อนุทิน 156504


Supajira Ngaongam
เขียนเมื่อ

วรรณกรรมพื้นบ้านภาคเหนือ

วรรณกรรมพื้นบ้านภาคเหนือ

    วรรณกรรมพื้นบ้านภาคเหนือส่วนใหญ่เป็นเรื่องที่มาจาก ปัญญาสชาดก
พื้นบ้านได้นำเนื้อหามาจากชาดกเรื่องนี้มาประพันธ์ด้วยฉันทลักษณ์
ของท้องถิ่น เช่น โคลง ค่าวธรรม ค่าวซอ เป็นต้น วรรณกรรมพื้นบ้าน
ภาคเหนือมี ๔ ประเภทคือ วรรณกรรมโคลง วรรณกรรมค่าวธรรม
วรรณกรรมค่าวซอ และวรรณกรรมเบ็ดเตล็ด แต่ละรูปแบบมีรายละเอียดดังนี้

  ๑. วรรณกรรมโคลง

โคลง หรือเรียกตามสำเนียงท้องถิ่นภาคเหนือว่า กะโลง เป็นฉันทลักษณ์
ที่เจริญรุ่งเรืองในสมัยราชวงศ์มังรายตอนปลาย กวีสมัยอยุธยาได้นำ
รูปแบบโคลงของภาคเหนือมาประพันธ์เป็น โคลงสอง โคลงสาม
และโคลงสี่ ตัวอย่างวรรณกรรมโคลงของภาคเหนือที่รู้จักกันแพร่หลาย
เช่น โคลงพรหมทัต โคลงเจ้าวิทูรสอนหลาน โคลงพระลอสอนโลก
โคลงปทุมสงกา เป็นต้น

อ่านต่อได้ที่ https://www.dek-d.com/board/vi...



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท