อนุทินล่าสุด


นาย ฉัตรชัย จันทร์พริ้ม
เขียนเมื่อ

การตัด/แปะ ทำให้เกิดปัญหา
การอ่านโค้ด ทำให้เกิดปัญญา
ชี้แนวทางในการแก้ปัญหา



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
นาย ฉัตรชัย จันทร์พริ้ม
เขียนเมื่อ

หนังสือฟรีของ PacktPub วันนี้คือ

Mastering Embedded Linux Programming

สามารถดาวน์โหลดได้ ที่นี่



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
นาย ฉัตรชัย จันทร์พริ้ม
เขียนเมื่อ

หนังสือฟรีของ PacktPub วันนี้คือ
Learning Object-Oriented Programming
สามารถ ดาวน์โหลดได้ ที่นี่


วิธีการเขียนโปรแกรมแบบ Object-Oriented จัดเป็นแนวความคิด ที่ใหม่มาก เมื่อหลายสิบปีที่แล้ว (เมื่อสมัยผมเริ่มเรียนการเขียนโปรแกรมใหม่ๆ ยุคสมัยที่ภาษาปาสคาล ยังใช้เป็นภาษาสำหรับการสอน นศ. ในชั้นเรียนมหาวิทยาลัย) แต่เช่นเดียวกับ เครื่องมือและแนวความคิดอื่นๆ ในเรื่องของการเขียนโปรแกรม การที่มันเกิดมาเมื่หลายสิบปีที่แล้ว ไม่ได้ทำให้มันเป็นสิ่งที่ล้าสมัยไปแม้แต่อย่างใด ถึงแม้ว่าจะยอมรับกันตามตรงว่า ผมเองไม่ค่อย ถนัด ในการดึงแนวความคิดแบบนี้ มาใช้ในโปรแกรมที่ตัวเองเขียนสักเท่าไหร่ -_-"



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
นาย ฉัตรชัย จันทร์พริ้ม
เขียนเมื่อ

หนังสือฟรีของ PacktPub วันนี้คือ
Practical Data Science Cookbook
สามารถ ดาวน์โหลดได้ ที่นี่





ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
นาย ฉัตรชัย จันทร์พริ้ม
เขียนเมื่อ

หนังสือฟรีของ PacktPub วันนี้ คือ

Practical Digital Forensics

เป็นหนังสือเกี่ยวกับ กระบวนการ, เทคนิค, เครื่องมือของ นิติวิทยาศาสตร์ดิจิตอล ซึ่งในทางปฏิบัติสำหรับตอนนี้แล้ว น่าจะจำกัดอยู่ที่ ข้อมูลบนระบบคอมพิวเตอร์ มากกว่า (เพราะ ดิจิตอล อาจจะรวมไปถึงระบบดิจิตอลอิเลคทรอนิคส์และฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์) นิติวิทยาศาสตร์ดิจิตอลคืออะไร ขอใช้ link ของ ThaiCert [1] สำหรับการอธิบาย ส่วน “หนังสือฟรีของ PacktPub วันนี้” คืออะไร ขอใช้บันทึกนี้ [2] สำหรับอธิบาย ก็แล้วกันครับ เพื่อไม่ให้อนุทินยาวเกิน จนต้องย้ายไปเป็นบันทึกอีก -_-“

[1] https://www.thaicert.or.th/papers/general/2013/pa2013ge012.html [2] https://www.gotoknow.org/posts/628023



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
นาย ฉัตรชัย จันทร์พริ้ม
เขียนเมื่อ

เขียนอนุทินอยู่ ใกล้ๆจะเสร็จ … แล้วไฟดับ! คอมพิวเตอร์ที่ใช้อยู่เป็นเดสทอป ไม่ใช่ โน้ตบุ๊ก ไม่มีแบตเตอรี่ และ ไม่มีเครื่องสำรองไฟ -_-“

ก็เขียนใหม่อีกรอบสิครับ (รอบที่สามล่ะ – รอบแรกเผลอไปกด back แล้วที่เขียนไว้หายหมด)



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
นาย ฉัตรชัย จันทร์พริ้ม
เขียนเมื่อ

อนุทินหรือบันทึกที่เขียนใหม่ในช่วงนี้ เมื่อกดปุ่ม จัดเก็บข้อมูล แล้ว ผลที่แสดงออกมาจะมี HTML Tag <p> </p> คร่อมข้อข้อความที่เราเขียนเพิ่มเข้าไปในครั้งนั้นๆครับ



ความเห็น (1)
อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
นาย ฉัตรชัย จันทร์พริ้ม
เขียนเมื่อ

<p “=”“>วันนี้เริ่มเขียนบันทึกใหม่ อันที่จริงว่าจะเขียนเป็นแค่อนุทิน แต่มันยาวเกิน -_-“
ยังจะต้องเรียนรู้วิธีการเขียนให้สั้นแต่ได้ใจความครบ อีกพอสมควร
</p>



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
นาย ฉัตรชัย จันทร์พริ้ม
เขียนเมื่อ

151515?
… is just a number!



ความเห็น (1)
อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
นาย ฉัตรชัย จันทร์พริ้ม
เขียนเมื่อ

NetBSD on Raspberry Pi

บอร์ด Raspberry Pi พัฒนาในยุคแรกๆจะใช้ OS เป็น Raspbian [1] ซึ่งเป็นอีกเวอร์ชั่นหนึ่งของ Debian [2] ที่ใช้งานกันทั่วไปบน PC แต่หลังจากนั้น ก็มีผู้พัฒนาพอร์ตเอา OS ตัวอื่นๆเพื่อให้มาใช้งานบน Raspberry Pi ซึ่งรวมไปถึง Unix OS ในตระกูลของ BSD ที่ตอนนี้ มีทั้ง FreeBSD [3] และ NetBSD

สำหรับ NetBSD คำแนะนำสำหรับการติดตั้ง สามารถดูได้จาก URL ต่อไปนี้
https://www.cambus.net/netbsd-on-the-raspberry-pi/
และ kernel image ล่าสุด สามารถ download ได้จาก
ftp://ftp.netbsd.org/pub/NetBSD/misc/jun/raspberry-pi/

[1] https://www.raspbian.org
[2] https://www.debian.org/
[3] http://www.raspbsd.org/



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
นาย ฉัตรชัย จันทร์พริ้ม
เขียนเมื่อ

ถึงแม้ openssh จะยังรองรับการใช้งาน อัลกอริทึมสำหรับการสร้าง key แบบเก่าอยู่ ทั้งแบบ DSA, RSA แต่ก็มีคำแนะนำ [1] ให้เปลี่ยนไปใช้ อัลกอริทึม ED25519 สำหรับการเข้ารหัสแทน

ซึ่งดูดี และ น่าจะไม่มีปัญหา ถ้าหากว่าไม่ได้ใช้งานบน เดสทอปและ ตัวเดสทอปนั้น ไม่ได้ใช้ gnome-keyring [3] เพราะ gnome-keyring bug ตัวนี้ [4] ที่มีปัญหามาหลายปี และ น่าจะยังไม่มีการแก้ไขในช่วงเวลาอันใกล้นี้

แต่วิธีการแก้ปัญหาไม่ได้ยากเกินไป ก็คือ กำหนดให้ตัว gnome-keyring ไม่รวมเอา ssh เข้ามาจัดการโดยตัวมันเอง ผลก็คือ ตัว ssh-agent ซึ่งรองรับ ED25519 โดยตัวมันเองอยู่แล้ว ก็รับหน้าที่ในการจัดการต่อไปได้โดยไม่มีปัญหา (ในกรณีที่เราไม่ได้ใช้ ssh key นี้ไปใช้งานอย่างอื่นด้วย)

วิธีการกำหนดให้ gnome-keyring-daemon ไม่รวมเอา ssh มาจัดการด้วย ก็สามารถกำหนดไว้ในไฟล์ gnome-keyring-ssh.desktop ได้ โดยทำตามนี้ (เป็นคำสั่งบน command line)

$ cp /etc/xdg/autostart/gnome-keyring-ssh.desktop ~/.config/autostart/
$ echo "X-GNOME-Autostart-enabled=false" >> .config/autostart/gnome-keyring-ssh.desktop

หลังจากนั้นก็ logout และ login กลับเข้ามาในตัว desktop ใหม่ โปรแกรมที่ใช้ในการจัดการ keyring สำหรับ ssh อย่างเช่น keychain [5]
ก็ควรที่จะกลับมาจัดการ key ที่ใช้อัลกอริทึม ED25519 ได้อย่างถูกต้อง

[1] http://blog.siphos.be/2015/08/switching-openssh-to...
[2] http://ed25519.cr.yp.to/
[3] https://wiki.gnome.org/Projects/GnomeKeyring
[4] https://bugzilla.gnome.org/show_bug.cgi?id=723274
[5] http://www.funtoo.org/Keychain



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
นาย ฉัตรชัย จันทร์พริ้ม
เขียนเมื่อ

ตอนที่เลือกซื้อ ตัวเลือกแรกที่ใช้ในการประเมินก็คือ มันจะต้องมีประสิทธิภาพ และความเร็วของการประมวลผลอยู่พอสมควร เพราะคอมพิวเตอร์แบบโน้ตบุ๊กตัวที่ใช้อยู่ตอนนี อายุ 5 ปีครึ่ง รับภาระงานที่ต้องทำไม่ไหว ฟังก์หลักที่ต้องการ 2 ลำดับแรกของตัวเลือกเรื่องประสิทธิภาพก็คือ จะต้องมี hardware virtualization และจะต้องจำลองการทำงานของอุปกรณ์แอนดรอยด์ แบบที่สามารถใช้งานได้จริง

ตัวเลือกหลังจากนั้น ก็จะเป็นเรื่องของการประหยัดพื้นที่ในการใช้งาน และ ประหยัดการใช้พลังงาน

ซึ่งตัวเลือกแรก กับตัวเลือกหลังนี่ ส่วนใหญมันก็จะขัดแย้งกันเอง เป็นลักษณะของคอมพิวเตอร์โดยทั่วไปอยู่แล้ว และ ถ้าเน้นตัวเลือกหลังมากกว่า ก็มักจได้เป็นโน้ตบุ๊กมากกว่าเดสทอป นั่นเป็นสาเหตุหลัก ที่ได้ข้อสรุปสำหรับตัวเองเมื่อหลายปีก่อนว่า ถ้าจะซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อใช้งานหลักเครื่องต่อไป ก็คงจะได้ โน้ตบุ๊กล่ะ ... แต่เอาเข้าจริง กลายเป็นเดสทอปอีกจนได้ -_-"

แต่ในแง่ของการประหยัดพลังงาน พบว่า เครื่องเดสทอปแบบ mini PC ตัวนี้ ใชัพลังงานเฉลี่ยอยู่ที่ 10-11 Watt ซึ่งน้อยกว่า โน้ตบุ๊กตัวเก่า ที่ถ้าเปิดใช้งานเต็มที่ (หมายถึงมี web browser เปิดอยู่หลายสิบแทป) ก็จะใช้พลังงานอยุ่ 20-30 Watt มากกว่าอยู่กว่า 2 เท่าตัว

ซึ่งเป็นเรื่องที่น่าพอใจมาก



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
นาย ฉัตรชัย จันทร์พริ้ม
เขียนเมื่อ

เปลี่ยนมาใช้คอมพิวเตอร์แบบเดสทอปเครื่องใหม่ หลังจากคิดว่า คงจะเลิกใช้เดสทอปล่ะ ใช้แบบโน้ตบุ๊กก็น่าจะพอ แต่พอผ่านไปเกือบ 1 ท้ายที่สุด ก็ต้องกลับมาใช้เดสทอปอีก

สาเหตุหลักก็เพราะว่าในจำนวนเงินที่เท่ากัน ถ้าต้องการความสามารถในการประมวลผลสูงสุด ก็ต้องเป็นเดสทอป เพราะไม่ต้องมีค่าใช้จ่ายสำหรับจอภาพและแบตเตอรี่ ส่วนอุปกรณ์อื่นๆของคอมพิวเตอร์นั่น ราคาจะอยู่ในระดับเดียวกันอยู่แล้ว



ความเห็น (1)

ผมซื้อ Lenovo IdeaCentre C200 ไปในเวลาไล่เลี่ยกัน ผมพึ่งรู้จักรุ่นนี้จากอาจารย์นี่ละครับ ดูเหมือน M700 จะแข่งในตลาดเดียวกับ Mac Mini ได้เลยครับ ถ้าไม่ได้ติดกับ macOS นี่รุ่นนี้น่าสนใจมากครับ

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
นาย ฉัตรชัย จันทร์พริ้ม
เขียนเมื่อ

อ่านอนุทินที่ตัวเองเขียนเอาไว้เมื่อ 9 ปีที่แล้ว พบว่า ตอนนั้นเคยหัดเขียน C# ด้วย น่าจะพัฒนาบน mac mini, แต่ตอนนี้จำอะไรเกี่ยวกับ C# ไม่ได้เลย -_-“



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
นาย ฉัตรชัย จันทร์พริ้ม
เขียนเมื่อ

เป็นบทความที่น่าอ่านมาก

http://www.kalzumeus.com/2009/03/07/how-to-successfully-compete-with-open-source-software/

โดยเฉพาะประเด็นเกี่ยวกับ HCI



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

นาย ฉัตรชัย จันทร์พริ้ม
เขียนเมื่อ

Demo ของ Citrix เรื่องเกี่ยวกับ Two Factor Authentication ถึงแม้จะเป็นส่วนหนึ่งของการโฆษณา product ของ บ. Citrix เอง แต่ก็อธิบายได้เข้าใจง่ายดี โดยอาศัยภาพเคลื่อนไหวประกอบ

http://www.citrix.com/site/resources/dynamic/additional/autodemo_cps/TWOFACTOR.html

ส่วนรายละเอียดอื่นๆนอกเหนือไปจากนั้น เช่นเคย หลังจาก search หาจาก google ก็ชี้ไปยัง wikipedia อีกเหมือนเดิม

http://en.wikipedia.org/wiki/Two-factor_authentication



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

นาย ฉัตรชัย จันทร์พริ้ม
เขียนเมื่อ

วันพุธ ตอนเย็น ที่ตลาดเกษตร มอ. หาดใหญ่

 



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

นาย ฉัตรชัย จันทร์พริ้ม
เขียนเมื่อ

Hugin Panorama Photo Sticher

http://hugin.sf.net

มี package บน debian ลองแล้วใช้งานได้ เวอร์ชันที่ใช้งานบน lenny ดูเหมือนว่าจะมีบักอยู่ พอจะ save ภาพที่เอามาต่อกันแล้วมันก็ terminate ไปเลย



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

นาย ฉัตรชัย จันทร์พริ้ม
เขียนเมื่อ

Search google โดยใช้ ipv6 protocol ใช้ http://ipv6.google.com เอ่อ search ได้ครับท่าน แต่ click link แล้วเงียบ ติดต่อไม่ได้ ลืมไป ถ้า link ที่ไป site นั้นๆไม่มี ipv6 มันก็ต้องกลับไปใช้ ipv4 ซึ่งต้องผ่าน proxy ถึงจะออกไปได้ เมื่อไม่ได้ set proxy ก็ติดต่อไม่ได้แค่นั้นเอง

เอาใหม่ set proxy โดยใช้ manual proxy configuration เป็น cache.psu.ac.th:8080 ตามปกติ แล้ว set no proxy สำหรับ ipv6.google.com แล้วลองใหม่

ใช้ได้ -- ไม่น่าแปลกใจ -- รึเปล่า
รู้สึกว่า response ตอน search โดยใช้ keyword เดียวกัน ใช้ ipv6.google.com จะเร็วกว่าใช้ www.google.com
รู้สึกไปเอง -- รึเปล่า?



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

นาย ฉัตรชัย จันทร์พริ้ม
เขียนเมื่อ

ต้องการใช้ package rsvg-sharp-2.0 แต่ไม่มี อาจจะเป็น package ย่อยใน gnome-sharp-2.0 ลองติดตั้งดูแล้ว เจอปัญหา ติดตั้งไม่ได้ ลองใช้คำสั่ง sudo port -v install แล้วก็ยังแปล error message ที่ออกมาไม่ได้ ใช้ debug ช่วยเป็น sudo port -d install ก็ไม่ได้ความเพ่ิมขึ้นสักเท่าไร กลับไปไล่ดู option ของคำสั่ง port อีกที เจอ -t คราวนี้ sudo port -d -t install ... ได้ผล เจอต้นตอของ ปัญหา ที่เหลือก็คือไล่แก้ไปเรื่อยๆ ... จบ

เสียเวลากับการ ติดตังมากเกินไป ยังไม่ได้เริ่มเขียน C# ต่อ



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

นาย ฉัตรชัย จันทร์พริ้ม
เขียนเมื่อ

Drawing Rounded Rects ใน Mono.Cairo_cookbook ซึ่งใช้ gtk, ต้องการ X display (Q. ไม่มี native gtk สำหรับ darwin?) ติดตั้ง X-darwin ไว้ก่อนแล้ว พร้อม xfce ยังไม่ได้อยู่ใน dock, จัดการ keep in dock

ทดลอง run, ออกมาดูสวยดี

แก้ไข run.sh ใช้ -pkg: แทนที่จะเป็น $(pkg-config ...)

#!/bin/sh

prog=test
src=${prog}.cs
bin=${prog}.exe
lib=libcairo.so.2
cairolib="/opt/local/lib/libcairo.2.17.5.dylib"

[ ! -f ${src} ] && echo "No source file ${src}" && exit
rm -f ${bin}
mcs ${src} -pkg:gtk-sharp-2.0 -pkg:mono-cairo
[ ! -f ${bin} ] && echo "Compile failed" && exit
[ ! -e ${lib} ] && ln -s ${cairolib} ${lib}
mono ${bin} # Run

ต่อไป กลับไปดู basic programming เริ่มจาก for loop ...

 



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

นาย ฉัตรชัย จันทร์พริ้ม
เขียนเมื่อ

Gdk.CairoHelper อยู่ใน gtk-sharp2 เพราะฉะนั้น gtk-sharp ใช้ไม่ได้ ต้องติดตั้งตัวใหม่ .. พรุ่งนี้



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

นาย ฉัตรชัย จันทร์พริ้ม
เขียนเมื่อ

มี glib 2.14.3 อยู่ก่อนแล้ว ไม่สามารถ deactivate ได้ uninstall ก็ไม่ได้ port แจ้งว่า registered install อยู่

อ่าน help เจอ option upgrade เลยลองใช้ดู ปรากฏว่าใช้งานได้

ง่วงนอน 



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

นาย ฉัตรชัย จันทร์พริ้ม
เขียนเมื่อ

ต้องการ glib 2.15.3?  ติดตั้ง 2.16.3

ค่อยมาดูผลต่อพรุ่งนี้



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

นาย ฉัตรชัย จันทร์พริ้ม
เขียนเมื่อ

ต้องติดตั้ง gtk-sharp เพิ่ม เพื่อลองตัวอย่างถัดไป มี gtk-sharp 2 ตัว ต้องใช้ตัวใหน?

m100:~/workplace/program/cs/test-cairo3 cj$ port info gtk-sharp

gtk-sharp 1.0.10, Revision 2, x11/gtk-sharp (Variants: universal, gnomedb)
http://gtk-sharp.sourceforge.net/

This is the Gtk# toolkit for Mono, an implementation of the .NET Development Framework.

Library Dependencies: mono, glib2, pango, gtk2, libxml2, libart_lgpl, libgnomecanvas, libgnomeui, libgda, librsvg, libgtkhtml3, vte
Platforms: darwin
Maintainers: [email protected] [email protected]
m100:~/workplace/program/cs/test-cairo3 cj$ port info gtk-sharp2
gtk-sharp2 2.10.3, x11/gtk-sharp2 (Variants: universal, debug)
http://gtk-sharp.sourceforge.net/

This is the Gtk# toolkit for Mono, an implementation of the .NET Development Framework.

Build Dependencies: monodoc
Library Dependencies: mono, glib2, atk, pango, gtk2
Platforms: darwin
Maintainers: [email protected] [email protected]
m100:~/workplace/program/cs/test-cairo3 cj$

ลองตัวแรกดูก่อน dependency เยอะดี

 



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท