A question about the etymology (ประวัติของคำ, นิรุกติศาสตร์) of a common Thai word ชะตา leads to a another question about mass psychology.
ชะตา : เวลาที่ถือกำเนิดของคนและสิ่งที่สำคัญ ประมวลศัพท์พุทธศาสตร์(ป.อ. ปยุตฺโต) [from ชาตะ ?]ชะตา น. ลักษณะหรืออัธยาศัยบางอย่างที่ทำให้รู้สึกชอบหรือไม่ชอบในทันทีทันใด เช่น ถูกชะตากัน ไม่ถูกชะตากัน, ลักษณะที่บังเกิดสำแดงเหตุดีและร้าย เช่น ชะตาดีชะตาร้าย; แบบรูปราศีที่บอกดาวพระเคราะห์เดินถึงราศีนั้น ๆ ในเวลาเกิดของคน หรือเวลาสร้างสิ่งสำคัญเช่นบ้านเมืองเป็นต้นที่โหรคำนวณไว้ โดยแบ่งเป็น ๑๒ ราศี เรียกว่า ดวงชะตา หรือ ดวง, ชาตา ก็ว่า. [พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน; RID Th-Th]
ชาตะ ชาตะ- ก. เกิด. (ป.). ชาตา น. เวลาเกิดของคน หรือเวลาสร้างสิ่งสำคัญเช่นบ้านเมืองเป็นต้นที่โหรคำนวณไว้, ชะตา ก็ว่า.
So ชะตา may be a corrupt form of ชาตะ or ชาตา (in Pāli ; Thais say บาลี bālī with -ี not -ิ)
Recalling a gāthā (คาถามหาจักรพรรดิ) posted on G2K not too long ago, which I tried to read and understand what it say. I came to the word ยะธาพุทโมนะ (the reverse of นะโมพุทธายะ) and gave up trying to find the etymology of the gāthā (it is not within the Tipitaka – experts say this was written much much later by unknown author[s]).
ไม่มีความเห็น