อนุทินล่าสุด


ชูชีพ เหลือผล
เขียนเมื่อ

ผู้นำเสนอ  นางอินอ้อย ชัยลา

ชื่อเรื่อง  การสร้างโปรแรกมมัลติมีเดียเรื่องการผลิตบทเรียนช่วยสอน สำหรับครูประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ

ข้อดี    น้ำเสียงชัดเจน ดูเข้าใจง่าย

ข้อปรับปรุง  -

เกณฑ์การประเมินผู้นำเสนองาน

ลำดับที่

รายการ

ระดับคะแนน

น้อย ( 1 )

ปานกลาง ( 2 )

มาก ( 3 )

1

ขนาดตัวอักษร

 

      

2

สีตัวอักษร

 

 

     /

3

การออกแบบพื้นหลัง

 

 /

      

4

ภาพประกอบรวมทั้งภาพเคลื่อนไหวเหมาะสมหรือไม่

 

 

      /

5

เสียงประกอบเหมาะสมหรือไม่

 

 

     /

6

เทคนิคการเคลื่อนไหวระหว่างประโยค  ระหว่างหน้า  เหมาะสมหรือไม่

 

 

      /

7

วิธีการนำเสนอของผู้นำเสนอการ  การพูด  การออกเสียง  เหมาะสมหรือไม่ 

 

 

       /

8

 เทคนิคพิเศษอื่นๆถ้ามี

 

 /

      

 

 สรุปผลการประเมิน

 

6

      15

รวม

 

 

      21



ความเห็น (1)

เป็นข้อความที่ไม่เหมาะอย่างยิ่งกับการโพสต์ในอนุทินเลยค่ะ ขอความกรุณาเปลี่ยนที่บันทึกเถิดค่ะ

ชูชีพ เหลือผล
เขียนเมื่อ

ผู้นำเสนอ  นางสาวสุพัสษา บุพศิริ

ชื่อเรื่อง  การเปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์ทางรูปภาพของเด็กปฐมวัยด้วยการเล่านิทานประกอบหุ่นและการเล่านิทานประกอบรูปภาพ

ข้อดี    ตัวหนังสือขนาดชัดเจน เสียงชัดเจน

ข้อปรับปรุง  -

เกณฑ์การประเมินผู้นำเสนองาน

ลำดับที่

รายการ

ระดับคะแนน

น้อย ( 1 )

ปานกลาง ( 2 )

มาก ( 3 )

1

ขนาดตัวอักษร

 

 

      /

2

สีตัวอักษร

 

 

     /

3

การออกแบบพื้นหลัง

 

 

      /

4

ภาพประกอบรวมทั้งภาพเคลื่อนไหวเหมาะสมหรือไม่

 

      

5

เสียงประกอบเหมาะสมหรือไม่

 

/

 

6

เทคนิคการเคลื่อนไหวระหว่างประโยค  ระหว่างหน้า  เหมาะสมหรือไม่

 

 

      /

7

วิธีการนำเสนอของผู้นำเสนอการ  การพูด  การออกเสียง  เหมาะสมหรือไม่ 

 

 

       /

8

 เทคนิคพิเศษอื่นๆถ้ามี

 

 /

      

 

 สรุปผลการประเมิน

 

6

      15

รวม

 

 

      21



ความเห็น (1)

เป็นข้อความที่ไม่เหมาะอย่างยิ่งกับการโพสต์ในอนุทินเลยค่ะ ขอความกรุณาเปลี่ยนที่บันทึกเถิดค่ะ

ชูชีพ เหลือผล
เขียนเมื่อ

ผู้นำเสนอ  นางรัชฎาภรณ์ ปัญญาวงศ์

ชื่อเรื่อง  การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี

ข้อดี    

ข้อปรับปรุง  สีตัวอักษรและพื้นหลัง

เกณฑ์การประเมินผู้นำเสนองาน

ลำดับที่

รายการ

ระดับคะแนน

น้อย ( 1 )

ปานกลาง ( 2 )

มาก ( 3 )

1

ขนาดตัวอักษร

 

 

      /

2

สีตัวอักษร

 

     

3

การออกแบบพื้นหลัง

 

 /

      

4

ภาพประกอบรวมทั้งภาพเคลื่อนไหวเหมาะสมหรือไม่

 

 

      /

5

เสียงประกอบเหมาะสมหรือไม่

 

/

 

6

เทคนิคการเคลื่อนไหวระหว่างประโยค  ระหว่างหน้า  เหมาะสมหรือไม่

 

 

      /

7

วิธีการนำเสนอของผู้นำเสนอการ  การพูด  การออกเสียง  เหมาะสมหรือไม่ 

 

 

       /

8

 เทคนิคพิเศษอื่นๆถ้ามี

 

 /

      

 

 สรุปผลการประเมิน

 

8

     12

รวม

 

 

      20



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

ชูชีพ เหลือผล
เขียนเมื่อ

ผู้นำเสนอ  นางฉวีวรรณ กุดหอม

ชื่อเรื่อง  การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะการทำงานกลุ่ม วิชาดนตรีไทย โดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ ม.1 โรงเรียนบางแพปฐมวิทยา สพท.ราชบุรี เขต 2

ข้อดี    ดูง่ายสบายตา

ข้อปรับปรุง  -

เกณฑ์การประเมินผู้นำเสนองาน

ลำดับที่

รายการ

ระดับคะแนน

น้อย ( 1 )

ปานกลาง ( 2 )

มาก ( 3 )

1

ขนาดตัวอักษร

 

 

      /

2

สีตัวอักษร

 

 

     /

3

การออกแบบพื้นหลัง

 

 

      /

4

ภาพประกอบรวมทั้งภาพเคลื่อนไหวเหมาะสมหรือไม่

 

      

5

เสียงประกอบเหมาะสมหรือไม่

 

/

 

6

เทคนิคการเคลื่อนไหวระหว่างประโยค  ระหว่างหน้า  เหมาะสมหรือไม่

 

 

      /

7

วิธีการนำเสนอของผู้นำเสนอการ  การพูด  การออกเสียง  เหมาะสมหรือไม่ 

 

 

       /

8

 เทคนิคพิเศษอื่นๆถ้ามี

 

 /

      

 

 สรุปผลการประเมิน

 

6

      15

รวม

 

 

      21



ความเห็น (1)

เป็นข้อความที่ไม่เหมาะอย่างยิ่งกับการโพสต์ในอนุทินเลยค่ะ ขอความกรุณาเปลี่ยนที่บันทึกเถิดค่ะ

ชูชีพ เหลือผล
เขียนเมื่อ

ผู้นำเสนอ  นายเชาวฤทธิ์ จันฤาชัย

ชื่อเรื่อง  การพัฒนาการอ่านและการเขียนแจกรูปสะกดคำ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1

ข้อดี    น้ำเสียงชัดเจน

ข้อปรับปรุง  สีตัวอักษรและสีพื้นหลัง

เกณฑ์การประเมินผู้นำเสนองาน

ลำดับที่

รายการ

ระดับคะแนน

น้อย ( 1 )

ปานกลาง ( 2 )

มาก ( 3 )

1

ขนาดตัวอักษร

 

 

      /

2

สีตัวอักษร

 

     

3

การออกแบบพื้นหลัง

 

 

      /

4

ภาพประกอบรวมทั้งภาพเคลื่อนไหวเหมาะสมหรือไม่

 

      

5

เสียงประกอบเหมาะสมหรือไม่

 

 

       /

6

เทคนิคการเคลื่อนไหวระหว่างประโยค  ระหว่างหน้า  เหมาะสมหรือไม่

 

 

      /

7

วิธีการนำเสนอของผู้นำเสนอการ  การพูด  การออกเสียง  เหมาะสมหรือไม่ 

 

 

       /

8

 เทคนิคพิเศษอื่นๆถ้ามี

 

 /

      

 

 สรุปผลการประเมิน

 

6

      15

รวม

 

 

      21



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

ชูชีพ เหลือผล
เขียนเมื่อ

ผู้นำเสนอ  นางสาวเกศกนก ศรีมณีรัตน์

ชื่อเรื่อง  การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ รายวิชา ภาษาอังกฤษ เรื่องคำศัพท์ ของนักเรียน ม.1

ข้อดี    ตัวหนังสือขนาดชัดเจน เสียงชัดเจน เป็นระเบียบ

ข้อปรับปรุง  -

เกณฑ์การประเมินผู้นำเสนองาน

ลำดับที่

รายการ

ระดับคะแนน

น้อย ( 1 )

ปานกลาง ( 2 )

มาก ( 3 )

1

ขนาดตัวอักษร

 

 

      /

2

สีตัวอักษร

 

 

     /

3

การออกแบบพื้นหลัง

 

 

      /

4

ภาพประกอบรวมทั้งภาพเคลื่อนไหวเหมาะสมหรือไม่

 

 

      /

5

เสียงประกอบเหมาะสมหรือไม่

 

/

 

6

เทคนิคการเคลื่อนไหวระหว่างประโยค  ระหว่างหน้า  เหมาะสมหรือไม่

 

 

      /

7

วิธีการนำเสนอของผู้นำเสนอการ  การพูด  การออกเสียง  เหมาะสมหรือไม่ 

 

 

       /

8

 เทคนิคพิเศษอื่นๆถ้ามี

 

 /

      

 

 สรุปผลการประเมิน

 

4

      18

รวม

 

 

      22



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

ชูชีพ เหลือผล
เขียนเมื่อ

ผู้นำเสนอ  นางสาวยุพิน ปัญญาประชุม

ชื่อเรื่อง  การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสุขศึกษา เรื่องสิ่งเสพติดให้โทษของนักเรียน ม.2 โดยใช้วิธีสอนแบบร่วมมือรูปแบบ STAD 

ข้อดี    ตัวหนังสือขนาดชัดเจน เสียงชัดเจน

ข้อปรับปรุง  -

เกณฑ์การประเมินผู้นำเสนองาน

ลำดับที่

รายการ

ระดับคะแนน

น้อย ( 1 )

ปานกลาง ( 2 )

มาก ( 3 )

1

ขนาดตัวอักษร

 

 

      /

2

สีตัวอักษร

 

 

     /

3

การออกแบบพื้นหลัง

 

 

      /

4

ภาพประกอบรวมทั้งภาพเคลื่อนไหวเหมาะสมหรือไม่

 

 

      /

5

เสียงประกอบเหมาะสมหรือไม่

 

/

 

6

เทคนิคการเคลื่อนไหวระหว่างประโยค  ระหว่างหน้า  เหมาะสมหรือไม่

 

 

      /

7

วิธีการนำเสนอของผู้นำเสนอการ  การพูด  การออกเสียง  เหมาะสมหรือไม่ 

 

 

       /

8

 เทคนิคพิเศษอื่นๆถ้ามี

 

 /

      

 

 สรุปผลการประเมิน

 

4

      18

รวม

 

 

      22



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

ชูชีพ เหลือผล
เขียนเมื่อ

ผู้นำเสนอ  นางสาวชินตา สุภาชาติ

ชื่อเรื่อง  การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการแก้ปัญหาทางฟิสิกส์ของนักเรียน ม.4 ด้วยวิธีการสืบเสาะหาความรู้

ข้อดี    ตัวหนังสือขนาดชัดเจน เสียงชัดเจน ดูง่ายสบายตา

ข้อปรับปรุง  -

เกณฑ์การประเมินผู้นำเสนองาน

ลำดับที่

รายการ

ระดับคะแนน

น้อย ( 1 )

ปานกลาง ( 2 )

มาก ( 3 )

1

ขนาดตัวอักษร

 

 

      /

2

สีตัวอักษร

 

 

     /

3

การออกแบบพื้นหลัง

 

 

      /

4

ภาพประกอบรวมทั้งภาพเคลื่อนไหวเหมาะสมหรือไม่

 

      

5

เสียงประกอบเหมาะสมหรือไม่

 

/

 

6

เทคนิคการเคลื่อนไหวระหว่างประโยค  ระหว่างหน้า  เหมาะสมหรือไม่

 

 

      /

7

วิธีการนำเสนอของผู้นำเสนอการ  การพูด  การออกเสียง  เหมาะสมหรือไม่ 

 

 

       /

8

 เทคนิคพิเศษอื่นๆถ้ามี

 

 /

      

 

 สรุปผลการประเมิน

 

6

      15

รวม

 

 

      21



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

ชูชีพ เหลือผล
เขียนเมื่อ

ผู้นำเสนอ  นางนิตยา นวลมณี

ชื่อเรื่อง  การพัฒนาแบบฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานประกอบการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะเรื่องสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ชั้น ป.6

ข้อดี    ตัวหนังสือขนาดชัดเจน เสียงชัดเจน

ข้อปรับปรุง  -

เกณฑ์การประเมินผู้นำเสนองาน

ลำดับที่

รายการ

ระดับคะแนน

น้อย ( 1 )

ปานกลาง ( 2 )

มาก ( 3 )

1

ขนาดตัวอักษร

 

 

      /

2

สีตัวอักษร

 

 

     /

3

การออกแบบพื้นหลัง

 

 

      /

4

ภาพประกอบรวมทั้งภาพเคลื่อนไหวเหมาะสมหรือไม่

 

      

5

เสียงประกอบเหมาะสมหรือไม่

 

/

 

6

เทคนิคการเคลื่อนไหวระหว่างประโยค  ระหว่างหน้า  เหมาะสมหรือไม่

 

 

      /

7

วิธีการนำเสนอของผู้นำเสนอการ  การพูด  การออกเสียง  เหมาะสมหรือไม่ 

 

 

       /

8

 เทคนิคพิเศษอื่นๆถ้ามี

 

 /

      

 

 สรุปผลการประเมิน

 

6

      15

รวม

 

 

      21



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

ชูชีพ เหลือผล
เขียนเมื่อ

ผู้นำเสนอ  นางสุรีพร  ประภาหาร

ชื่อเรื่อง  การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเล่านิทานส่งเสริมพฤติกรรมจริยธรรมด้านการช่วยเหลือและแบ่งปัน

ข้อดี    ตัวหนังสือขนาดชัดเจน เสียงชัดเจน

ข้อปรับปรุง  -

เกณฑ์การประเมินผู้นำเสนองาน

ลำดับที่

รายการ

ระดับคะแนน

น้อย ( 1 )

ปานกลาง ( 2 )

มาก ( 3 )

1

ขนาดตัวอักษร

 

 

      /

2

สีตัวอักษร

 

 /

     

3

การออกแบบพื้นหลัง

 

      

4

ภาพประกอบรวมทั้งภาพเคลื่อนไหวเหมาะสมหรือไม่

 

 

       /

5

เสียงประกอบเหมาะสมหรือไม่

 

/

 

6

เทคนิคการเคลื่อนไหวระหว่างประโยค  ระหว่างหน้า  เหมาะสมหรือไม่

 

 

      /

7

วิธีการนำเสนอของผู้นำเสนอการ  การพูด  การออกเสียง  เหมาะสมหรือไม่ 

 

 

       /

8

 เทคนิคพิเศษอื่นๆถ้ามี

 

 

       /

 

 สรุปผลการประเมิน

 

6

      15

รวม

 

 

      21



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

ชูชีพ เหลือผล
เขียนเมื่อ

ผู้นำเสนอ  นางอัจฉรา เหลือผล

ชื่อเรื่อง  การพัฒนาชุดการเรียนคณิตศาสตร์ที่เน้นทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ โดยการสอนแบบค้นพบ เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ของ ม.1

ข้อดี     รูปแบบสวย ใช้เทคนิคพิเศษในการสร้าง

ข้อปรับปรุง  

เกณฑ์การประเมินผู้นำเสนองาน

ลำดับที่

รายการ

ระดับคะแนน

น้อย ( 1 )

ปานกลาง ( 2 )

มาก ( 3 )

1

ขนาดตัวอักษร

 

 

      /

2

สีตัวอักษร

 

 

      /

3

การออกแบบพื้นหลัง

 

 

      /

4

ภาพประกอบรวมทั้งภาพเคลื่อนไหวเหมาะสมหรือไม่

 

 

       /

5

เสียงประกอบเหมาะสมหรือไม่

 

/

 

6

เทคนิคการเคลื่อนไหวระหว่างประโยค  ระหว่างหน้า  เหมาะสมหรือไม่

 

 

      /

7

วิธีการนำเสนอของผู้นำเสนอการ  การพูด  การออกเสียง  เหมาะสมหรือไม่ 

 

 

       /

8

 เทคนิคพิเศษอื่นๆถ้ามี

 

 

       /

 

 สรุปผลการประเมิน

 

2

      21

รวม

 

 

      23



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

ชูชีพ เหลือผล
เขียนเมื่อ

ผู้นำเสนอ  นางเกษร พรหมวงษ์ซ้าย

ชื่อเรื่อง  การพัฒนาแผนการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิศาสตร์เรื่องการแปลงทางเรขาคณิต ชั้นม.2 โดยใช้ผังความคิด (Mind Mapping)

ข้อดี     ดูง่าย สบายตา

ข้อปรับปรุง  

เกณฑ์การประเมินผู้นำเสนองาน

ลำดับที่

รายการ

ระดับคะแนน

น้อย ( 1 )

ปานกลาง ( 2 )

มาก ( 3 )

1

ขนาดตัวอักษร

 

 

      /

2

สีตัวอักษร

 

      

3

การออกแบบพื้นหลัง

 

 

      /

4

ภาพประกอบรวมทั้งภาพเคลื่อนไหวเหมาะสมหรือไม่

 

 

       /

5

เสียงประกอบเหมาะสมหรือไม่

 

/

 

6

เทคนิคการเคลื่อนไหวระหว่างประโยค  ระหว่างหน้า  เหมาะสมหรือไม่

 

 

      /

7

วิธีการนำเสนอของผู้นำเสนอการ  การพูด  การออกเสียง  เหมาะสมหรือไม่ 

 

 

       /

8

 เทคนิคพิเศษอื่นๆถ้ามี

 

/

 

 

 สรุปผลการประเมิน

 

6

      15

รวม

 

 

      21



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

ชูชีพ เหลือผล
เขียนเมื่อ

ผู้นำเสนอ  นางสาวเกศิณี คำเกษ

ชื่อเรื่อง  การเปรียบเทียบความเข้าใจในการอ่านและเจตคติวิชาภาษาไทยของนักเรียน ม.3 ระหว่างกลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT กับการจัดการเรียนรู้แบบ

ข้อดี     ดูเข้าใจง่าย

ข้อปรับปรุง เนื้อหาค่อนข้างเยอะ

เกณฑ์การประเมินผู้นำเสนองาน

ลำดับที่

รายการ

ระดับคะแนน

น้อย ( 1 )

ปานกลาง ( 2 )

มาก ( 3 )

1

ขนาดตัวอักษร

 

/

    

2

สีตัวอักษร

 

 

      /

3

การออกแบบพื้นหลัง

 

 

      /

4

ภาพประกอบรวมทั้งภาพเคลื่อนไหวเหมาะสมหรือไม่

 

 

       /

5

เสียงประกอบเหมาะสมหรือไม่

 

/

 

6

เทคนิคการเคลื่อนไหวระหว่างประโยค  ระหว่างหน้า  เหมาะสมหรือไม่

 

 

      /

7

วิธีการนำเสนอของผู้นำเสนอการ  การพูด  การออกเสียง  เหมาะสมหรือไม่ 

 

 

       /

8

 เทคนิคพิเศษอื่นๆถ้ามี

 

/

 

 

 สรุปผลการประเมิน

 

6

      15

รวม

 

 

      21



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

ชูชีพ เหลือผล
เขียนเมื่อ

ผู้นำเสนอ  นางสาวอนุธิดา สารทอง

ชื่อเรื่อง  การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ม.3 โรงเรียนโยธินบำรุงที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานและการจัดการเรียนรู้แบบเสาะแสวงหาความรู้

ข้อดี     รูปแบบสวย

ข้อปรับปรุง  พื้นหลังทำให้มองตัวอักษรไม่ค่อยเห็น

เกณฑ์การประเมินผู้นำเสนองาน

ลำดับที่

รายการ

ระดับคะแนน

น้อย ( 1 )

ปานกลาง ( 2 )

มาก ( 3 )

1

ขนาดตัวอักษร

 

 /

      

2

สีตัวอักษร

 

      

3

การออกแบบพื้นหลัง

 

 /

      

4

ภาพประกอบรวมทั้งภาพเคลื่อนไหวเหมาะสมหรือไม่

 

 

       /

5

เสียงประกอบเหมาะสมหรือไม่

 

 

      /

6

เทคนิคการเคลื่อนไหวระหว่างประโยค  ระหว่างหน้า  เหมาะสมหรือไม่

 

 

      /

7

วิธีการนำเสนอของผู้นำเสนอการ  การพูด  การออกเสียง  เหมาะสมหรือไม่ 

 

 

       /

8

 เทคนิคพิเศษอื่นๆถ้ามี

 

/

 

 

 สรุปผลการประเมิน

 

8

      12

รวม

 

 

      20



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

ชูชีพ เหลือผล
เขียนเมื่อ

ผู้นำเสนอ  นางสาวภัทรนันต์ บุญมาก

ชื่อเรื่อง  การใช้นิทานอิงธรรมประกอบคำถามปลายเปิดเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดเชิงเหตุผลของเด็กอนุบาลโรงเรียนบ้านห้วยทราย อำเภอบำเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ

ข้อดี     รูปแบบสวย สบายตา

ข้อปรับปรุง  

เกณฑ์การประเมินผู้นำเสนองาน

ลำดับที่

รายการ

ระดับคะแนน

น้อย ( 1 )

ปานกลาง ( 2 )

มาก ( 3 )

1

ขนาดตัวอักษร

 

 

      /

2

สีตัวอักษร

 

      

3

การออกแบบพื้นหลัง

 

 

      /

4

ภาพประกอบรวมทั้งภาพเคลื่อนไหวเหมาะสมหรือไม่

 

 

       /

5

เสียงประกอบเหมาะสมหรือไม่

 

/

 

6

เทคนิคการเคลื่อนไหวระหว่างประโยค  ระหว่างหน้า  เหมาะสมหรือไม่

 

 

      /

7

วิธีการนำเสนอของผู้นำเสนอการ  การพูด  การออกเสียง  เหมาะสมหรือไม่ 

 

 

       /

8

 เทคนิคพิเศษอื่นๆถ้ามี

 

/

 

 

 สรุปผลการประเมิน

 

6

      15

รวม

 

 

      21



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

ชูชีพ เหลือผล
เขียนเมื่อ

ผู้นำเสนอ  นางสุธิดา ศรีลาดเลา

ชื่อเรื่อง  ผลการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 5 ขั้นที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของนักเรียนชั้น ม.1

ข้อดี     ดูสายตา

ข้อปรับปรุง  เนื้อหาค่อนข้างเยอะ

เกณฑ์การประเมินผู้นำเสนองาน

ลำดับที่

รายการ

ระดับคะแนน

น้อย ( 1 )

ปานกลาง ( 2 )

มาก ( 3 )

1

ขนาดตัวอักษร

 

 

      /

2

สีตัวอักษร

 

      

3

การออกแบบพื้นหลัง

 

 

      /

4

ภาพประกอบรวมทั้งภาพเคลื่อนไหวเหมาะสมหรือไม่

 

 

       /

5

เสียงประกอบเหมาะสมหรือไม่

 

/

 

6

เทคนิคการเคลื่อนไหวระหว่างประโยค  ระหว่างหน้า  เหมาะสมหรือไม่

 

 

      /

7

วิธีการนำเสนอของผู้นำเสนอการ  การพูด  การออกเสียง  เหมาะสมหรือไม่ 

 

 

       /

8

 เทคนิคพิเศษอื่นๆถ้ามี

 

/

 

 

 สรุปผลการประเมิน

 

6

      15

รวม

 

 

      21



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

ชูชีพ เหลือผล
เขียนเมื่อ

ผู้นำเสนอ  นางสาวอมรพันธุ์ บุญมาวงษา

ชื่อเรื่อง  การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและจิตวิทยาศาสตร์ของ ม.4 ที่เรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์บูรณาการ

ข้อดี     เข้าใจง่าย สบายตา

ข้อปรับปรุง  

เกณฑ์การประเมินผู้นำเสนองาน

ลำดับที่

รายการ

ระดับคะแนน

น้อย ( 1 )

ปานกลาง ( 2 )

มาก ( 3 )

1

ขนาดตัวอักษร

 

 

      /

2

สีตัวอักษร

 

 

      /

3

การออกแบบพื้นหลัง

 

 

      /

4

ภาพประกอบรวมทั้งภาพเคลื่อนไหวเหมาะสมหรือไม่

 

       

5

เสียงประกอบเหมาะสมหรือไม่

 

/

 

6

เทคนิคการเคลื่อนไหวระหว่างประโยค  ระหว่างหน้า  เหมาะสมหรือไม่

 

 

      /

7

วิธีการนำเสนอของผู้นำเสนอการ  การพูด  การออกเสียง  เหมาะสมหรือไม่ 

 

 

       /

8

 เทคนิคพิเศษอื่นๆถ้ามี

 

/

 

 

 สรุปผลการประเมิน

 

6

      15

รวม

 

 

      21



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

ชูชีพ เหลือผล
เขียนเมื่อ

ผู้นำเสนอ  นางทิวากร วงศ์วิชิต

ชื่อเรื่อง  การพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา ฟิสิกส์ ของ ป.5 โดยใช้วิธีการสืบเสาะหาความรู้

ข้อดี     รูปแบบสวย

ข้อปรับปรุง  บางเฟรมมองไม่ค่อยชัด

เกณฑ์การประเมินผู้นำเสนองาน

ลำดับที่

รายการ

ระดับคะแนน

น้อย ( 1 )

ปานกลาง ( 2 )

มาก ( 3 )

1

ขนาดตัวอักษร

 

 /

      

2

สีตัวอักษร

 

      

3

การออกแบบพื้นหลัง

 

 

      /

4

ภาพประกอบรวมทั้งภาพเคลื่อนไหวเหมาะสมหรือไม่

 

 

       /

5

เสียงประกอบเหมาะสมหรือไม่

 

/

 

6

เทคนิคการเคลื่อนไหวระหว่างประโยค  ระหว่างหน้า  เหมาะสมหรือไม่

 

 

      /

7

วิธีการนำเสนอของผู้นำเสนอการ  การพูด  การออกเสียง  เหมาะสมหรือไม่ 

 

 

       /

8

 เทคนิคพิเศษอื่นๆถ้ามี

 

/

 

 

 สรุปผลการประเมิน

 

8

      12

รวม

 

 

      20



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

ชูชีพ เหลือผล
เขียนเมื่อ

ผู้นำเสนอ  นางวราภรณ์ วุฒิสาร

ชื่อเรื่อง 

ข้อดี     ดูง่าย เข้าใจง่าย สบายตา

ข้อปรับปรุง  ขนาดตัวอักษรค่อนข้างเล็ก

เกณฑ์การประเมินผู้นำเสนองาน

ลำดับที่

รายการ

ระดับคะแนน

น้อย ( 1 )

ปานกลาง ( 2 )

มาก ( 3 )

1

ขนาดตัวอักษร

 

      

2

สีตัวอักษร

 

 

      /

3

การออกแบบพื้นหลัง

 

      

4

ภาพประกอบรวมทั้งภาพเคลื่อนไหวเหมาะสมหรือไม่

 

       

5

เสียงประกอบเหมาะสมหรือไม่

 

/

 

6

เทคนิคการเคลื่อนไหวระหว่างประโยค  ระหว่างหน้า  เหมาะสมหรือไม่

 

 

      /

7

วิธีการนำเสนอของผู้นำเสนอการ  การพูด  การออกเสียง  เหมาะสมหรือไม่ 

 

 

       /

8

 เทคนิคพิเศษอื่นๆถ้ามี

 

/

 

 

 สรุปผลการประเมิน

 

10

       9

รวม

 

 

      19



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

ชูชีพ เหลือผล
เขียนเมื่อ

นายชูชีพ เหลือผล สาขา การวิจัยและพัฒนาการศึกษารหัส 55421231102

จากวีดีทัศน์  เรื่องการทดสอบประสิทธิภาพสื่อและชุดการสอน ด้วย E1/E2 Model  บรรยายโดย  ศาสตราจารย์  ดร.ชัยยงค์  พรหมวงศ์  สรุปได้ดังนี้

1. ความหมายการทดสอบประสิทธิภาพ

     การทดสอบพัฒนาการตามลำดับขั้นเพื่อตรวจสอบคุณภาพของแต่ละองค์ประกอบของต้นแบบชิ้นงาน ให้ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อหาคุณภาพของสื่อตามขั้นตอนที่กำหนดใน 3 ประเด็น คือ การทำให้ผู้เรียนมีความรู้เพิ่มขึ้น การช่วยให้ผู้เรียนผ่านกระบวนการเรียนและทำแบบประเมินสุดท้ายได้ดี และการทำให้ผู้เรียนมีความพึงพอใจ นำผลที่ได้มาปรับปรุงแก้ไข ก่อนที่จะผลิตออกมาเผยแพร่เป็นจำนวนมาก ซึ่งมี 2 ขั้นตอนคือ

     – การทดลอบประสิทธิภาพเบื้องต้น (Try Out)

     – ทดลอบประสิทธิภาพจริง (Trial Run)

2. การกำหนดเกณฑ์ประสิทธิภาพ

     การกำหนดเกณฑ์ประสิทธิภาพ หมายถึง ระดับประสิทธิภาพของสื่อหรือชุดการสอนที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม เป็นระดับที่ผลิตสื่อหรือชุดการสอนจะพึงพอใจว่า หากสื่อหรือชุดการสอนมีประสิทธิภาพถึงระดับนั้นแล้ว สื่อหรือชุดการสอนนั้นก็มีคุณค่าที่จะนำไปสอนนักเรียน และคุ้มแก่การลงทุนผลิต ออกมาเป็นจำนวนมาก

      1. ประเมินพฤติกรรมต่อเนื่อง (Transitional Behavior) คือประเมินผลต่อเนื่อง ซึ่งประกอบด้วยพฤติกรรมย่อยของผู้เรียน เรียกว่า “กระบวนการ” (Process) ที่เกิดจากการประกอบกิจกรรมกลุ่ม ได้แก่ การทำโครงการ หรือทำรายงานเป็นกลุ่ม และรายงานบุคคล ได้แก่งานที่มอบหมาย และกิจกรรมอื่นใดที่ผู้สอนกำหนดไว้

      2. ประเมินพฤติกรรมสุดท้าย (Terminal Behavior) คือประเมินผลลัพธ์ (Product) ของผู้เรียน โดยพิจารณาจากการสอบหลังเรียนและการสอบไล่

 การคำนวณหาประสิทธิภาพของชุดการสอน อาจจะคำนวณได้ 2 วิธีด้วยกัน คือ

     ก. โดยวิธีการใช้สูตรในการคำนวณ

     ข. โดยการใช้วิธีการคำนวณธรรมดา

 3. วิธีการคำนวณค่าประสิทธิภาพ

     การคำนวณหาประสิทธิภาพของชุดการสอน อาจจะคำนวณได้ 2 วิธีด้วยกัน คือ

     ก. โดยวิธีการใช้สูตรในการคำนวณ

     ข. โดยการใช้วิธีการคำนวณธรรมดา

การคำนวณโดยการใช้สูตร กระทำได้โดยการใช้สูตรต่อไปนี้

อีกวิธีคือ การคำนวณธรรมดาโดยไม่ต้องใช้สูตร ดังนี้

     การคำนวณหาค่า E1 คิดจากการเอาคะแนนงานหรือแบบฝึกหัดของนักเรียน แต่ละคนมารวมกันแล้วหาค่าเฉลี่ย ( x ) จากนั้นจึงเทียบส่วนร้อยเพื่อหาร้อยละการคำนวณหาค่า E2 หาได้จากการเอาคะแนนการสอบหลังเรียนของนักเรียนทั้งหมดรวมกันแล้วหาค่าเฉลี่ยแล้วจึงเทียบส่วนร้อยละต่อไป

     นอกจากนี้ การหาประสิทธิภาพของชุดการสอน สามารถดูได้จากการหาค่าดัชนีประสิทธิภาพ ซึ่งหมายถึง ค่าเฉลี่ยของคะแนนความก้าวหน้า ในการเรียนรู้จากชุดการสอนนั้นซึ่งคำนวณได้จากสูตรของ Goodman. Fletcher and Schneider ( 1980 ) ดังนี้

4. ขั้นตอนการทดสอบประสิทธิภาพ

     เมื่อผลิตชุดการสอนต้นแบบเสร็จเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนต่อไปก็คือการนำชุดการสอนที่ได้ไปทดลองหาประสิทธิภาพ โดยในการหาประสิทธิภาพชุดการสอน มีขั้นตอนดังต่อไปนี้คือ

     4.1 ขั้น 1 :1 ( แบบเดียว ) คือ ทดลองกับผู้เรียนที่ละคน โดยทดลองกับผู้เรียนก่อนนำผลที่ได้มาปรับปรุง นำชุดการสอนที่ปรับปรุงไปทดลองกับผู้เรียนปานกลาง นำผลที่ได้มาปรับปรุง แล้วจึงนำไปทดลองกับผู้เรียนที่เก่ง การพิจารณาปรับปรุงทำได้โดยการพิจารณาจากการสังเกตพฤติกรรมขณะเรียนของผู้เรียน แบบฝึกหัด ผลการสอบและการสัมภาษณ์นักเรียนถึงปัญหาที่เกิดขึ้นในการเรียน ในการเลือกผู้เรียนมาทดลองหากสภาพการณ์ไม่เหมาะสมก็ให้เลือดผู้เรียนอ่อนหรือปานกลางมาทดลอง ค่า E1/E2 ในขั้นนี้โดยปกติแล้วจะต่ำกว่าเกณฑ์

     4.2 ขั้น 1: 10 ( แบบกลุ่ม ) คือการทดลองกับผู้เรียน 6-12 คน โดยเลือกผู้ที่เรียนอ่อน ปานกลาง และเก่ง คละกันนำผลที่ได้มาปรับปรุง โดยใช้การพิจารณาส่วนของชุดการสอนที่จะต้องปรับปรุงแบบเดียวกันในขั้น 1 : 1 ในขั้นนี้ค่า E1/E2 จะสูงขึ้นกว่าในขั้นแบบเดี่ยว

     4.3 ขั้น 1 : 100 ( ภาคสนาม ) คือ ในขั้นนี้จะทำการทดลองกับผู้เรียนทั้งชั้น 30-40 คน ชั้นเรียนที่เลือกมาทดลองจะต้องเป็นชั้นเรียนที่มีผู้เรียนที่มีความสามารถคละกันไปทั้งเด็กอ่อน ปานกลาง และเก่ง ไม่ควรเลือกห้องเรียนที่มีผู้เรียนเก่งล้วนหรือผู้เรียนที่อ่อนล้วนนำผลที่ได้มาพิจารณาปรับปรุง เพื่อนำมาใช้จริงในสภาพขั้นเรียนทั่วไป ในชั้นนี้ค่า E 1/E2 จะใกล้เคียงหรือเท่ากับเกณฑ์

5.ข้อควรคำนึง

     ในการทดลองหาประสิทธิภาพชุดการสอน เพื่อให้การทดลองได้ผล ชุดการสอนสามารถนำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ควรจะต้องคำนึงถึงสิ่งต่อไปนี้

     5.1 การเลือกผู้เรียนมาทดลอง การเลือกผู้เรียนมาทดลอง จำเป็นต้องเลือกผู้เรียนตามข้อกำหนดในแต่ละขั้น เพื่อที่ผู้เรียนที่ทำการทดลองมีสภาพเป็นตัวแทนของผู้เรียนที่ชุดการสอนจะนำไปใช้จริง

     5.2 การชี้แจงวิธีการเรียนและจุดประสงค์ของการทดลอง วิธีเรียนและวัตถุประสงค์ของชุดการสอนโดยทั่วไปนั้น ผู้เรียนมักจะไม่เข้าใจกระบวนการเรียนโดยใช้ชุดการสอน เนื่องจากส่วนมากจะคุ้นเคยกับวิธีการสอนแบบบรรยายที่ผู้สอนโดยทั่วไปจะใช้กัน การทดลองจึงจะต้องอธิบายขั้นตอนของกระบวนการเรียนให้ชัดเจน

     5.3 บทบาทของผู้ทำการทดลอง ขณะทำการทดลองผู้ทดลองจะต้องคอยสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนว่า เนื้อหาหรือกิจกรรมที่จัดให้ ทำให้ผู้เรียนมีความพอใจ กระตือรือร้นหรือมีความสับสนในกระบวนการหรือไม่ หากผู้ทดลองให้ครูผู้สอนเป็นผู้ทดลองใช้ชุดการสอนผู้ทดลองจะต้องสังเกตการณ์ต่าง ๆ โดยสังเกตทั้งพฤติกรรมของผู้เรียนและผู้สอน เพื่อที่จะได้นำข้อบกพร่องของชุดการสอนมาปรับปรุงแก้ไข

     5.4 ขั้นตอนการทดลอง ในการทดลองชุดการสอนจะประกอบด้วยขั้นตอนต่าง ๆ 5 ขั้น ผู้ทดลองจะต้องเข้าใจขั้นตอนต่าง ๆ ดังกล่าว ซึ่งประกอบไปด้วย

        ขั้นสอบก่อนเรียน

        ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน

        ขั้นประกอบกิจกรรมกลุ่ม

        ขั้นสรุปบทเรียน

        ขั้นสอบหลังเรียน

6. ปัญหาที่พบ

     6.1 นักวิชาการรุ่นหลังนำแนวคิดทดสอบประสิทธิภาพที่พัฒนาโดยศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์

มาเป็นของตนเอง โดยเขียนเป็นบทความหรือตำราแล้วไม่มีการ

     6.2 นักวิชาการนำ E1/E2  ไปเป็นของฝรั่ง เช่น ระบุว่า การหาประสิทธิภาพ E1/E2  เกิดจากแนวคิด Mastery Learning ของ Bloom

     6.3 นักวิชาการไม่เข้าใจหลักการของการตั้งเกณฑ์ประสิทธิภาพ เช่น เสนอแนะให้ตั้งเกณฑ์ไว้ต่ำ (เช่น E1/E2 =70/70) หลังจากตั้งเกณฑ์ไว้ต่ำแล้ว เมื่อหาค่า E1/E2 ได้ สูงกว่า ก็ประกาศด้วยความภาคภูมิใจว่า สื่อหรือชุดการสอนของตนมีประสิทธิภาพมากกว่าเกณฑ์ ซึ่งที่จริงเป็นเพราะตนเองตั้งเกณฑ์ไว้ต่ำไปแทนที่จะ ปรับเกณฑ์ให้สูงขึ้นอันเป็นผลจากคุณภาพของสื่อหรือชุดการสอน

     6.4 ไม่เข้าใจความสัมพันธ์ของ E1 และ E2 ทั้งสองค่าควรได้ใกล้เคียงกัน

     6.5 นักวิชาการบางคนเขียนเผยแพร่ในเว้ปว่า ค่า E1 ควรมากกว่า E2 เพราะการทำแบบฝึกหัดหรือกิจกรรมปรกติจะง่ายกว่าการสอบ ถือเป็นความเข้าใจที่ไม่ถูกต้อง

     6.6 นักวิชาการบางคนบางคนเปลี่ยน E1/E2 เป็น P1/P2 หรืออักษรอื่น



ความเห็น (1)

ขอบคุณที่เขียนรวบรวมความรู้ มาแบ่งปันค่ะ ขออนุญาตเสนอความเห็นให้พิจารณา หากจำเป็นที่การบ้านตรวจผ่านอนุทิน การเขียนข้อความยาวๆ ในอนุทิน อาจใช้วิธี ขึ้นย่อหน้าไว้สัก 5-6 บรรทัด แล้วลิงค์มาต่อ ส่วนเต็มในบันทึก ข้อดีของการเขียนส่วนเต็มในบันทึกคือ สามารถนำ ID บทความคุณครู ไปอ้างอิง "เรื่องที่เกี่ยวข้อง" ได้ค่ะ และยังทำให้ เนื้อที่แต่ละหน้า แสดงอนุทินแต่ละท่านอย่างเหมาะสมด้วย

ขอฝากไว้ด้วยความเคารพค่ะ

ชูชีพ เหลือผล
เขียนเมื่อ

นายชูชีพ เหลือผล สาขา การวิจัยและพัฒนาการศึกษารหัส 55421231102

 

จากวีดีโอเรื่องการเรียนรู้แบบผสมผสาน (Blended Learning) สรุปได้ดังนี้

 ตอนที่ 1 นิยาม Blended Learning

     Blended Learning หมายถึง กระบวนการเรียนรู้ ที่ผสมผสานรูปแบบการเรียนรู้ที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นในห้องเรียน ผสมผสานกับการเรียนรู้นอกห้องเรียนที่ผู้เรียนผู้สอนไม่เผชิญหน้ากัน หรือการใช้แหล่งเรียนรู้ที่มีอยู่หลากหลาย กระบวนการเรียนรู้และกิจกรรมเกิดขึ้นจากยุทธวิธี การเรียนการสอนที่หลากรูปแบบ เป้าหมายอยู่ที่การให้ผู้เรียนบรรลุเป้าหมายการเรียนรู้เป็นสำคัญ
            การสอนด้วยวิธีการเรียนรู้แบบผสมผสานนั้น ผู้สอน สามารถใช้วิธีการสอน สองวิธีหรือมากกว่า ในการเรียนการสอน เช่น ผู้สอนนำเสนอเนื้อหาบทเรียนผ่านเทคโนโลยีผนวกกับการสอนแบบเผชิญหน้า แต่หลังจากนั้นผู้สอนนำเนื้อหาบทความแขวนไว้บนเว็บ จากนั้นติดตามการดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอน ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ หลังจากนั้นสรุปบทเรียน ด้วยการอภิปรายร่วมกับอาจารย์ผู้สอนในห้องเรียน

 

ตอนที่ 2 วิธีการนำไปใช้

ในการนำ Blended Learning ไปใช้ในการเรียนการสอนต้องออกแบบการเรียนรู้แบบผสมผสาน ประกอบด้วย 3 ขั้นตอนหลัก ดังนี้
    1. ขั้นก่อนการวิเคราะห์ (Pre-Analysis) เป็นขั้นตอนแรกของการออกแบบการเรียนรู้แบบผสมผสาน ประกอบการพิจารณาข้อมูลทั่ว ๆ ไป ได้แก่
       1.1 การวิเคราะห์คุณสมบัติของผู้เรียน
       1.2 การวิเคราะห์วัตถุประสงค์ในการเรียนรู้
       1.3 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของการเรียนรู้แบบผสมผสานผลลัพธ์ที่ได้จากขั้นตอนแรก จะเป็นรายงานผลที่จะนำไปใช้ในขั้นต่อไป
    2. ขั้นการออกแบบกิจกรรมและการออกแบบวัสดุการเรียนรู้ เป็นขั้นตอนที่สองที่นำผลลัพธ์ที่ได้จากขั้นตอนแรกมาออกแบบกิจกรรมและวัสดุการเรียนรู้ ซึ่งจำแนกออกเป็น 3 ส่วนย่อย ๆ ได้แก่
       2.1 การออกแบบภาพรวมของการเรียนรู้แบบผสมผสาน ประกอบด้วย
         - กิจกรรมการเรียนรู้แต่ละหน่วยเรียน
         - กลยุทธ์การนำส่งบทเรียนในการเรียนรู้แบบผสมผสาน
         - ส่วนสนับสนุนการเรียนรู้แบบผสมผสาน
       2.2 การออกแบบกิจกรรมแต่ละหน่วยเรียนประกอบด้วย
         - นิยามผลการกระทำของผู้เรียน
         - กิจกรรมในแต่ละวัตถุประสงค์
         - การจัดกลุ่มของกิจกรรมทั้งหมด
         - การประเมินผลในแต่ละหน่วยเรียน
       2.3 การออกแบบและพัฒนาวัสดุการเรียนรู้ประกอบด้วย
         - การเลือกสรรเนื้อหาสาระ
         - การพัฒนากรณีต่าง ๆ
         - การนำเสนอผลการออกแบบและการพัฒนาผลที่ได้จากขั้นตอนที่สอง จะเป็นรายละเอียดของการออกแบบบทเรียนในแต่ละส่วน
    3. ขั้นการประเมินผลการเรียนการสอน ประกอบด้วย
       3.1 การประเมินผลขั้นตอนการเรียนรู้
       3.2 การจัดการสอบตามหลักสูตร
       3.3 การประเมินผลกิจกรรมทั้งหมดผลที่ได้จากขั้นตอนสุดท้าย จะนำไปพิจารณาตรวจปรับกระบวนการออกแบบในแต่ละขั้นที่ผ่านมาทั้งหมด เพื่อให้การเรียนรู้แบบผสมผสานมีประสิทธิภาพและเกดประสิทธิผลกับผู้เรียนอย่างแท้จริง

 

ตอนที่ 3 ข้อจำกัดของ Blended Learning

    1. ไม่สามารถแสดงความคิดเห็น หรือถ่ายทอดความคิดเห็นอย่างรวดเร็ว
    2. มีความล่าช้าในการปฏิสัมพันธ์
    3. การมีส่วนร่วมน้อย โดยผู้เรียนไม่สามารถมีส่วนร่วมทุกคน
    4. ความไม่พร้อมด้านซอฟแวร์บางอย่างมีราคาแพง
    5. ใช้งานค่อนข้างยาก สำหรับผู้ไม่มีความรู้ด้านซอฟแวร์
    6. ผู้เรียนบางคนคิดว่าไม่คุ้มค่าต่อการลงทุน เพราะราคาอุปกรณ์ค่อนข้างสูง
    7. ผู้เรียนต้องมีความรู้ ความเข้าใจด้านการใช้งานคอมพิวเตอร์ เพื่อเข้าถึงข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
    8. ผู้เรียนต้องมีความรับผิดชอบต่อตนเองอย่างสูง ในการเรียนการสอนแบบนี้
    9. ความแตกต่างของผู้เรียนแต่ละคนเป็นอุปสรรคในการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
    10. สภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมในการใช้เครือข่าย หรือระบบอินเทอร์เน็ต เกิดปัญหาด้านสัญญาณ
    11. ขาดการปฏิสัมพันธ์แบบเรียลไทม์

 

ตอนที่ 4 แนวโน้มของ Blended Learning

     Blended learning เป็นสิ่งสำคัญของการศึกษาและเทคโนโลยี ,blended learning มีการใช้งานที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เป็นการบูรณาการระหว่างการเรียนในชั้นเรียนและการเรียนแบบออนไลน์ สามารถช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนและการใช้เวลาในชั้นเรียนได้เหมาะสม

     การเรียนแบบผสมผสาน เป็นการรวมกันหรือนำสิ่งต่างๆมาผสม โดยที่สิ่งที่ถูกผสมนั้น คือ รวม รูปแบบการเรียนการสอน รวม วิธีการเรียนการสอน รวม การเรียนแบบออนไลน์ และรูปแบบการเรียนการสอนในชั้นเรียนการเติบโตของการเรียนแบบผสมผสานตั้งแต่อดีต ปัจจุบันและอนาคตการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยในอดีตนั้น การเรียนแบบผสมผสานคือส่วนที่ได้มีการรวมเข้าหากันจาก 2 รูปแบบสภาพแวดล้อมของการเรียนแบบเดิม นั้นก็คือ การเรียนแบบเผชิญหน้าในชั้นเรียนกับ การเรียนแบบออนไลน์ ซึ่งในอดีตนั้นการเรียนทั้ง 2 รูปแบบจะมีช่องว่างหรือระยะห่างระหว่างกันค่อยข้างมาก คือจะมีการจัดการเรียนการสอนเฉพาะของตัวเองมีรูปแบบ และการดำเนินการในรูปแบบที่ต่างกันเพราะว่าต่างก็ใช้สื่อและเครื่องมือที่แตกต่างกัน และมีสถานที่ในการเรียนที่แตกต่างกันเพราะมีกลุ่มผู้เรียนที่ต่างกันด้วย แต่ในขณะเดียวกันนั้นการเรียนแบบทางไกลก็กำลังมีการเติบโตและแผ่ขยายอย่างรวดเร็วซึ่งได้เข้ามาในรูปของเทคโนโลยีใหม่ ที่มีความเป็นไปได้อย่างสูงที่การเรียนแบบออนไลน์นั้นจะมีการแผ่ขยายเข้ามาสู่การเรียนในชั้นเรียนอย่างรวดเร็วในปัจจุบันการเรียนแบบออนไลน์นั้นได้เข้ามามีส่วนร่วมในการติดต่อสื่อสารและมีปฏิสัมพันธ์ร่วมในการเรียนการสอนในชั้นเรียนเกิดเป็นการเรียนแบบผสมผสานขึ้นมาซึ่งคาดว่าในอนาคตนั้นการเรียนแบบผสมผสานจะมีการขยายตัวที่มากขึ้นตามรูปแบบการเรียนแบบออนไลน์ที่จะมีการเติบโตขึ้นมากกว่าปัจจุบัน จึงส่งผลให้การเรียนแบบผสมผสานนั้นมีการขยายวงกว้างออกไปจากเดิมยิ่งขึ้นอีกด้วย



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

ชูชีพ เหลือผล
เขียนเมื่อ

ผู้นำเสนอ  นางสาวพรพรรณ ศรีประสงค์

ชื่อเรื่อง  การพัฒนาผลการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง ตรรกศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค TAI

ข้อดี     ดูง่าย เข้าใจง่าย

ข้อปรับปรุง  เนื้อหาค่อนข้างเยอะ

เกณฑ์การประเมินผู้นำเสนองาน

ลำดับที่

รายการ

ระดับคะแนน

น้อย ( 1 )

ปานกลาง ( 2 )

มาก ( 3 )

1

ขนาดตัวอักษร

 

      

2

สีตัวอักษร

 

      

3

การออกแบบพื้นหลัง

 

      

4

ภาพประกอบรวมทั้งภาพเคลื่อนไหวเหมาะสมหรือไม่

 

 

       /

5

เสียงประกอบเหมาะสมหรือไม่

 

/

 

6

เทคนิคการเคลื่อนไหวระหว่างประโยค  ระหว่างหน้า  เหมาะสมหรือไม่

 

 

      /

7

วิธีการนำเสนอของผู้นำเสนอการ  การพูด  การออกเสียง  เหมาะสมหรือไม่ 

 

 

       /

8

 เทคนิคพิเศษอื่นๆถ้ามี

 

/

 

 

 สรุปผลการประเมิน

 

10

       9

รวม

 

 

      19



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

ชูชีพ เหลือผล
เขียนเมื่อ

ผู้นำเสนอ  นางวิลัยพร วรรณวิจิตร

ชื่อเรื่อง  การฝึกบริหารจิตตามวิธีของโยคะที่มีผลต่อการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ในการวาดรูประบายสี ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

ข้อดี     สบายตา ดูง่าย

ข้อปรับปรุง   เนื้อหาในสื่อค่อนข้างเยอะ

เกณฑ์การประเมินผู้นำเสนองาน

ลำดับที่

รายการ

ระดับคะแนน

น้อย ( 1 )

ปานกลาง ( 2 )

มาก ( 3 )

1

ขนาดตัวอักษร

 

 

       /

2

สีตัวอักษร

 

 /

      

3

การออกแบบพื้นหลัง

 

 /

      

4

ภาพประกอบรวมทั้งภาพเคลื่อนไหวเหมาะสมหรือไม่

 

 /

       

5

เสียงประกอบเหมาะสมหรือไม่

 

/

 

6

เทคนิคการเคลื่อนไหวระหว่างประโยค  ระหว่างหน้า  เหมาะสมหรือไม่

 

 

      /

7

วิธีการนำเสนอของผู้นำเสนอการ  การพูด  การออกเสียง  เหมาะสมหรือไม่ 

 

 

      / 

8

 เทคนิคพิเศษอื่นๆถ้ามี

 

/

 

 

 สรุปผลการประเมิน

 

10

       9

รวม

 

 

      19



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

ชูชีพ เหลือผล
เขียนเมื่อ

ผู้นำเสนอ  นางสาวศิราณี กลางประพันธ์

ชื่อเรื่อง  การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การฝึกปฏิบัติชุดจัดการเรียนรู้ เพื่อฝึกปฏิบัติการเเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์โดยใช้อัลกอริทึม สำหรับนักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์อุตสาหกรรม ชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์

ข้อดี     ดูเข้าใจง่าย การนำเสนอชัดเจน

ข้อเสนอแนะ  เพิ่ม link เพื่อให้สะดวกในการใช้งาน

เกณฑ์การประเมินผู้นำเสนองาน

ลำดับที่

รายการ

ระดับคะแนน

น้อย ( 1 )

ปานกลาง ( 2 )

มาก ( 3 )

1

ขนาดตัวอักษร

 

 

       /

2

สีตัวอักษร

 

 

       /

3

การออกแบบพื้นหลัง

 

 

       /

4

ภาพประกอบรวมทั้งภาพเคลื่อนไหวเหมาะสมหรือไม่

 

 

       /

5

เสียงประกอบเหมาะสมหรือไม่

 

/

 

6

เทคนิคการเคลื่อนไหวระหว่างประโยค  ระหว่างหน้า  เหมาะสมหรือไม่

 

 

      /

7

วิธีการนำเสนอของผู้นำเสนอการ  การพูด  การออกเสียง  เหมาะสมหรือไม่ 

 

 

       /

8

 เทคนิคพิเศษอื่นๆถ้ามี

 

/

 

 

 สรุปผลการประเมิน

 

4

       18

รวม

 

 

       22



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

ชูชีพ เหลือผล
เขียนเมื่อ

ผู้นำเสนอ  นางดุษฎี เหลาแหลม

ชื่อเรื่อง  การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ชีวิตและสิ่งแวดล้อม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่จัดการเรียนรู้แบบปกติและบรรยากาศทางการเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้

ข้อดี     ดูง่าย สบายตา ตัวอักษรชัดเจน นำเสียงการนำเสนอชัดเจน

ข้อปรับปรุง   เนื้อหาในสื่อค่อนข้างจะเยอะ

เกณฑ์การประเมินผู้นำเสนองาน

ลำดับที่

รายการ

ระดับคะแนน

น้อย ( 1 )

ปานกลาง ( 2 )

มาก ( 3 )

1

ขนาดตัวอักษร

 

 

       /

2

สีตัวอักษร

 

 

       /

3

การออกแบบพื้นหลัง

 

 

       /

4

ภาพประกอบรวมทั้งภาพเคลื่อนไหวเหมาะสมหรือไม่

 

 

       /

5

เสียงประกอบเหมาะสมหรือไม่

 

/

 

6

เทคนิคการเคลื่อนไหวระหว่างประโยค  ระหว่างหน้า  เหมาะสมหรือไม่

 

      

7

วิธีการนำเสนอของผู้นำเสนอการ  การพูด  การออกเสียง  เหมาะสมหรือไม่ 

 

 

       /

8

 เทคนิคพิเศษอื่นๆถ้ามี

 

/

 

 

 สรุปผลการประเมิน

 

6

       15

รวม

 

 

      21



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท