารณสุขสามารถดูแลงานด้านยาเสพติด มีการสนับสนุนงบประมาณจัดกิจกรรม และพัฒนาศักยภาพด้านการวิจัยเพื่องานยาเสพติด  

-กรณีหมู่บ้านที่ยังไม่เข้มแข็งอาจใช้ อสม. ดูแลตามคุ้มบ้าน

-การสร้าง/พัฒนาหลักสูตรในการเสริมสร้างศักยภาพกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ในลักษณะที่เป็นหลักสูตรระยะยาว (ที่ผ่านมาเน้นหลักสูตรระยะสั้น ซึ่งไม่มีประสิทธิภาพ)  และนำหลักสูตรนั้นๆ ลงสู่ชุมชน ซึ่งต้องเป็นชุดองค์ความรู้ที่ง่าย ช่วยคนทำงานระดับชุมชนให้ทำงานได้ด้วยการมีส่วนร่วม มีกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจน เช่น อาสาสมัครในชุมชน บูรณาการทุกชุมชน โดยการทำเครื่องมือต่างๆ ให้ง่าย  มีคู่มือที่นำไปใช้ได้ง่าย ระบุให้ชัดเจนว่าการดำเนินงานใดที่บุคลากรระดับใดสามารถดำเนินการได้เอง และระดับใดจำเป็นต้องส่งต่อ      -มีการตัวชี้วัดของชุมชน เช่น ตัวชี้วัดความสุข การวัดต้นทุนชีวิต (ซึ่งพัฒนาโดย นพ.สุริยเดว ทรีปาตี)  โดยโดยการนำ รูปแบบการดำเนินงานที่พัฒนาขึ้นแล้วในบริบทอื่นมาปรับใช้ให้เข้ากับบริบทของแต่ละพื้นที่ในภาคเหนือ เช่น กลุ่มชาวเขา 

-การระบุพื้นที่/ชุมชน เป้าหมาย ทั้ง area  base /community base ใช้ฐานข้อมูลที่มีบ่งชี้เป้าหมาย โดยการค้นหาศักยภาพที่มีอยู่แต่เดิม และพัฒนาต่อยอด การกำหนดการดำเนินงานที่แตกต่างกันระหว่างพื้นที่ เช่น สถานการณ์ปัญหา ศักยภาพของชุมชน ซึ่งต้องการชุดเครื่องมือที่แตกต่างกัน ชุดความรู้ที่จะให้สำหรับผู้ทำงานด้านป้องกันเด็ก เช่น ชุดความรู้ด้านครอบครัว โดยเฉพาะอย่างยิ่งครอบครัวเสี่ยง

-การฝึกอบรมให้ผู้เกี่ยวข้องในกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ต้องมีชุดภาษาที่สามารถสื่อสารเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้จริง เช่น เด็กกลุ่มเสี่ยง ซึ่งหากการสื่อสารผิดกลุ่มเป้าหมายจะไม่เชื่อถือ กลไกเหล่านี้ (นักวิจัย/นักปฏิบัติ) ในพื้นที่ต้องค้นหาคนที่มีใจ ซึ่งเป็นเรื่องยาก และต้องมีพี่เลี้ยงสนับสนุน  

-การพัฒนาระบบที่ยั่งยืน และบุคลากรที่อยู่ยาวนานพอ ซึ่งระบบรัฐยังไม่เกื้อหนุนเนื่องจากใช้หลักการโยกย้าย การสรรหาต้องหาแกนนำธรรมชาติ และระบบอาสาสมัครในชุมชนที่มีอยู่ และภาครัฐเป็นผู้ประเมินความสนใจของแกนนำนั้นๆ  และเสริมองค์ความรู้  รวมทั้งต้องสร้างความร่วมมือและระบบแรงจูงใจที่ชัดเจน  

          -การมี team mobile เพื่อจัดสันทนาการ วิทยากรกระบวนการ  เพื่อเริ่มต้นสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน

-การพัฒนาเครื่องมือต่างๆ ที่ใช้แก้ไขปัญหาในชุมชน สมาชิกชุมชนควรเข้ามามีส่วนร่วมตั้งแต่การพัฒนาเครื่องมือเพื่อการวิเคราะห์ เข้าใจปัญหาที่เกิดจากสมาชิกชุมชนจริงๆ  โดยดูสมรรถนะของชุมชนว่าพร้อมเข้าร่วมในระดับใด (ตามทฤษฎีหลักการมีส่วนร่วม ๕ ขั้นตอน)

˜ ทิศทางเชิงยุทธศาสตร์ด้านวิชาการของพื้นที่ภาคเหนือ

๑.   การศึกษาและพัฒนาชุดโครงการที่ใช้ชุมชนเป็นฐาน (Community

Based Program) โดยเน้นชุมชนเป็นศูนย์กลางทางวิชาการ ทั้งนี้ต้องสร้างคำจำกัดความ ของคำว่า “ชุมชน” เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกัน  อย่างไรก็ตามยังคงไม่ละทิ้งงานวิจัยที่มีลักษณะเป็น “โครงการ” แต่เน้นโครงการด้านชุมชน ซึ่งต้องกำหนดองค์ประกอบให้ชัดเจนว่า ชุมชน/พื้นที่แต่ละแห่งต้องการองค์ความรู้ในการสนับสนุนการทำงานในประเด็นใด เช่น ด้านการให้คำปรึกษา เป็นต้น

๒.  การศึกษาและพัฒนาชุดโครงการที่ใช้สถาบันเป็นฐาน (Institution

Based Program) โดยการพัฒนาองค์ความรู้ร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในประเด็นหรือกลุ่มเป้าหมายร่วมกัน

๓.     การศึกษาและพัฒนาองค์ความรู้ในการดูแล “กลุ่มเสี่ยง” ที่ยั่งยืน  โดยการบูรณาการ

ด้านสุขภาพ และการทำงานฐานชุมชน  เช่น  บูรณาการกับกลไกที่สอดคล้องกับกลไกภารกิจตามระบบงานสาธารณสุขของภาครัฐ  รวมถึงพัฒนางานรณรงค์ที่เป็นชุดรณรงค์ผ่านสื่อมวลชน (Air War) และการปฏิบัติการในพื้นที่ (Ground War)  

๔. การพัฒนาระบบฐานข้อมูล

 

 

˜ โจทย์ ประเด็นวิจัย ในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ๒๕๕๖

พื้นที่ภาคเหนือ

 

› มิติด้านการปราบปรามยาเสพติด

0 การศึกษาด้านการสกัดกั้นตามแนวชายแดน      

0การศึกษาเกี่ยวกับกลุ่มชนเผ่าและผู้พ้นโทษ

0การศึกษาด้านตัวยา

-การเฝ้าระวังตัวยาที่ยังเป็นความต้องการของพื้นที่ โดยการพัฒนา drug profile

-พืชเสพติด : ฝิ่น กระท่อม

-การจัดการความรู้ด้วยการสังเคราะห์ ไอซ์ สูโดอีฟรีดีน ยาที่ถูกกฎหมาย

-สารระเหย :  สถานการณ์สารระเหยบนพื้นที่สูง การแก้ไขปัญหาสารระเหยเชิงบริหารจัดการ เช่น

ปัญหาเรื่องการควบคุมตัวผู้เสพผู้ติดตามระบบบังคับบำบัด การตรวจพิสูจน์  การพัฒนาองค์ความรู้ทางวิชาการเพื่อกำหนดแนวทางการปรับระบบบริการ และแนวทางการแก้ไขเชิงนโยบาย   แนวทางการบำบัด/ดูแลที่เหมาะสม (ที่ลึกซึ้งกว่าระดับจิตสังคม  ไปจนถึงการดูแลโดยจิตแพทย์)  การแก้ไขปัญหาในชนกลุ่มชนเผ่าในภาคเหนือ ได้แก่ ม้ง และมูเซอแดงที่สูดดมสารระเหย  

-ไอซ์  :  

*การติดตามปัญหาไอซ์ ที่ไทยยังตามไม่ทัน  โดยติดตามครบวงจรทั้งด้านการศึกษาสถานการณ์ไอซ์

นอกประเทศการเสพ/กลุ่มผู้เสพ รูปแบบ/วิธีการเสพแบบผสมผสานตัวยา  การปรุง(ยา)  ผลกระทบต่อสุขภาพ การศึกษาด้านการค้า การตลาด การค้ารายย่อย  ทิศทางการที่ไอซ์ทดแทนตลาดยาบ้า และการขยายตลาดรายใหม่ การศึกษาวงจรนำเข้า - ส่งออกไอซ์  การติดตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงเร็ว และแตกต่างกันในแต่ละพื้นที่ ตลอดจนการศึกษาด้านพิษวิทยา  และผลกระทบต่อสุขภาพที่ชัดเจนของการเสพไอซ์

*การพัฒนากลไกการจัดการปัญหาที่ชัดเจน เนื่องจากพื้นที่ภาคเหนือเกิดการแพร่ระบาดมาก ซึ่งมี

ความจำเป็นต้องเข้าใจบริบท ของการเสพ การค้า  การพัฒนาของไอซ์จากยาเสพติดเพื่อความบันเทิงกลายเป็นยาเสพติดทั่วไป การเจาะตลาดชนบท การขายคู่ยาบ้า การใฝ่ฝันของผู้เสพยาบ้าที่ต้องการพัฒนาไปเสพไอซ์

          *การพัฒนาระบบข้อมูลเรื่องไอซ์ที่แยกออกจากฐานข้อมูลยาบ้าหรือเมทแอมเฟตามีนอื่นๆ  ประกอบด้วยการพัฒนา แบบฟอร์ม/การกรอกข้อมูลต่างๆ  รวมถึงฐาน drug profile

*การเฝ้าระวังการเผยแพร่วิธีการผลิต (kitchen lab) ผ่านอินเทอร์เน็ต การเฝ้าระวังการจัดซื้อเครื่องมือผลิต  

*การศึกษาบทเรียนการจัดการปัญหาและประสิทธิภาพของสื่อ/สื่อสารมวลชนที่ประสบผลสำเร็จของ

ประเทศอื่นๆ ในการควบคุมปัญหา เช่น  สหรัฐอเมริกา  ออสเตรเลีย ซึ่งเป็นประเทศที่มีแหล่งผลิตรอบประเทศ  โดยต้องศึกษาความสอดคล้องถึงพื้นฐานความคิดของประเทศตัวอย่างและไทย   โดยวิเคราะห์บริบทของไทย ตลอดจนการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการผลิตไอซ์ซึ่งดำเนินการในต่างประเทศให้กับบุคลากรของไทย เช่น ตำรวจ เพื่อประโยชน์ในการเท่าทันสถานการณ์และรูปแบบการแพร่ระบาดในประเทศไทย

 

0 การศึกษาด้านกฎหมาย โดยการศึกษาเกี่ยวกับ

-ยุติธรรมชุมชน/ทางเลือก

-การบังคับบำบัด

-ยาที่ถูกกฎหมาย

-กฎหมายเกี่ยวข้องกับเยาวชน/สิทธิมนุษยชน

-องค์กรปกครองท้องถิ่น

› มิติด้านการป้องกัน

-การส่งเสริมท้องถิ่น/ชุมชนเข้มแข็ง เช่น ศึกษาการแบ่งสีในสังคมไทย โดยเฉพาะพื้นที่ภาคเหนือกับการทำงานด้านยาเสพติด  การเมืองท้องถิ่นกับการกระจายอำนาจ และงานยุติธรรมชุมชน

-การสร้างกระแสปรองดองโดยใช้การแก้ไขปัญหายาเสพติดเป็นหลักในการแก้ไขปัญหาร่วมกัน และการศึกษาเปรียบเทียบการดำเนินงานด้านยาเสพติดในพื้นที่สีเหลืองและสีแดง)  

› มิติด้านการบำบัด

-การบำบัดตามภูมิปัญญาชาวบ้าน

-การบูรณาการงานยาเสพติดกับระบบบริการเรื่องสุขภาพ (การมองยาเสพติดในภาพรวมของระบบบริการสุขภาพ) การตั้งหน่วย one stop service ในชุมชน ร่วมกับการแก้ไขปัญหาสุขภาพอื่น เพื่อพัฒนาและทดสอบรูปแบบการดำเนินงานเพื่อเพิ่มจำนวนผู้เข้ารับการบำบัดสมัครใจ

› มิติด้านการบริหารจัดการ

-การสังเคราะห์งานวิจัย การจัดทำแผนที่ความรู้ และการจัดตั้ง Knowledge clearing house

 

˜ ข้อเสนอการบริหารการวิจัย/รูปแบบ และกลไก

-การพัฒนางานวิจัย

-การสนับสนุนให้เกิดผู้วิจัย

-การพัฒนาศักยภาพผู้วิจัย

-การสนับสนุนให้ผู้ปฏิบัติงานเข้าร่วมการวิจัย เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ และนำความรู้ไปใช้ในการให้คำปรึกษากับชุมชน/บุคคลที่เกี่ยวข้องในวงจรยาเสพติดได้

-การพัฒนางานวิชาการจากงานประจำ (R2R)หรือ การพัฒนางานวิจัยเพื่อชุมชน (Research to Community:R2C)  โดยการลงชุมชนด้วยจิตอาสาของนักวิจัย เพื่อให้เกิดเครื่องมือ กลไก วิธีการ ทักษะในการควบคุมปัญหาได้ และเพื่อให้เกิด นโยบายที่เกิดจากข้อมูลเชิงวิชาการที่เชื่อถือได้ (evidence policy) ที่แท้จริง รวมถึงงาน/ระบบเฝ้าระวังในชุมชนโดยสมาชิกชุมชน และระบบหนุนเสริมจากภาครัฐ เช่น ระบบข้อมูลภาครัฐ 

-การวิเคราะห์คุณภาพผลงานวิจัย ที่จะนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์  ให้ประชาชนเป็นศูนย์กลาง

เช่น การบำบัดโดยค่ายทหารกับความเหมาะสมในการบำบัดยาเสพติด

          -ระบบสนับสนุน/งบประมาณ

-การจัดสรรงบประมาณ เงินอุดหนุนด้านวิชาการ การเปิดกรอบเงินอุดหนุนภาคประชาชนด้านวิจัยเชิงปฏิบัติการ / R2R ให้ชุมชนเข้าถึงได้ (โดยไม่เน้นด้านระเบียบวิธีวิจัย) เพื่อให้ผู้ที่เข้าร่วมดำเนินงานเกิดความมั่นใจ            

-การบูรณาการงบประมาณพัฒนาวิชาการร่วมกับงบประมาณกองทุนแม่ของแผ่นดิน การสนับสนุนการดำเนินงานพร้อมพี่เลี้ยง ให้ชุมชนเรียนรู้และสามารถใช้งบประมาณร่วมในกองทุนแม่ของแผ่นดินของชุมชน

-การดำเนินงานบนระบบข้อมูล อย่างไรก็ตามปัจจุบันยังไม่มีฐานข้อมูลจากส่วนกลางที่เชื่อมโยงถึงระดับภาค ยังไม่มีการผ่องถ่ายข้อมูลที่ภาคสามารถใช้และบริหารข้อมูลได้  และรวมถึงยังไม่สามารถส่งเสริมให้นักวิจัยสามารถเข้าถึงฐานข้อมูลเพื่อวิเคราะห์ และใช้งานได้ (ปัจจุบันยังผูกขาดที่ส่วนกลาง)

          -การผนวกงานยาเสพติดกับงานสุขภาวะด้านสุขภาพ เช่น การสร้างเครือข่ายสถานีอนามัย เพิ่มศักยภาพของสถานีอนามัย การมีพยาบาลเข้าถึงผู้ป่วยที่บ้าน (ลักษณะเดียวกับการดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง มะเร็ง ผู้สูงอายุ)   อย่างไรก็ตามในหมู่บ้านแต่ละแห่งมีผู้มีอิทธิพล ซึ่งนักวิจัยและนักพัฒนาต้องเข้าถึง เช่น  ผู้ใหญ่ที่ชาวบ้านเกรงใจ ส่วนใหญ่จะเป็นครู และพระสงฆ์

-โครงการนักสื่อสารสุขภาพ (เช่น มีการฝึกอบรมพรสงฆ์ให้ทราบถึงปัญหาต่าง ๆ ซึ่งพระสงฆ์สามารถนำไปแทรกความรู้เทศนาให้ชาวบ้าน)

-พัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชน  ฝึกอบรมให้อาสาสมัครสาธารณสุขสามารถดูแลงานด้านยาเสพติด มีการสนับสนุนงบประมาณจัดกิจกรรม และพัฒนาศักยภาพด้านการวิจัยเพื่องานยาเสพติด  

-กรณีหมู่บ้านที่ยังไม่เข้มแข็งอาจใช้ อสม. ดูแลตามคุ้มบ้าน

-การสร้าง/พัฒนาหลักสูตรในการเสริมสร้างศักยภาพกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ในลักษณะที่เป็นหลักสูตรระยะยาว (ที่ผ่านมาเน้นหลักสูตรระยะสั้น ซึ่งไม่มีประสิทธิภาพ)  และนำหลักสูตรนั้นๆ ลงสู่ชุมชน ซึ่งต้องเป็นชุดองค์ความรู้ที่ง่าย ช่วยคนทำงานระดับชุมชนให้ทำงานได้ด้วยการมีส่วนร่วม มีกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจน เช่น อาสาสมัครในชุมชน บูรณาการทุกชุมชน โดยการทำเครื่องมือต่างๆ ให้ง่าย  มีคู่มือที่นำไปใช้ได้ง่าย ระบุให้ชัดเจนว่าการดำเนินงานใดที่บุคลากรระดับใดสามารถดำเนินการได้เอง และระดับใดจำเป็นต้องส่งต่อ      -มีการตัวชี้วัดของชุมชน เช่น ตัวชี้วัดความสุข การวัดต้นทุนชีวิต (ซึ่งพัฒนาโดย นพ.สุริยเดว ทรีปาตี)  โดยโดยการนำ รูปแบบการดำเนินงานที่พัฒนาขึ้นแล้วในบริบทอื่นมาปรับใช้ให้เข้ากับบริบทของแต่ละพื้นที่ในภาคเหนือ เช่น กลุ่มชาวเขา 

-การระบุพื้นที่/ชุมชน เป้าหมาย ทั้ง area  base /community base ใช้ฐานข้อมูลที่มีบ่งชี้เป้าหมาย โดยการค้นหาศักยภาพที่มีอยู่แต่เดิม และพัฒนาต่อยอด การกำหนดการดำเนินงานที่แตกต่างกันระหว่างพื้นที่ เช่น สถานการณ์ปัญหา ศักยภาพของชุมชน ซึ่งต้องการชุดเครื่องมือที่แตกต่างกัน ชุดความรู้ที่จะให้สำหรับผู้ทำงานด้านป้องกันเด็ก เช่น ชุดความรู้ด้านครอบครัว โดยเฉพาะอย่างยิ่งครอบครัวเสี่ยง

-การฝึกอบรมให้ผู้เกี่ยวข้องในกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ต้องมีชุดภาษาที่สามารถสื่อสารเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้จริง เช่น เด็กกลุ่มเสี่ยง ซึ่งหากการสื่อสารผิดกลุ่มเป้าหมายจะไม่เชื่อถือ กลไกเหล่านี้ (นักวิจัย/นักปฏิบัติ) ในพื้นที่ต้องค้นหาคนที่มีใจ ซึ่งเป็นเรื่องยาก และต้องมีพี่เลี้ยงสนับสนุน  

-การพัฒนาระบบที่ยั่งยืน และบุคลากรที่อยู่ยาวนานพอ ซึ่งระบบรัฐยังไม่เกื้อหนุนเนื่องจากใช้หลักการโยกย้าย การสรรหาต้องหาแกนนำธรรมชาติ และระบบอาสาสมัครในชุมชนที่มีอยู่ และภาครัฐเป็นผู้ประเมินความสนใจของแกนนำนั้นๆ  และเสริมองค์ความรู้  รวมทั้งต้องสร้างความร่วมมือและระบบแรงจูงใจที่ชัดเจน  

          -การมี team mobile เพื่อจัดสันทนาการ วิทยากรกระบวนการ  เพื่อเริ่มต้นสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน

-การพัฒนาเครื่องมือต่างๆ ที่ใช้แก้ไขปัญหาในชุมชน สมาชิกชุมชนควรเข้ามามีส่วนร่วมตั้งแต่การพัฒนาเครื่องมือเพื่อการวิเคราะห์ เข้าใจปัญหาที่เกิดจากสมาชิกชุมชนจริงๆ  โดยดูสมรรถนะของชุมชนว่าพร้อมเข้าร่วมในระดับใด (ตามทฤษฎีหลักการมีส่วนร่วม ๕ ขั้นตอน)

 ˜ ทิศทางเชิงยุทธศาสตร์ด้านวิชาการของพื้นที่ภาคเหนือ

๑.   การศึกษาและพัฒนาชุดโครงการที่ใช้ชุมชนเป็นฐาน (Community

Based Program) โดยเน้นชุมชนเป็นศูนย์กลางทางวิชาการ ทั้งนี้ต้องสร้างคำจำกัดความ ของคำว่า “ชุมชน” เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกัน  อย่างไรก็ตามยังคงไม่ละทิ้งงานวิจัยที่มีลักษณะเป็น “โครงการ” แต่เน้นโครงการด้านชุมชน ซึ่งต้องกำหนดองค์ประกอบให้ชัดเจนว่า ชุมชน/พื้นที่แต่ละแห่งต้องการองค์ความรู้ในการสนับสนุนการทำงานในประเด็นใด เช่น ด้านการให้คำปรึกษา เป็นต้น

๒.  การศึกษาและพัฒนาชุดโครงการที่ใช้สถาบันเป็นฐาน (Institution

Based Program) โดยการพัฒนาองค์ความรู้ร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในประเด็นหรือกลุ่มเป้าหมายร่วมกัน

๓.     การศึกษาและพัฒนาองค์ความรู้ในการดูแล “กลุ่มเสี่ยง” ที่ยั่งยืน  โดยการบูรณาการ

ด้านสุขภาพ และการทำงานฐานชุมชน  เช่น  บูรณาการกับกลไกที่สอดคล้องกับกลไกภารกิจตามระบบงานสาธารณสุขของภาครัฐ  รวมถึงพัฒนางานรณรงค์ที่เป็นชุดรณรงค์ผ่านสื่อมวลชน (Air War) และการปฏิบัติการในพื้นที่ (Ground War)  

๔. การพัฒนาระบบฐานข้อมูล

 

 

˜ โจทย์ ประเด็นวิจัย ในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ๒๕๕๖

พื้นที่ภาคเหนือ

 

› มิติด้านการปราบปรามยาเสพติด

0 การศึกษาด้านการสกัดกั้นตามแนวชายแดน      

0การศึกษาเกี่ยวกับกลุ่มชนเผ่าและผู้พ้นโทษ

0การศึกษาด้านตัวยา

-การเฝ้าระวังตัวยาที่ยังเป็นความต้องการของพื้นที่ โดยการพัฒนา drug profile

-พืชเสพติด : ฝิ่น กระท่อม

-การจัดการความรู้ด้วยการสังเคราะห์ ไอซ์ สูโดอีฟรีดีน ยาที่ถูกกฎหมาย

-สารระเหย :  สถานการณ์สารระเหยบนพื้นที่สูง การแก้ไขปัญหาสารระเหยเชิงบริหารจัดการ เช่น

ปัญหาเรื่องการควบคุมตัวผู้เสพผู้ติดตามระบบบังคับบำบัด การตรวจพิสูจน์  การพัฒนาองค์ความรู้ทางวิชาการเพื่อกำหนดแนวทางการปรับระบบบริการ และแนวทางการแก้ไขเชิงนโยบาย   แนวทางการบำบัด/ดูแลที่เหมาะสม (ที่ลึกซึ้งกว่าระดับจิตสังคม  ไปจนถึงการดูแลโดยจิตแพทย์)  การแก้ไขปัญหาในชนกลุ่มชนเผ่าในภาคเหนือ ได้แก่ ม้ง และมูเซอแดงที่สูดดมสารระเหย  

-ไอซ์  :  

*การติดตามปัญหาไอซ์ ที่ไทยยังตามไม่ทัน  โดยติดตามครบวงจรทั้งด้านการศึกษาสถานการณ์ไอซ์

นอกประเทศการเสพ/กลุ่มผู้เสพ รูปแบบ/วิธีการเสพแบบผสมผสานตัวยา  การปรุง(ยา)  ผลกระทบต่อสุขภาพ การศึกษาด้านการค้า การตลาด การค้ารายย่อย  ทิศทางการที่ไอซ์ทดแทนตลาดยาบ้า และการขยายตลาดรายใหม่ การศึกษาวงจรนำเข้า - ส่งออกไอซ์  การติดตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงเร็ว และแตกต่างกันในแต่ละพื้นที่ ตลอดจนการศึกษาด้านพิษวิทยา  และผลกระทบต่อสุขภาพที่ชัดเจนของการเสพไอซ์

*การพัฒนากลไกการจัดการปัญหาที่ชัดเจน เนื่องจากพื้นที่ภาคเหนือเกิดการแพร่ระบาดมาก ซึ่งมี

ความจำเป็นต้องเข้าใจบริบท ของการเสพ การค้า  การพัฒนาของไอซ์จากยาเสพติดเพื่อความบันเทิงกลายเป็นยาเสพติดทั่วไป การเจาะตลาดชนบท การขายคู่ยาบ้า การใฝ่ฝันของผู้เสพยาบ้าที่ต้องการพัฒนาไปเสพไอซ์

          *การพัฒนาระบบข้อมูลเรื่องไอซ์ที่แยกออกจากฐานข้อมูลยาบ้าหรือเมทแอมเฟตามีนอื่นๆ  ประกอบด้วยการพัฒนา แบบฟอร์ม/การกรอกข้อมูลต่างๆ  รวมถึงฐาน drug profile

*การเฝ้าระวังการเผยแพร่วิธีการผลิต (kitchen lab) ผ่านอินเทอร์เน็ต การเฝ้าระวังการจัดซื้อเครื่องมือผลิต  

*การศึกษาบทเรียนการจัดการปัญหาและประสิทธิภาพของสื่อ/สื่อสารมวลชนที่ประสบผลสำเร็จของ

ประเทศอื่นๆ ในการควบคุมปัญหา เช่น  สหรัฐอเมริกา  ออสเตรเลีย ซึ่งเป็นประเทศที่มีแหล่งผลิตรอบประเทศ  โดยต้องศึกษาความสอดคล้องถึงพื้นฐานความคิดของประเทศตัวอย่างและไทย   โดยวิเคราะห์บริบทของไทย ตลอดจนการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการผลิตไอซ์ซึ่งดำเนินการในต่างประเทศให้กับบุคลากรของไทย เช่น ตำรวจ เพื่อประโยชน์ในการเท่าทันสถานการณ์และรูปแบบการแพร่ระบาดในประเทศไทย

 

0 การศึกษาด้านกฎหมาย โดยการศึกษาเกี่ยวกับ

-ยุติธรรมชุมชน/ทางเลือก

-การบังคับบำบัด

-ยาที่ถูกกฎหมาย

-กฎหมายเกี่ยวข้องกับเยาวชน/สิทธิมนุษยชน

-องค์กรปกครองท้องถิ่น

› มิติด้านการป้องกัน

-การส่งเสริมท้องถิ่น/ชุมชนเข้มแข็ง เช่น ศึกษาการแบ่งสีในสังคมไทย โดยเฉพาะพื้นที่ภาคเหนือกับการทำงานด้านยาเสพติด  การเมืองท้องถิ่นกับการกระจายอำนาจ และงานยุติธรรมชุมชน

-การสร้างกระแสปรองดองโดยใช้การแก้ไขปัญหายาเสพติดเป็นหลักในการแก้ไขปัญหาร่วมกัน และการศึกษาเปรียบเทียบการดำเนินงานด้านยาเสพติดในพื้นที่สีเหลืองและสีแดง)  

› มิติด้านการบำบัด

-การบำบัดตามภูมิปัญญาชาวบ้าน

-การบูรณาการงานยาเสพติดกับระบบบริการเรื่องสุขภาพ (การมองยาเสพติดในภาพรวมของระบบบริการสุขภาพ) การตั้งหน่วย one stop service ในชุมชน ร่วมกับการแก้ไขปัญหาสุขภาพอื่น เพื่อพัฒนาและทดสอบรูปแบบการดำเนินงานเพื่อเพิ่มจำนวนผู้เข้ารับการบำบัดสมัครใจ

› มิติด้านการบริหารจัดการ

-การสังเคราะห์งานวิจัย การจัดทำแผนที่ความรู้ และการจัดตั้ง Knowledge clearing house

 

˜ ข้อเสนอการบริหารการวิจัย/รูปแบบ และกลไก

-การพัฒนางานวิจัย

-การสนับสนุนให้เกิดผู้วิจัย

-การพัฒนาศักยภาพผู้วิจัย

-การสนับสนุนให้ผู้ปฏิบัติงานเข้าร่วมการวิจัย เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ และนำความรู้ไปใช้ในการให้คำปรึกษากับชุมชน/บุคคลที่เกี่ยวข้องในวงจรยาเสพติดได้

-การพัฒนางานวิชาการจากงานประจำ (R2R)หรือ การพัฒนางานวิจัยเพื่อชุมชน (Research to Community:R2C)  โดยการลงชุมชนด้วยจิตอาสาของนักวิจัย เพื่อให้เกิดเครื่องมือ กลไก วิธีการ ทักษะในการควบคุมปัญหาได้ และเพื่อให้เกิด นโยบายที่เกิดจากข้อมูลเชิงวิชาการที่เชื่อถือได้ (evidence policy) ที่แท้จริง รวมถึงงาน/ระบบเฝ้าระวังในชุมชนโดยสมาชิกชุมชน และระบบหนุนเสริมจากภาครัฐ เช่น ระบบข้อมูลภาครัฐ&nbs

หมายเลขบันทึก: 407960เขียนเมื่อ 12 พฤศจิกายน 2010 14:35 น. ()แก้ไขเมื่อ 19 มิถุนายน 2012 01:25 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท