อนุทิน 155161


ต้นโมกข์
เขียนเมื่อ

สิ่งที่อยู่เบื้องหลังการอพยพของชาวโรฮิงญา? ตอนที่ 3

การเกิดขึ้นของชาตินิยมพม่า (Rise of Buddhism Nationalism)

ชาวอังกฤษจะปฏิบัติตามประเพณี แต่การปฏิบัติกับชนกลุ่มน้อยที่เป็นอาณานิคมของตนเองแล้วจะเป็นที่เยาะเย้ยมากๆ (cynical) โดยเฉพาะชาวอินเดีย อังกฤษทำให้ชาวอินเดียอยู่ในลักษณะครึ่งๆกลางๆ (mid level administrative position) ในการทำงานพวกนี้จะได้รับการสนับสนุน แต่เป็นที่จงเกลียดจงชังโดยชาวพุทธพม่า

เมื่อชาตินิยมพม่า ซึ่งได้รับการสนับสนุนอย่างแข็งขันโดยพระสงฆ์ ได้เริ่มแผ่กระจายในทศวรรษ 1920 จนถึง 1930 ชาวโรฮิงญา ที่ถูกผู้คนคิดว่าเป็นการไหล่มาของชาวอินเดีย จะอยู่ในสถานะที่เอือมไม่เข้าคายไม่ออก (awkward position) ไปในทันที

การแยกขาดทางการเมืองของพม่า (Burma’s political separation) จากอินเดียในปี 1937 จะเห็นจลาจลต่อต้านพวกโรฮิงญา ในสงครามโลกครั้งที่ 2 ผู้รุกรานชาวญี่ปุ่น ซึ่งเป็นพันธมิตรทางยุทธวิธี (tactical alliance) กับพวกชาตินิยมในพม่า จะมองพวกที่เป็นมิตรกับอังกฤษด้วยความไม่อดทน

ในปี 1942 พร้อมกับการแยกขาดทางกายภาพ (physical withdrawal) กับอังกฤษเหนือชาวอารากัน ก็คือการฆ่าโดยชาวพุทธกับมุสลิมโรฮิงญา และก็มีการฆ่ากันระหว่างมุสลิมโรฮิงญากับชาวพุทธด้วยเช่นกัน การฆ่ากันไปมานี้ก่อให้เกิดการอาฆาตที่จบบลงด้วยเลือด (a blood feud)

แปลและเรียงเรียกจาก

ไม่มีชื่อผู้แต่ง. What’s behind Rohingya exodus from Myanmar? 



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท