เมื่อ ใกล้หมดประจำเดือน กำลังจะหมดประจำเดือน หรือ บาดเจ็บรุนแรง บอบช้ำต่อระบบประสาท


Timing of estrogen therapy after ovariectomy dictates the efficacy of its neuroprotective and antiinflammatory actions

http://www.pubmedcentral.nih.gov/articlerender.fcgi?artid=1851608

 

http://www.pubmedcentral.nih.gov/picrender.fcgi?artid=1851608&blobtype=pdf

 

คือเหตุผล ที่ควร ทานอาหาร สมุนไพร บางชนิด ที่มี phytoestrogen เมื่อเริ่มเข้าสู่ช่วงขาดฮอร์โมน แบบ วัยหมดประจำเดือน  

 

ตัวอย่าง งานวิจัย  ปี 2548  เมื่อประสาท และ สมอง บาดเจ็บ          ซึงยังมีงานวิจัย มากกว่านี้อีก มาก มาก  มีทั่วโลกด้วย ตามอ่านไม่ไหวครับ

http://mulinet8.li.mahidol.ac.th/e-thesis/4436677.pdf

http://mulinet8.li.mahidol.ac.th/e-thesis/4536056.pdf

 (ความรู้ต่างๆนี้   เกิดจากการที่ผม ตามรอย งานวิจัย เกี่ยวกับ สมุนไพร บางตัว ที่ทีมอาจารย์ นักวิจัย มหิดล ที่มีการวิจัยอย่างต่อเนื่อง มาหลายปี   โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ..........   ไปไกลกว่า เรื่องมดลูก มากมากแล้ว  ใครจะประยุกต์ใช้ความรู้ เข้าสู่ในคน ก็ควรละเอียดอ่อนเอาเอง 

เพราะอาจเป็นช่องทางการแสวงหาประโยชน์ ชวนเชื่อในสมุนไพร เกินขอบเขตได้เช่นกัน  )

 

7 กย 52 เพิ่มเติม จากคำแนะนำของ อ.หมอ อัจฉรา ให้สรุปความเห็น

สารออกฤทธิ์แบบ ฮอร์โมนเพศหญิง เริ่มมีข้อมูลยืนยัน จากทั่วโลก ว่า  มีคุณสมบัติสารพัด  มากกว่า การมีผลต่อระบบอวัยวะสืบพันธุ์

มีฤทธิ์ ลดการอักเสบ ช่วยหลอดเลือดให้ขยายตัว  ช่วยลดการบาดเจ็บ การอักเสบ ต่อหลายอวัยวะ ทั้งต่อ สมอง และเส้นประสาท  

ปัญหาที่เคยรู้กันมานานคือ estrogen ที่เป็นยาใช้ในวงการแพทย์มานานแล้ว  มีความเสี่ยง ต่อหลายระบบเช่นกัน 

นักวิจัยเชื่อกันว่า ฤทธิ์แรงเกินไป

ปัจจุบัน จึงศึกษา สมุนไพร ที่มีฤทธิ์แบบestrogen ที่มีฤทธิ์อ่อนกว่า และ ออกฤทธิ์สั้นกว่า

เป็นเรื่องที่แปลก ของ สมุนไพร ที่เราเชื่อกันว่า หรือ ใช้เป็นยาอายุวัฒนะตามภูมิปัญญา  ล้วนแต่พบว่า สารแบบ phytoestrogen

ประเด็นของการวิจัยนี้ คือ เหตุใดผลดี ของ estrogen จากรายงานต่างๆ ขัดแย้งกัน ว่า มีผลดีต่างจากกลุ่มควบคุม หรือ ไม่มีผลต่างจากกลุ่มควบคุม

นำมาสู่งานวิจัยจึงพบว่า หากปล่อยให้ขาดฮอร์โมนไปนานๆ แล้ว ค่อยมาเสริม จะไม่ได้ประโยชน์

ต้องเสริมให้ตั้งแต่ที่เริ่มขาดฮอร์โมน

ในด้านของการประยุกต์ใช้ ความรู้จากการวิจัย  คือ เมื่อประชาชนเริ่มเข้าสู่วัยหมดประจำเดือน ควรเลือกสมุนไพร ที่มีรายงานวิจัยว่า มีสารphytoetrogen ที่ปลอดภัย ราคาย่อมเยาว์  ทานเป็นอาหารเสริม  การจะทานตัวไหน ก็แล้วแต่ ความชอบของแต่ละบุคคล  เพราะยังไม่มีการทดลองใดบอกว่า อะไรดีกว่าอะไร

และเมื่อมีการบาดเจ็บ ของอวัยวะต่างๆ โดยเฉพาะในผู้ใหญ่หรือ ผู้สูงอายุ ก็ควรเลือก เสริม สารออกฤทธิ์แบบ estrogen  ปัญหาคือ ยังไม่ทราบขนาดที่เหมาะสมว่า จะใช้ในคนขนาดเท่าใด  จึงไม่มีแพทย์ใช้แนวคิดนี้กับในผู้ป่วยจึง

ทางเลือกหนึ่ง คือ ใช้สมุนไพร ที่อาจจะแก้ หรือ รักษา บอบช้ำ และ สมุนไพรนั้นมีสารออกฤทธิ์แบบ estrogen ด้วย และหากเป็นสมุนไพร ที่ใช้กันแพร่หลายมานาน  ใช้เป็นยาอายุวัฒนะมานาน  ก็อาจจะเลือกใช้...    ตรงนี้เป็นเพียงสมมุติฐานใหม่  ยังไม่ใช้มาตรฐานของวงการแพทย์

ส่วนในเด็ก การได้ estrogen จะทำให้กระดูกส่วนยืดยาว  หยุดยืดตัว  นั้นคือ เสี่ยงตัวเตี้ย

โดยสรุป   ให้เลือกใช้ ด้วยสติ และ ปัญญา  ในขณะที่ยังไม่มีคำแนะนำสรุป จาก คณะนักวิจัย หรือ คณะผู้เชี่ยวชาญ

หมายเลขบันทึก: 294840เขียนเมื่อ 6 กันยายน 2009 00:04 น. ()แก้ไขเมื่อ 29 พฤษภาคม 2012 16:28 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (8)

เมื่อประสาท และ สมอง บาดเจ็บ

http://mulinet8.li.mahidol.ac.th/e-thesis/4436677.pdf

อาจารย์สรุปความเห็นเพิ่มเติมบ้างก็ดีนะคะ

UK researchers find critical link for estrogen�s neuroprotective effects

University of Kentucky College of Medicine researchers have determined that one specific estrogen receptor, called ERa, is a critical link in mediating the protective effects of estradiol in brain injury. The study was led by Phyllis Wise, Ph.D., professor and chair, and Dena Dubal, graduate student in the M.D./Ph.D. program, of the Department of Physiology, UK College of Medicine, and appears in the Feb. 6 online issue and the Feb. 13 issue of the Proceedings of the National Academy of Sciences.

Previous research by Wise�s team has demonstrated that estradiol, a type of estrogen, protects against brain injury (including injury from stroke), neurodegeneration and cognitive decline. The UK College of Medicine research team examined whether estrogen receptors are critical for estrogen�s neuroprotective effects. The team focused on two estrogen receptor types, ERa and ERb. Using animal models in which one of the receptor types had been deleted, they demonstrated that

when ERa is absent, estradiol no longer has protective effects in any area of the brain.

But when ERb is absent, estradiol still provides effective neuroprotection.

�We have demonstrated that future research and development for therapies that capitalize on estradiol�s neuroprotective effects should focus on ERa,� Wise said. �These results have tremendous implications for developing therapeutic agents for treating brain injuries.�

Tamoxifen abolishes estrogen's neuroprotective effect upon methamphetamine neurotoxicity of the nigrostriatal dopaminergic system

Neuroscience Volume 103, Issue 2, 14 March 2001, Pages 385-394

วัยทอง หรือ Climacteric period หรือ Menopausal period นี้   จะเกิดกับสตรีที่มีอายุ 40-45 ปี
ขึ้นไป  ซึ่งเป็นวัยที่กำลังมีความก้าวหน้าในการงาน และเป็นกำลังที่สำคัญในการพัฒนาประเทศ  จึงเป็นที่น่า
เสียดาย หากการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนภายในร่างกาย จะก่อให้เกิดปัญหาทั้งด้านสุขภาพกายและสุขภาพ
ใจกับสตรีในชีวิตช่วงนี้
ขอบคุณค่ะอาจารย์..ก๊ากๆๆ..วัยทองจริงด้วยมิน่าว่าทำไมเราขยันทำงานกันจังๆ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท