อนุทิน 105939


อรัญญา
เขียนเมื่อ

1.ชื่อผู้นำเสนอ   นางสาวรังรอง  วรภักดิ์เพชร

ชื่อเรื่องที่นำเสนอ  การพัฒนาชุดฝึกทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อจับใจความ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

ข้อดี  เนื้อหาข้อมูลชัดเจน

ข้อปรับปรุง  เนื้อหามากเกินไป

ข้อเสนอแนะ  ควรนำเฉพาะเนื้อหาหลักๆของงานวิจัยมานำเสนอ

สรุปผลการประเมิน    น้อย ระดับ (1 )  ปานกลาง ระดับ (2)  มาก ระดับ (3)

ขนาดตัวอักษร  2

สีตัวอักษร  3

การออกแบบพื้นหลัง  2

ภาพประกอบ  3

เสียงประกอบ  1

เทคนิคการเคลื่อนไหว ระหว่างประโยค 2

วิธีการนำเสนอ power  poirt 2

เทคนิคพิเศษอื่นๆ 1

ส่งเมล์ไปที่ [email protected]

2.ชื่อผู้นำเสนอ   นายไพฑูรย์  เขียวรัตน์

ชื่อเรื่องที่นำเสนอ  การพัฒนาโปรแกรมการฝึกการอบรมตามแนวทางไตรสิกขา เพื่อเสริมสร้างความมีวินัยในตนเอง  ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

ข้อดี  เนื้อหาข้อมูลชัดเจน

ข้อปรับปรุง  นำเสนอเนื้อหาเร็วเกินไป

ข้อเสนอแนะ  ควรนำเสนออย่างปกติไม่เร็วเกินไป

สรุปผลการประเมิน    น้อย ระดับ (1 )  ปานกลาง ระดับ (2)  มาก ระดับ (3)

ขนาดตัวอักษร  3

สีตัวอักษร  3

การออกแบบพื้นหลัง  2

ภาพประกอบ  3

เสียงประกอบ  1

เทคนิคการเคลื่อนไหว ระหว่างประโยค 3

วิธีการนำเสนอ power  poirt 3

เทคนิคพิเศษอื่นๆ 2

ส่งเมล์ไปที่ [email protected]

3.ชื่อผู้นำเสนอ   นางสาวรังรอง  วรภักดิ์เพชร

ชื่อเรื่องที่นำเสนอ  การพัฒนาชุดฝึกทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อจับใจความ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

ข้อดี  เนื้อหาข้อมูลชัดเจน

ข้อปรับปรุง  เนื้อหามากเกินไป

ข้อเสนอแนะ  ควรนำเฉพาะเนื้อหาหลักๆของงานวิจัยมานำเสนอ

สรุปผลการประเมิน    น้อย ระดับ (1 )  ปานกลาง ระดับ (2)  มาก ระดับ (3)

ขนาดตัวอักษร  2

สีตัวอักษร  3

การออกแบบพื้นหลัง  2

ภาพประกอบ  3

เสียงประกอบ  1

เทคนิคการเคลื่อนไหว ระหว่างประโยค 2

วิธีการนำเสนอ power  poirt 2

เทคนิคพิเศษอื่นๆ 1

ส่งเมล์ไปที่ [email protected]

4.ชื่อผู้นำเสนอ   นายไพฑูรย์  เขียวรัต

ชื่อเรื่องที่นำเสนอ  การพัฒนาโปรแกรมการฝึกการอบรมตามแนวทางไตรสิกขา เพื่อเสริมสร้างความมีวินัยในตนเอง  ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

ข้อดี  เนื้อหาข้อมูลชัดเจน

ข้อปรับปรุง  นำเสนอเนื้อหาเร็วเกินไป

ข้อเสนอแนะ  ควรนำเสนออย่างปกติไม่เร็วเกินไป

สรุปผลการประเมิน    น้อย ระดับ (1 )  ปานกลาง ระดับ (2)  มาก ระดับ (3)

ขนาดตัวอักษร  3

สีตัวอักษร  3

การออกแบบพื้นหลัง  2

ภาพประกอบ  3

เสียงประกอบ  1

เทคนิคการเคลื่อนไหว ระหว่างประโยค 3

วิธีการนำเสนอ power  poirt 3

เทคนิคพิเศษอื่นๆ 2

ส่งเมล์ไปที่ [email protected]

5.ชื่อผู้นำเสนอ   นางสาวพรทิพย์   อาจวิชัย

ชื่อเรื่องที่นำเสนอ  การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์และความสามารถด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่้เรียนด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ประกอบการเรียนแบบแผนผังมโนมติกับการสอนแบบปกติ

ข้อดี  เนื้อหาข้อมูลชัดเจน

ข้อปรับปรุง  เนื้อหามากเกินไป

ข้อเสนอแนะ  ควรนำเฉพาะเนื้อหาหลักๆของงานวิจัยมานำเสนอ

สรุปผลการประเมิน    น้อย ระดับ (1 )  ปานกลาง ระดับ (2)  มาก ระดับ (3)

ขนาดตัวอักษร  3

สีตัวอักษร  3

การออกแบบพื้นหลัง  2

ภาพประกอบ  2

เสียงประกอบ  1

เทคนิคการเคลื่อนไหว ระหว่างประโยค 3

วิธีการนำเสนอ power  poirt 3

เทคนิคพิเศษอื่นๆ 1

สรุปผลการประเมิน 

ส่งเมล์ไปที่ [email protected]

6.ชื่อผู้นำเสนอ   นางสาวธัญญรัตน์  แสนคำ

ชื่อเรื่องที่นำเสนอ  การพัฒนาโปรแกรมการฝึกการอบรมตามแนวทางไตรสิกขา เพื่อเสริมสร้างความมีวินัยในตนเอง  ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

ข้อดี  เนื้อหาข้อมูลชัดเจน

ข้อปรับปรุง  นำเสนอเนื้อหาเร็วเกินไป

ข้อเสนอแนะ  ควรนำเสนออย่างปกติไม่เร็วเกินไป

สรุปผลการประเมิน    น้อย ระดับ (1 )  ปานกลาง ระดับ (2)  มาก ระดับ (3)

ขนาดตัวอักษร  3

สีตัวอักษร  3

การออกแบบพื้นหลัง  2

ภาพประกอบ  3

เสียงประกอบ  1

เทคนิคการเคลื่อนไหว ระหว่างประโยค 3

วิธีการนำเสนอ power  poirt 3

เทคนิคพิเศษอื่นๆ 2

ส่งเมล์ไปที่ [email protected]

7.ชื่อผู้นำเสนอ   นางสาวรังรอง  วรภักดิ์เพชร

ชื่อเรื่องที่นำเสนอ  การพัฒนาชุดฝึกทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อจับใจความ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

ข้อดี  เนื้อหาข้อมูลชัดเจน

ข้อปรับปรุง  เนื้อหามากเกินไป

ข้อเสนอแนะ  ควรนำเฉพาะเนื้อหาหลักๆของงานวิจัยมานำเสนอ

สรุปผลการประเมิน    น้อย ระดับ (1 )  ปานกลาง ระดับ (2)  มาก ระดับ (3)

ขนาดตัวอักษร  2

สีตัวอักษร  3

การออกแบบพื้นหลัง  2

ภาพประกอบ  3

เสียงประกอบ  1

เทคนิคการเคลื่อนไหว ระหว่างประโยค 2

วิธีการนำเสนอ power  poirt 2

เทคนิคพิเศษอื่นๆ 1

ส่งเมล์ไปที่ [email protected]

8.ชื่อผู้นำเสนอ   นายไพฑูรย์  เขียวรัตน์

ชื่อเรื่องที่นำเสนอ  การพัฒนาโปรแกรมการฝึกการอบรมตามแนวทางไตรสิกขา เพื่อเสริมสร้างความมีวินัยในตนเอง  ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

ข้อดี  เนื้อหาข้อมูลชัดเจน

ข้อปรับปรุง  นำเสนอเนื้อหาเร็วเกินไป

ข้อเสนอแนะ  ควรนำเสนออย่างปกติไม่เร็วเกินไป

สรุปผลการประเมิน    น้อย ระดับ (1 )  ปานกลาง ระดับ (2)  มาก ระดับ (3)

ขนาดตัวอักษร  3

สีตัวอักษร  3

การออกแบบพื้นหลัง  2

ภาพประกอบ  3

เสียงประกอบ  1

เทคนิคการเคลื่อนไหว ระหว่างประโยค 3

วิธีการนำเสนอ power  poirt 3

เทคนิคพิเศษอื่นๆ 2

ส่งเมล์ไปที่ [email protected]

 

 



ความเห็น (1)

บทความ “ การพัฒนาการอ่านและการเขียนแจกลูกสะกดคำ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้แบบฝึกทักษะ” งานวิจัย ของคุณละมุล จันทร์แป้น มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม พ.ศ. 2553

การศึกษาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์  เป็นพื้นฐานสำคัญของการพัฒนาประเทศ  เป็นตัวชี้นำสังคม ผู้ได้รับการศึกษาจึงเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพและเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศ ซึ่งในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10  ( พ.ศ. 2550-  2554 ) ได้มุ่งพัฒนาคน เน้นคนเป็นศูนย์กลางหรือจุดมุ่งหมายหลักของการพัฒนาประเทศ  การจัดการศึกษาต้องใช้ภาษาเป็นสื่อในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด  สำหรับภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ประจำชาติ  เป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพ เป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสารเพื่อสร้างความเข้าใจและความสัมพันธ์อันดีต่อกัน
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544  ให้ความสำคัญกับการเรียนรู้วิชาภาษาไทย  มุ่งให้ผู้เรียนมีทักษะในการฟัง พูด อ่าน เขียน โดยเฉพาะทักษะการอ่านและการเขียน เพราะเป็นพื้นฐานในการเรียนรู้วิชาอื่นๆการเรียนในระดับพื้นฐานจะเน้นในด้านการอ่าน การเขียน ให้ถูกต้อง แม่นยำในหลักเกณฑ์ ได้แก่  การสะกดคำ 

ไตรยางค์ การผันวรรณยุกต์ คำควบกล้ำ อักษรนำ เป็นต้น

การแจกลูกสะกดคำ มีความสำคัญมาก เพราะการแจกลูกคำถูกต้อง จะทำให้อ่านหนังสือออก และเขียนหนังสือได้  แต่ต้องอาศัยการฝึก  กระทำบ่อย ๆ โดยใช้แบบฝึกสะกดคำ    แบบฝึกเป็นเทคนิคการสอนที่สนุก  การให้นักเรียนทำแบบฝึกมาก ๆ จะช่วยให้นักเรียนมีพัฒนาการ ทางการเรียนรู้ในเนื้อหา วิชาได้ดีขึ้น  ผลการวิจัย พบว่าการใช้แบบฝึกการสะกดและแจกลูกสะกดคำ ทำให้คะแนนการทดสอบหลังเรียนสูงกว่าคะแนนก่อนเรียน ทำให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุข ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น
ผลการประเมินคุณภาพของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่าวิชาภาษาไทย มีคะแนนเฉลี่ยต่ำกว่าเป้าหมาย เนื่องจากปัญหานักเรียนอ่านไม่ออก เขียนไม่ถูกต้อง   จากสภาพปัญหา คุณละมุล  จันทร์แป้น จึงสนใจที่จะทำการวิจัยเรื่องนี้ เพื่อที่จะพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาภาษาไทย โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียน แจกลูกสะกดคำ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1  เพื่อเป็นแนวทางสำหรับครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  ใช้ในการพัฒนาเพื่อเพิ่มทักษะ และสร้างความตระหนักให้นักเรียนเรื่องการอ่านและการเขียนที่ถูกต้อง โดยการเลือกกลุ่มตัวอย่าง  ที่ใช้ในการวิจัย  คือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1  โรงเรียนบ้านเลิงแฝกบัวแก้ว  ศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาเลิงแฝกหนองแวง  อำเภอกุดรัง  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม  เขต 3   จำนวนนักเรียน 19  คน   ของภาคเรียนที่ 1  ปีการศึกษา 2552  โดยการใช้แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนแจกลูกสะกดคำ  วิชาภาษาไทย จำนวน 9  ชุด  ชุดละ 5  แบบฝึกย่อย  
ผลการวิจัย ปรากฏว่าแบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนแจกลูกสะกดคำ  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ที่สร้างและพัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพเท่ากับ 84.04 /  87.37  มีค่าดัชนีประสิทธิผลเท่ากับ 0.7391 ซึ่งแสดงว่านักเรียนมีความรู้เพิ่มขึ้นจากก่อนเรียน ร้อยละ 73.91    นักเรียนที่เรียนด้วยแบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนแจกลูกสะกดคำ  มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05  และมีความพึงพอใจต่อแบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนแจกลูกสะกดคำ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โดยเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท