โขนคืออะไร


โขนเป็นศิลปะการแสดงของไทย แต่รู้ไหมว่าโขนจริงๆแล้วคืออะไรกันแน่

 

 

 

 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโขน         โขนเป็นนาฏศิลป์ชั้นสูงอย่างหนึ่งของไทย  มีกำเนิดมาตั้งแต่พุทธศตวรรษที่  20  ปรับปรุงจากการแสดง  3  ประเภท  คือ  การแสดงกระบี่กระบอง  การแสดงหนังใหญ่  และการแสดงชักนาคดึกดำบรรพ์  ได้แก่ไขปรับปรุงให้ประณีต  ตามลำดับ  เมื่อก่อนผู้แสดงโขนจะต้องสวมหัวโขนปิดหน้าทั้งหมด  จึงต้องมีผู้พูดแทนเรียกว่าผู้พากย์  -  เจรจา  ต่อมาได้ปรับปรุงให้ผู้แสดง  ซึ่งเป็นตัวเทพบุตร  เทพธิดา  และมนุษย์ชาย  หญิง  สวมแต่เครื่องประดับศีรษะไม่ต้องปิดหน้าทั้งหมด  เครื่องประดับศีรษะ  ได้แก่  ชฎา  มงกุฎ  รัดเกล้า  กระบังหน้า  ซึ่งมีศัพท์  เรียกว่า  ศิราภรณ์  แต่ผู้แสดงโขนที่สวมศิราภรณ์  ก็ยังรักษาประเพณีเดิมไว้  คือ  ไม่พูดเองต้องมีผู้พากย์  -  เจรจาแทน  เว้นแต่ผู้แสดงเป็นตัวตลก  และฤาษีบางองค์  จึงจะเจรจาเองเป็นเอกลักษณ์อย่างหนึ่งของผู้ที่แสดงโขนเป็นตัวตลก 

ความหมายของโขน

           

               พจนานุกรม  ฉบับราชบัณฑิตยสถาน  ได้ให้ความหมายของโขนไว้ว่า  การเล่นอย่างหนึ่งคล้ายละครรำ  มักเล่นเรื่องรามเกียรติ์  โดยผู้แสดงสวมหัวโขนจำลองต่าง   ที่เรียกว่า  หัวโขน  (2547:208)

หมายเลขบันทึก: 160533เขียนเมื่อ 21 มกราคม 2008 17:23 น. ()แก้ไขเมื่อ 24 มิถุนายน 2012 02:38 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (10)

อย่ากไห้มีการเล่นโขนทั่วประเทภ

อยากเล่นโขนจังเลยแต่ชุดมันร้อน

ขอบคุณมากสำหรับข้อมูลครับ ผมว่าโขนเป็นศิลปะที่ควรค่าอย่างมากแก่การอนุรักษ์ ปกปักรักษาไว้ (โดยส่วนตัวผมอยากเล่นเองด้วยซ้ำ คงจะสนุกมากเลยละ)

ความหมายอยู่ใหนผมจะทำรายงาน

ขอขอบคุณที่ให้ความรู้นะค่ะ

  • ทามมัยมันน้อยจังอ่ะ
  • แต่ก้อดีจะได้มั่ยต้องเขียนเยอะ
  • อิอิ

ดีค่ะจดการบ้านอยู่พอดี

ขอบคุณค่ะ

กำลังทำการบ้านอยู่พอดี

กำลังทำการบ้านอยู่พอดี นำ้้ฝน fon

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท