อนุทิน 157056


ต้นโมกข์
เขียนเมื่อ

5 Strategies to Demystify the Learning Process for Struggling Students

ยุทธวิธี 5 ประการในการทำให้ลึกลับน้อยลงในเรื่องกระบวนการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่กำลังมีปัญหา

3. The Power of Metaphor

3. อำนาจของอุปลักษณ์

“Metaphor and analogy are extraordinarily powerful teaching tools and very often underused,” says Oakley.  “When you are trying to learn something new, the best way to learn it is to connect it with something you already know.”

“อุปลักษณ์ และ การเปรียบเทียบเป็นเครื่องการสอนที่ทรงพลังที่สุดวิธีการหนึ่ง แต่โดยมากจะไม่ค่อยได้ใช้” “เมื่อเธอกำลังจะเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ วิธีการที่ดีที่สุดคือเชื่อมสิ่งต่างๆไว้กับสิ่งที่เธอรู้ดีอยู่แล้ว”

The formal term for this is “neural reuse” —  the idea that metaphors use the same neural pathways as the concept a metaphor is describing. So familiar metaphors allow a learner to draw on a concept they have already mastered and apply it to a new situation. Or as Oakley says, metaphors “rapidly on-board” new ideas. For example, says Oakley, comparing the flow of electrons to the flow of water is a way to “jump-start students’ thinking.”

นิยามทั่วไปของ neural reuse คือ ความคิดที่ว่าด้วยการใช้อุปลักษณ์เหมือนกับเครือข่ายในสมอง ซึ่งต้องใช้อุปลักษณ์เหมือนๆกัน ดังนั้นอุปลักษณ์ที่คุ้นเคยจึงทำให้ผู้เรียนรู้วาดภาพกับความคิดรวบยอดที่พวกเขามีความชำนิชำนาญ และประยุกต์ใช้ความคิดรวบยอด (หรืออุปลักษณ์) เหล่านั้นไปสู่สถานการณ์ใหม่ๆได้  เช่นการเปรียบเทียบระหว่างการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนกับการไหลของน้ำ เป็นวิธีการหนึ่งในการนำนักเรียนถึงเรื่องที่จะสอนได้

Oakley encourages teachers to not only use metaphor but to challenge students to develop their own metaphors as a study strategy. Oakley กระตุ้นให้พวกครูไม่เพียงแต่ใช้อุปลักษณ์เท่านั้น แถมยังกระตุ้นให้นักเรียนสร้างอุปลักษณ์ของตนเองขึ้นมาเป็นยุทธวิธีการหนึ่งในการศึกษาด้วย



ความเห็น (2)
อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท