Ratanaporn


มหาวิทยาลัยพายัพ
Username
ratporn
สมาชิกเลขที่
54528
เป็นสมาชิกเมื่อ
เข้าระบบเมื่อ
-
(ไม่มีตั้งแต่ พ.ศ. 2564)
ประวัติย่อ

ชื่อภาษาไทย                 รองศาสตราจารย์.ดร.รัตนาพร เศรษฐกุล

ชื่อภาษาอังกฤษ            Associate  Professor Dr.Ratanaporn Sethakul

ตำแหน่ง                     อาจารย์ประจำ  ภาควิชาประวัติศาสตร์  คณะมนุษยศาสตร์

สถานที่ทำงาน               มหาวิทยาลัยพายัพ  อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50000

E-mail :                                               [email protected]

 

การศึกษา :       อบ. (เกียรตินิยม) (ประวัติศาสตร์) คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

            อม. (ประวัติศาสตร์) คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

                        Ph.D (History), Northern Illinois University, USA.

 

ประสบการณ์ในงานวิจัยและความชำนาญงาน : สาขาวิชาประวัติศาสตร์

พื้นที่วิจัยภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นทวีป ประเทศไทย ลาว พม่า และจีนตอนใต้ ขอบเขตการวิจัยประวัติศาสตร์ชนชาติไต ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นล้านนา ประวัติศาสตร์สังคมและวัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์บนพื้นที่สูง ประวัติศาสตร์สังคมและวัฒนธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตอนบน และประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมลุ่มแม่น้ำโขง

 

รางวัลดีเด่น : บุคลากรดีเด่นด้านวิชาการ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ปี ๒๕๔๗.

 

งานวิชาการต่างๆ

·    กรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์และสอบวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาระดับปริญญาโท               บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่  มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ และเป็นกรรมการร่วมควบคุมวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาปริญญาเอก ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

·       อาจารย์พิเศษของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

·       อาจารย์พิเศษภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

·    อาจารย์พิเศษคณะภาษาต่างประเทศของมหาวิทยาลัยกวางสีชนชาติส่วนน้อยและ     เป็นกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโทสาขาวิชามานุษยวิทยา

·    อาจารย์ผู้สอนหลักสูตรพิเศษ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่: May Term program, Spring Semester in Thailand และหลักสูตรนานาชาติระยะสั้น

·       ผู้บรรยายพิเศษหลักสูตรระยะสั้นของสถาบันเพื่อการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยพายัพ

·       ผู้บรรยายพิเศษหลักสูตร “Wildland Studies” ของมหาวิทยาลัย Santababara, USA.

·    ผู้ทรงคุณวุฒิวิพากษ์หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต และอาจารย์พิเศษสาขาวิชาลุ่มน้ำโขงและสาละวินศึกษา  มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่

·       ที่ปรึกษาหอจดหมายเหตุแห่งชาติฯ (เชียงใหม่)            

·       ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิโครงการวิจัยของสถาบันไทยคดี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

 

ประวัติการได้รับทุนวิจัยและผลงานวิจัยที่พิมพ์ออกเผยแพร่

 

·       “Political Relations between Chiang Mai and Kengtung in the Nineteenth Century” in Changes in Northern Thailand and the Shan States , 1886-1940, Singapore: Southeast Asian Studies Program, 1988.

 

·       “Lan Na History in the Lue Chronicles” paper presented in the International Conference of the Association of Asian Studies, Hawaii, April 11-14, 1996.

 

·       “From Sipsong Panna to Lan Na : the Lue in Nan Province” paper presented in  the International Conference of the International Association of Historians of Asia, Chulalongkorn University, May 20-24, 1996.

 

·       “Lue Communal Rights and Obligations: the Trace of Tai Primitive Society”, paper presented in the  International Conference on Thai Studies, Amsterdam, 5-9 July, 1999.

 

·       “Tai Lue of Sipsongpanna and Muang Nan in the Nineteenth Century” , in Andrew Turton (ed.) Civility and Savagery, Social Identity in Tai States Richmond Surrey: Curzon, 2000.

 

·       "Community Rights of the Lue in China, Laos and Thailand: a Comparative studies", Tai Culture, vol.V, No.2, December 2000, pp.69-103.

 

·       “Community Rights of the Lue in China, Laos and Thailand: A Comparative Study”, research granted by the Thailand Research Fund, 2000.

 

·       "The Tai Ya in Thailand", paper presented in the International Conference on Huayao Dai Culture, Xinping, China, 6th February, 2001.

 

·        “Lawa, Lua, Kha and Loi: their Hidden Histories in the Tai Tamnan”  paper presented in the International Conference on Dai-Thai Culture, Kunming, December 9-12, 2004.

 

·       “Yunnan-Lan Na: the Revival of Historical Trade Routes of Southwestern China and the Upper Mainland Southeast Asia”, paper presented in the International Conference on Southwestern China and Upper Northern Thailand Relationships: from Regional Trade  to International Cooperation, Payap University, Chiang Mai, Thailand, January 31-February1, 2005.

 

·       “The Fountain of Life: Water and Its Central Role in the History of the Tai Culture”, paper presented in the International Conference on Water Culture and Water Environment Protection, 6-8th September, 2005, Kunming, PRC.

 

·       “The Lua of Kengtung and Chiang Mai: a Comparative Study of the Indigenous People in the Tai States”, paper presented in the 2nd Forum on China and Southeast Asian Ethnic Groups, September 16-18, 2006, Nanning City, Guangxi, PRC.

 

·       Cooperation to Develop Ethnic Cultural Tourism Between Guangxi and Neighboring Countries & Promotion Mutual Prospertiy and Stability and Friendly Relationship  ,              Co-research project with Professor Li Fuchen, Centre for Zhuang Studies, Guangxi Academy of Social Sciences, 2006-2007. (continuing)

 

 

·       ประวัติศาสตร์เมืองเชียงตุง ใน  เรื่องเมืองเชียงตุง เชียงใหม่: สุริวงศ์บุคส์, ๒๕๓๖.

·       ความสัมพันธ์ในอดีตของห้าเชียง, เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่อง วัฒนธรรม ๕ เชียง , ณ โรงแรมริมกก, วันที่ ๑-๖ มีนาคม ๒๕๓๗.

·       ชาวจ้วง, เชียงใหม่: สุริวงศ์บุคส์, ๒๕๓๘.

 

·       ชาวลื้อในจังหวัดน่าน, งานวิจัยได้รับทุนสนับสนุนจากทบวงมหาวิทยาลัย, ๒๕๓๘.

 

·       ห้าเมิงวันตก หกเมิงวันออกของ: สิบสองปันนาก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองปี ๑๙๕๐,การศึกษาวัฒนธรรมชนชาติไท กรุงเทพ: โรงพิมพ์คุรุสภา, ๒๕๓๘.

 

·    การคงอยู่และการปรับเปลี่ยนทางสังคมของกลุ่มชาติพันธุ์ไท: กรณีศึกษา ชาวยอง ตำบลบวกค้าง อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่. งานวิจัยสนับสนุนโดยสำนักงาน คณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ, ๒๕๓๙.

 

·       สถานภาพไทศึกษา: ประวัติศาสตร์, งานวิจัยได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย, ๒๕๔๑.

 

·    อิทธิพลของคติความเชื่อทางสังคมต่อพัฒนาการของรัฐไท: กรณีศึกษาไทดำ ลื้อ และยวน, งานวิจัยได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ๒๕๔๒.

 

·    ประวัติศาสตร์สิบสองปันนา, กรุงเทพ: วิถีทรรศน์, ๒๕๔๔. (งานวิจัยได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย  วิจัยร่วมกับศาสตราจารย์ยรรยง จิระนคร)

 

·    สิทธิชุมชนชาวเขาในภาคเหนือของประเทศไทย: อดีตและปัจจุบัน, กรุงเทพ:นิติธรรม, ๒๕๔๖.(งานวิจัยได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย วิจัยร่วมกับ  พิริยะ สีหะกุลัง และอุทิศ ชำนิบรรณกร)

 

·       หนึ่งศตวรรษเศรษฐกิจชุมชนหมู่บ้านภาคเหนือ (๒๔๔๒-๒๕๔๒), กรุงเทพ :  สร้างสรรค์, ๒๕๔๖.(งานวิจัยได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย).

 

·    พญาช้างอยู่ทางเหนือ  พญาเสืออยู่ทางใต้: รัฐในขอบขัณฑสีมาและสยามประเทศ           ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวบทความเสนอในการสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง พระอัจฉริยคุณในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว วันที่ ๒๑ กันยายน    พ.ศ.๒๕๔๘, ณ ศูนย์ประชุมมานุษยวิทยาสิริธร.

 

·    ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น : อย่างไร และ ทำไม, บทความเสนอในการสัมมนา เรื่อง             จากคำบอกเล่า...สู่บันทึกประวัติศาสตร์ท้องถิ่น, วันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๔๙, ห้องแสนตอง โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว, เชียงใหม่.

 

·    ประวัติศาสตร์ยองบวกค้าง, บทความเสนอในการสัมมนาทางวิชาการยองศึกษา เรื่อง    สืบสานภูมิปัญญาและวัฒนธรรมชาวยอง : รากเหง้า ความเคลื่อนไหว และ               ความเปลี่ยนแปลง วันที่ ๑๑-๑๒ กันยายน ๒๕๔๙, หอประชุมอาคารรวมวิจัยและบัณฑิตศึกษา, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

 

·       ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจและวัฒนธรรมแอ่งเชียงใหม่-ลำพูน งานวิจัยได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, ๒๕๔๙.

 

·    การรวบรวมและศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านหัตถกรรมของชนเผ่าในพื้นที่     โครงการหลวงและพื้นที่สูง.  โครงการวิจัยร่วมได้รับการสนับสนุนจากสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง(องค์กรมหาชน), ๒๕๕๐.

 

·    เอกสารหอจดหมายเหตุ: ข้อมูลในการศึกษาประวัติศาสตร์ล้านน

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท