ธรรมหรรษา
รศ.ดร. พระมหา หรรษา นิธิบุณยากร

ธรรมหรรษา


ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิชาการ, ผอ.สำนักงานสมาคมมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนานานาชาติ, ผู้อำนวยการสถาบันภาษา มหาจุฬาฯ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
Username
phramahahansa
สมาชิกเลขที่
83659
เป็นสมาชิกเมื่อ
เข้าระบบเมื่อ
-
(ไม่มีตั้งแต่ พ.ศ. 2564)
ประวัติย่อ

ชื่อ-ฉายา : พระมหาหรรษา ธมฺมหาโส (นิธิบุณยากร)

ตำแหน่งทางวิชาการ : อาจารย์ประจำบัณฑิตวิทยาลัย

                              : รองศาสตราจารย์

ตำแหน่งทางบริหาร   : ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิชาการ

                                มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

                                ผู้อำนวยการสำนักงานสมาคมมหาวิทยาลัย

                                พระพุทธศาสนานานาชาติ

สถานที่ติดต่อ

  • สำนักงานอธิการบดีมหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และสมาคมมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนานานาชาติ โทร. 035-248-011
  • สำนักงานสมาคมมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนานานาชาติ โทร. ๐๓๕-๒๔๘-๐๙๘ 035-248-098 โทรสาร. ๐๓๕-๒๔๘-๐๙๙
  • วัดใหม่ แขวงบางขุนนนท์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ๑๐๗๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๘๘๒–๔๗๙๘ โทรสาร ๐–๒๘๘๒–๔๗๙๗ มือถือ ๐–๑๘๗๕–๙๑๕๔ email: [email protected]

ตำแหน่งปัจจุบัน

  • เลขานุการวัดใหม่ (๒๕๔๒–ปัจจุบัน)
  • ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดใหม่ (๒๕๔๔–ปัจจุบัน)
  • อาจารย์ประจำบัณฑิตวิทยาลัย (๑ กันยายน ๒๕๔๘-ปัจจุบัน)
  • อาจารย์สอนรายวิชาพระพุทธศาสนากับศาสตร์แห่งการตีความสมัยใหม่, สัมมนาพุทธสันติวิธีศึกษา(หลักสูตรปริญญาเอก) รายวิชาพระพุทธศาสนากับเหตุการณ์ปัจจุบัน, พุทธปรัชญา, สัมมนาพระพุทธศาสนา(หลักสูตรปริญญาโท), พระพุทธศาสนาเพื่อสังคม
  • อาจารย์กำกับหลักสูตรแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดการความขัดแย้งด้านนโยบายสาธารณะโดยสันติวิธี ศูนย์สันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า (๒๐ เมษายน-ปัจจุบัน) ผู้อำนวยการสำนักงานสมาคมมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนานานาชาติ

สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ

  • พระพุทธศาสนาเชิงประยุกต์กับสังคม
  • การจัดการความขัดแย้งโดยพุทธสันติวิธี
  • การตีความพระพุทธศาสนากับศาสตร์ต่างๆ

การศึกษา

  • นักธรรมเอก, เปรียญธรรม ๖ ประโยค
  • พุทธศาสตรบัณฑิต(สาขาปรัชญา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย(๒๕๔๑)
  • ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต(สาขาพุทธศาสนศึกษา)มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์(๒๕๔๔)
  • พุทธศาสตรดุษฏีบัณฑิต (สาขาพระพุทธศาสนา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (๒๕๔๘)

หลักสูตรที่เข้ารับการฝึกอบรม

  • หลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสำหรัับผู้บริหารระดับสูง (ปปร.) รุ่นที่ ๑๕ สถาบันพระปกเกล้า
  • หลักสูตรการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในโครงการสิ่งแวดล้อมโดยสันติวิธี สมาคมวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมแห่งประเทศไทย และสถาบันพระปกเกล้า
  • หลักสูตรความรู้พื้นฐานด้านการป้องกัน และไกล่เกลี่ยกรณีพิพาท ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยสันติวิธี กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและสถาบันพระปกเกล้า
  • หลักสูตรการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง และการขอโทษ: หลักการ ปฏิบัติการ และนโยบายสถาบันพระปกเกล้า
  • หลักสูตรประกาศนียบัตรแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดการความ ขัดแย้งด้านนโยบายสาธารณะด้วยสันติวิธี รุ่นที่ ๒ สถาบันพระปกเกล้า
  • หลักสูตรการพัฒนาการจัดการ (MINI MASTER OF MANANGMENT PROGRAM)รุ่นที่ ๔๕ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)
  • หลักสูตรปกาศนียบัตรการบริหารธุรกิจ (Kaset Mini MBA๗ รุ่นที่ ๔๓ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • หลักสูตรการฟื้นคืนดี และการขอโทษ สถาบันพระปกเกล้า
  • หลักสูตรประกาศนียบัตรทักษะการเป็นผู้ไกล่เกลี่ยด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยสันติวิธี รุ่นที่ ๑ สำนักส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
  • หลักสูตรประกาศนียบัตรวิทยากรการป้องกันและแก้ไขปัญหาความขัดแย้งด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยสันติวิธี สำนักส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
  • หลักสูตรประกาศนียบัตรการจัดการความขัดแย้งอย่างมีประสิทธิภาพ ศาลยุติธรรม
  • หลักสูตรประกาศนียบัตรนักเผยแผ่ธรรมะทางวิทยุกระจายเสียง สถาบันการประชาสัมพันธ์ กรมประชาสัมพันธ์ร่วมกันมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • หลักสูตรประกาศนียบัตรภาษาอังกฤษแบบธุรกิจ (Business English) ณ Oxford house college and Oxford School of English เมือง Oxford,UK.
  • หลักสูตรประกาศนียบัตรภาษาการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ (AcademicEnglish) ณ สถาบันภาษา Oxford house college เมือง Oxford,UK.
  • หลักสูตรพัฒนาผู้บริหาร Mini MBA คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • หลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสำหรับผู้บริหารระดับสูง (ปปร) รุ่นที่ ๑๕ สถาบันพระปกเกล้า

ประสบการณ์ศึกษาและดูงานต่างประเทศ

  • การศึกษาและดูงานเกี่ยวกับการใช้ภาษาอังกฤษ และการจัดการธุรกิจ ณ ณ Oxford house college and Oxford School of English เมือง Oxford,UK.
  • การศึกษาและดูงานเกี่ยวกับห้องสมุดและการใช้ห้องสมุด ณ ประเทศฝรั่งเศส
  • การเข้าร่วมสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง “Interfaith Dialogue” ณ เมืองนานจิง ประเทศ จีน
  • การเข้าร่วมสัมมนา เรื่อง “Co-operation among Religious leaders” ณ ประเทศสิงค์โปร์
  • การเข้าร่วมสัมมนาและดูงาน ณ เมืองอนุราธปุระ และแคนดี้ ประเทศศรีลังกา
  • การเข้าร่วมสัมมนาและศึกษาดูงาน เรื่อง “ผู้หญิงการวิกฤติการณ์ของโลก” ณ เมืองพนมเปญ ประเทศกัมพูชา
  • การศึกษาดูงาน และร่วมสัมมนา เรื่อง “Engaged Buddhism” ณ เมืองโฮจิมินท์ ประเทศเวียดนาม
  • การเข้าร่วมงานเฉลิมฉลองวันวิสาขบูชา ณ เมืองฮานอย ประเทศเวียดนาม
  • การร่วมสัมมนา และศึกษาดูงาน ณ Dongkuk Buddhist Chonbop College เมืองปูซาน ประเทศเกาหลีใต้
  • การเข้าร่วมสัมมนา เรื่อง “พระพุทธศาสนากับการศึกษาด้านคัมภีร์” ณ เมืองกาฑมัณฑุ ประเทศเนปาล
  • การเข้าร่วมสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง "พระพุทธศาสนาเพื่อสังคม" ของสมาคมมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนาเถรวาทประเทศพม่า
  • ศึกษาดูงานเกี่ยวกับการบริหารจัดการองค์กรสมัยใหม่ ณ ประเทศออสเตรีย เชโกสโลวเกีย และเมืองมิวนิค ประเทศเยอรมัน ในโครงการเกษตร  มินิ เอ็มบีเอ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • การสัมมนา และนำเสนองานเรื่อง "พระพุทธศาสนาในทศวรรษหน้า" ณ เมืองนาคปูร์ ประเทศอินเดีย
  • การสัมมนา เรื่อง "พระพุทธศาสนากับการพัฒนา" ณ เมืองโบโรนารุวะ ประเทศศรีลังกา
  • การสัมมนา และนำเสนอผลงานทางวิชาการเรื่อง "พระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบัน" กาฑมันดุ ประเทศเนปาล
  • การสัมมนาและนำเสนอผลงานทางวิชาการเรื่อง "บทบาทพระพุทธศาสนา: ความจริง ความยุติธรรม อภัยทาน และความสมานฉันท์" ประเทศสิงค์โปร์

ประสบการณ์การทำงาน

  • อาจารย์บรรยายพิเศษมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆษ (๒๐ พฤษภาคม ๒๕๔๓–ตุลาคม ๒๕๔๕)
  • อาจารย์บรรยายพิเศษบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (๑๕ พฤษภาคม-๓๑ สิงหาคม ๒๕๔๘)
  • อาจารย์กำกับหลักสูตรแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดการความขัดแย้งด้านนโยบายสาธารณะโดยสันติวิธี ศูนย์สันติวิธีและธรรมภิบาล สถาบันพระปกเกล้า (๒๐ เมษายน ๒๕๔๘-ปัจจุบัน)
  • นักเจรจาไกล่เกลี่ยคนกลางเกี่ยวกับกรณีสิ่งแวดล้อม และการฟ้องร้องใน คดีความต่างๆ
  • ประธานคณะทำงานจัดทำ "คู่มือข้อควรระวังการใช้สัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา" กระทรวงวัฒนธรรม

ประสบการณ์การบรรยายในหน่วยงานภาครัฐและเอกชน

  • มหาวิทยาลัยต่างๆ เช่น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง มหาวิทยาลัย RBAC มหาวิทยาลัยเอแบค สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีกรุงเทพฯ และมหาวิทยาลัยบรมราชชนนีนนทบุรี
  • หน่วยงานภาครัฐ เช่น กรมบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม กระทรวงพาณิชย์  สถาบันพระปกเกล้า ศาลภาค ๔ สำนักงานอัยการสูงสุด กระทรวงอุตสาหกรรม สภาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ  กรมยุทธการทหารบก  โรงพยาบาลหล่มสัก เพชรบูรณ์ กองบังคับการกองทัพไทย กระทรวงกลาโหม  วิทยาลัยมหาดไทย สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ
  • หน่วยงานภาคเอกชน เช่น บริษัทเซเว่นอีเลฟเว่น ซีพี ห้างพาต้า ปิ่นเกล้า ธรรมสภา บริษัทไทยโพลีคอนส์ และบริษัทดับเบิ้ลเอ 

รางวัล/เกียรติคุณ

  • โล่ประกาศเกียรติคุณศิษย์เก่าดีเด่นของบัณฑิตวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • เข็มประกาศเกียรติคุณของสถาบันพระปกเกล้า
  • รางวัลผู้ทำคุณประโยชน์แก่พระพุทธศาสนา (เสาเสมาธรรมจักร) กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม

บทความที่ตีพิมพ์

  • การศึกษาวิเคราะห์บทบาทและความสำคัญของสามเณรในพระพุทธศาสนา
  • พุทธจักรวาลวิทยา
  • พระสงฆ์ยุคใหม่กับการตีความและเผยแผ่พุทธธรรม
  • รูปแบบการจัดการความขัดแย้งโดยพุทธสันติวิธี: แนวคิดและการปฏิบัติการ
  • การตีความประเด็นคฤหัสถ์บรรลุพระอรหันต์:ความสัมพันธ์ระหว่างการบวชกับการตาย
  • สตรีเป็นศัตรูของพรหมจรรย์จริงหรือ?
  • สันติภาพในมุมมองของพระพุทธศาสนาเถรวาท
  • ความขัดแย้งในโลกทัศน์ของพระพุทธศาสนาเถรวาท
  • การจัดการความขัดแย้งกับการสื่อสารทางการเมืองในภาวะวิกฤติ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
  • พระพุทธเจ้าในฐานะนักเจรจาไกล่เกลี่ยคนกลาง
  • สันติวิธีในฐานะเป็นเครื่องมือสื่อสารทางการเมืองในภาวะวิกฤติ
  • ยุคสมัยความขัดแย้งและแบ่งข้าง:พระสงฆ์ยุคใหม่ควรตีความและเผยแผ่พระพุทธศาสนาอย่างไร
  • พระพุทธศาสนากับภาวะวิกฤตของชาติ
  • การจัดการความขัดแย้งโดยสันติวิธี: อะไร และอย่างไร
  • ความยุติธรรมไม่มา สามัคคีไม่เกิดจริงหรือ
  • คฤหัสถ์ทำไม ต้องบวช ถ้าไม่บวช ทำไมต้องตาย
  • สันติวิธีทำไม ทำไมต้องสันติวิธี
  • สันติวิธีบนวิถีทางสามแพร่งในสังคมไทยปัจจุบัน
  • สันติภาพบนเส้นทางสี่แพร่งในสังคมไทยปัจจุบัน
  • อภัยทานกับการจัดการความขัดแย้งในสังคมไทย
  • อธิกรณสมถะในฐานะเครื่องมือจัดการความขัดแย้งในสังคมสงฆ์
  • ศาสนากับการสร้างสันติภาพโลก
  • สัจพจน์: การตีความของกูไก

งานวิจัย

  • พระสงฆ์ยุคใหม่กับการตีความและเผยแผ่พุทธธรรม, ทุนสนับสนุนการวิจัยจากศูนย์พุทธศาสนศึกษา, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ทัศนคติของนิสิตต่อการย้ายสถานที่เรียนจากวัดมหาธาตุไปมหาจุฬาฯ วังน้อย, ทุนสนับสนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • ศึกษาวิเคราะห์การมีงานทำของนิสิตของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท และเอก

  • วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท เรื่อง "วิกฤติพระพุทธศาสนา:ศึกษากรณีการบรรพชาเป็นสามเณรในสังคมไทยปัจจุบัน (๒๕๒๓-๒๕๔๓), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก เรื่อง "รูปแบบการจัดการจัดการความขัดแย้งโดยพุทธสันติวิธี: ศึกษากรณีลุ่มน้ำแม่ตาช้าง จ.เชียงใหม่", มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

บทความภาษาอังกฤษตีพิมพ์

  • Interaction between Buddhism and Politics
  • Buddhism is the Religion of Peace
  • Buddhist Perspectives on Conflict Management
  • Engaged Buddhism in Thailand
  • The Outlook of Buddhism for the Modern World
  • Water War of the Mae Ta Chang Basin
  • Human Nature and Conflict: Buddhist Perspective
  • Peace in Buddhism: An Analytical Study
  • Buddhism: a Religion of Positivism or Presentism
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท