อนุทิน 145402


ภูฟ้า
เขียนเมื่อ

บันทึกทำ (19 มีนาคม 59)


ความเป็นเช่นนั้นเอง (อุปทานขันธ์ว่าเป็นเราเป็นเขา)




"อนัตตาธรรม" เป็นธรรมที่ละเอียดมาก (ความไม่ใช่ตัวตน สัตว์ บุคคล เรา เขา)

กาย เกิดมาพร้อมกับเรา จึงมีความสัมพันธ์ หวงแหน อุปทานว่า เป็นเรา

แต่ถ้าพิจารณาให้ดี เมื่อเกิดบาดแผลขึ้นกับกายนั้น สิ่งที่ทุกข์ คือ ใจ ไม่ใช่ กาย หนอ

แม้ ใจ ก็เป็นเช่นนั้นเอง


ใจเป็นเครื่องรับรู้อารมณ์ เป็นอนิจจัง ทุกขัง "อนัตตา"


ใจ ก็เป็น อนัตตาด้วย หนอ

จึงเป็นธรรมดาที่ใจจะมีสุข มีทุกข์ ว่าง ไม่ว่าง เป็นอาการของใจ เป็นธรรมดา เป็นเช่นนั้นเอง


แต่คราวนี้ ด้วยความที่เราหลงว่า "ใจ" นั้นเป็นเรา พอเกิดอะไรขึ้นกับใจ

เราก็เอาตัวเราเข้าไปรับ ปรุงแต่งไปตามเรื่องราวอารมณ์ความคิด หนอ




จริง ๆ ภาพข้างบนนี้ก็ยังไม่สมบูรณ์นัก แต่ก็พอใช้สำหรับอธิบายสภาวะ 2 สภาวะได้ว่า

ตอนที่จิตว่าง (สภาวะ A.) จิตจะสงบตั้งมั่น สามารถเดินปัญญาญาณเข้าสู่จิตเดิมแท้ได้ดี

ตอนที่จิตวุ่น (สภาวะ B.) นายช่างผู้ทำเรือนจะเข้ามาปรุงแต่งใจให้หลงเมามันได้ง่าย หนอ


*** ประเด็นที่น่าสนใจ คื




ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท