การตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน
ข้อเสนอแนะ/ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญคนที่ 1
1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนควรคลอบคลุมจุดประสงค์ประสงค์การเรียนรู้
2. กิจกรรมและเนื้อหาไม่ครอบคลุมและไม่ครบตามจุดประสงค์
ข้อเสนอแนะ/ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญคนที่ 2
1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนควรจะสลับข้อกัน เพื่อป้องกันนักเรียนจำคำตอบควรจะมีหลากหลายไม่ซ้ำกัน
2. ตัวอย่างประโยคในแต่ละกรอบมีน้อยเกินไป
ข้อเสนอแนะ/ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญคนที่ 3
1. การพิมพ์เอกสารทางวิชาการให้เช็คให้ละเอียดก่อนพิมพ์ คำซ้อน การเว้นวรรค
2. ยกตัวอย่างให้ชัดเจน นักเรียนที่เรียนอ่านจะได้เข้าใจ
ทั้งนี้ ผู้จัดทำจึงได้นำมาปรับปรุงแก้ไขจากคำแนะนำของผู้เชี่ยวชาญทั้ง 3 ท่านแล้วเพื่อให้บทเรียนสำเร็จรูปสมบูรณ์ที่สุด
แบบสรุปวัดดัชนีความสอดคล้อง (IOC) สื่อนวัตกรรมการศึกษา
เรื่อง ส่วนประกอบหลักของคอมพิวเตอร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
เกณฑ์การประเมินความสอดคล้อง (Index of consistency : IOC) ของผู้เชี่ยวชาญ มีดังนี้
ให้คะแนนเท่ากับ + 1 หมายถึง แน่ใจว่าถูกต้อง สอดคล้องตรงกับวัตถุประสงค์
ให้คะแนนเท่ากับ 0 หมายถึง ไม่แน่ใจว่ามีความสอดคล้อง
ให้คะแนนเท่ากับ - 1 หมายถึง ยังไม่ถูกต้อง ไม่สอดคล้อง ไม่ตรงกับ
วัตถุประสงค์
ลำดับ |
ข้อมูลที่สอดคล้อง |
ผู้เชี่ยวชาญ (คนที่) |
|
IOC |
||
1 |
2 |
3 |
||||
1 |
กระบวนการในการทำกิจกรรมมีความสมบรูณ์ |
-1 |
0 |
0 |
1 |
0.3 |
2 |
เนื้อหามีความสอดคล้องกับกิจกรรม |
+1 |
-1 |
+1 |
2 |
0.70 |
3 |
ความสมบรูณ์ของเนื้อหา |
0 |
0 |
-1 |
1 |
0.3 |
4 |
กิจกรรมการเรียนการสอนแต่ละขั้นมีความสอดคล้องสัมพันธ์กัน |
+1 |
0 |
+1 |
2 |
0.70 |
5 |
สื่อการเรียนการสอนมีความสอดคล้องเหมาะสมกับกิจกรรม |
0 |
+1 |
+1 |
2 |
0.70 |
6 |
กิจกรรมเหมาะสมกับเนื้อกับระดับชั้น |
+1 |
+1 |
+1 |
3 |
1 |
7 |
ความยากง่ายขงเนื้อหา |
0 |
0 |
+1 |
1 |
0.3 |
8 |
สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน |
0 |
0 |
0 |
0 |
0 |
9 |
ความสวยงามของบทเรียนสำเร็จรูป |
-1 |
+1 |
-1 |
0 |
0 |
สูตรการคำนวณ IOC = ΣR IOC = 12
N 3
ICO คือ ดัชนีความสอดคล้อง = 4
สูตรการคำนวณ IOC = ΣR
IOC = 12
N 3
ICO คือ ดัชนีความสอดคล้อง = 4
R คือ คะแนนของผู้เชี่ยวชาญ
Σ R คือ ผลรวมคะแนนของผู้เชี่ยวชาญแต่ละคน
N คือ จำนวนผู้เชี่ยวชาญ
สรุปผล
จากการหาประสิทธิภาพ ค่าดัชนีความสอดคล้องที่ยอมรับได้ต้องมีค่าตั้งแต่ 0.50 ขึ้นไป ซึ่งในบทเรียนนี้ ได้ค่าดัชนีความสอดคล้องอยู่ที่ 4
การทดลองใช้แบบ 1:1 จำนวน 3 คน
ผลปรากฏว่า ในการทำแบบทดสอบระหว่างเรียน นักเรียนทั้ง 3 คนสามารถทำแบบฝึกหัดระหว่างเรียน ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดไว้ได้
ตารางแสดงผลการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของสื่อนวัตกรรมการศึกษา (CAI)
เรื่อง ส่วนประกอบหลักของคอมพิวเตอร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
นักเรียนคนที่ |
คะแนนแบบทดสอบระหว่างเรียน |
คะแนนรวม (60 คะแนน) |
Pretest (10 คะแนน) |
Posttest (10 คะแนน) |
||||||
1 |
2 |
3 |
4 |
5 |
6 |
7 |
||||
(5) |
(5) |
(5) |
(15) |
(5) |
(10) |
(15) |
||||
1 |
5 |
5 |
5 |
15 |
5 |
10 |
15 |
60 |
6 |
8 |
2 |
0 |
5 |
5 |
15 |
5 |
10 |
15 |
55 |
7 |
8 |
3 |
5 |
0 |
5 |
15 |
5 |
5 |
15 |
50 |
7 |
9 |
รวม |
165 |
20 |
25 |
|||||||
เฉลี่ย |
55 |
6.67 |
8.33 |
การหาประสิทธิภาพของนวัตกรรม
สูตร
E1 = Σ x × 100
N
A
E1 = ประสิทธิภาพของกระบวนการ
Σ x = ผลรวมของคะแนนแบบฝึกหัดที่ผู้เรียนทำได้
N = จำนวนผู้เรียน
A = คะแนนเต็มของแบบฝึกหัด
E2 = Σ x × 100
N
B
E2 = ประสิทธิภาพของผลลัพธ์
Σ x = ผลรวมของคะแนนแบบทดสอบหลังเรียนที่ผู้เรียนทำได้
N = จำนวนผู้เรียน
B = คะแนนเต็มของแบบทดสอบหลังเรียน
การคำนวณ
E1 = คะแนนเฉลี่ย × 100
คะแนน เต็ม
คะแนนเฉลี่ย = คะแนนรวมของคะแนนแบบฝึกหัดระหว่างเรียน
จำนวนนักเรียนที่ใช้ทดลอง
E1 = 55 × 100
60
= 91.67
E2 = คะแนนเฉลี่ย × 100
คะแนน เต็ม
คะแนนเฉลี่ย = คะแนนรวมของคะแนนหลังเรียน
จำนวนนักเรียนที่ใช้ทดลอง
E2 = 6.67 × 100
10
= 66.7
E1/E2 = 91.67/66.7
สรุปผล
จากการหาประสิทธิภาพ ที่ตั้งไว้ 80/80 ผลการทดลองใช้นวัตกรรมได้ 91.67/66.7
สรุปได้ว่า ประสิทธิภาพของนวัตกรรมสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ แสดงว่า สื่อนวัตกรรมการศึกษา เรื่อง ส่วนประกอบหลักของคอมพิวเตอร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีประสิทธิภาพสามารถนำไปใช้ในการเรียนการสอนได้
ไม่มีความเห็น