สรุปขุมความรู้ รพ. บ้านตาก


คลังความรู้ รพ. บ้านตาก ( Knowledge    Assets )
ประเด็นสำคัญ
เรื่องเล่า
แหล่งข้อมูล
ทีม CKO  16 ชีวิต ( เป็นทีม)
กำหนดเป้าหมาย (KV)ชัดเจน
.....พูดจาภาษาเดียวกัน..
แบ่งปันความรู้ในองค์.......
.......เอื้อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้  ในองค์กร  นอกองค์กร  และในชุมชน....
...พัฒนาคน      แบ่งปัน        ทุกคนเสมอกัน.....
-          เราเป็น รพ. บ้านนอก  ไม่เคยรู้จัก KM  
-          รับการเชิญชวนจาก   สคส.  และ มหาวิทยาลัยนเรศวร  เข้าร่วมเครือข่ายการจัดการความรู้
-          ไม่ได้เริ่มจากศูนย์
-          จากเดิมมีกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพ  5ส.   HA   HPH 
-          ทีม  CKO  ตั้งเป้าหมาย  ปชช. มีสุขภาพดี
-          มี  KV  ----  ปชช.มีสุขภาพดี(สร้างนำซ่อม)  ------  จนท.มีความสุข.............องค์กรอยู่รอด
วิธีการเรียนรู้ใน รพ.บ้านตาก 
-          ----- ถอดซี    ถอดยศ ---------
-          ศึกษาดูงาน -- ค่าใช้จ่ายสูง
-          เรียนรู้จากการอ่าน -----  ค่าใช้จ่ายถูก  
-          เรียนรู้ร่วมกัน  แบ่งปันกัน
-          เรียนรู้จากการทำ  ระดับล่าง เช่น  คนงานมีผลงานที่ภาคภูมิใจ
KM เป็นเครื่องมือที่นำมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพ
      3 ทีม   นำฝัน   สานฝัน   ทอฝัน  
มีวัฒนธรรมการเรียนรู้
-          จนท.ทุกคนสามารถร่วมประชุมในทีมบริหารได้
-          จนท. มีโอกาสแสดงความคิดเห็น  ตัดสินใจในสิ่งที่รับผิดชอบได้
-          เกิดคลังความรู้  เช่น  Quality  manual     เอกสารคุณภาพ   web   ฯลฯ
การจัดการความรู้ใน รพ.บ้านตาก
-          ในองค์กร
-          นอกองค์กร  จากการรับผู้ดูงาน  มีการดักจับความรู้จากผู้มาดูงาน
-          มีการจัดการในชุมชน  เช่น ผู้เป็นเบาหวานใน สอ.เครือข่าย
คุณเกศราภรณ์   ภักดีวงศ์
ผู้จัดการคุณภาพ
รพ. บ้านตาก
....บูรณาการงานคุณภาพ.....
( HA   HPH   5ส.  ฯลฯ).....เชื่อมและสานสู่การปฏิบัติ ....
...........KM  ไม่ทำไม่รู้ ......แต่ปัจจุบัน  KM  ไม่ทำไม่ได้แล้ว .........
หน้าที่ของ FA 
  เรียนรู้จากการปฏิบัติ    เปรียบเทียบ    สอนงานไม่ใช่สั่งงาน
- การเตรียมตัวของ FA  และ หน่วยงาน
- สร้างบรรยากาศในการทำ KM  ........ทำให้เหมือนไป MK……..
- มีการช่วยเหลือทีมและการเชื่อมโยงกิจกรรม   จัดเวทีที่ไม่เกิดความเครียด  เช่น  จัดฐาน/ Walk  Rally
หลักคิดง่ายๆ 
  - คิดอย่างสร้างสรรค์   สร้างบรรยากาศ   ทำแล้วฮา   กระตุ้นโดยนกกระจิบ
สานสู่การปฏิบัติ
- สร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้   ไม่ปิดกั้นความคิดเห็น
- แลกเปลี่ยนความรู้ที่แนบแน่นอยู่กับงาน  เกิดชุมชนนักปฏิบัติ
- จัดเวทีเล่าสู่กันฟัง     - เวทีจริง  ในองค์กร/นอกองค์กร/ชุมชน
                               - เวทีเสมือน   ใน   Intranet
-  ใช้การเปรียบเทียบ  ( Benzmarking)    หา  Best   Pactice
-  มีที่เก็บคลังความรู้  ในศูนย์คุณภาพ/Intranet
- ประเมินผลการจัดการความรู้โดยใช้ เกณฑ์ของ กพร.
คุณสุภาภรณ์   บัญญัติ
พยาบาลวิชาชีพ
งานสุขศึกษาและประชาสัมพันธ์
รพ.บ้านตาก
ประเด็นสำคัญ
เรื่องเล่า
แหล่งข้อมูล
...คลังความรู้มีอยู่ในคน......ต้องหาวิธีค้นให้เผยออกมา...
.....KM  ในงานประจำ.....
.....ลดน้ำตาลในเลือดได้ผลจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มนักปฏิบัติการดูแลตนเองในผู้เป็นเบาหวาน..........
    จากการร่วมงานมหกรรมคุณภาพของ รพ.พุทธชินราช พล. 
นำมาพัฒนาการปฏิบัติงานใน PCU ทุ่งกระเชาะ     ซึ่งมีผู้ป่วยเบาหวานจำนวนมาก  ระยะทางไกลจาก รพ. 
   ปี 47     52   ราย 
   ปี 48     88   ราย  ปัญหาใหญ่ขึ้น   
       จึงทำกลุ่มโดยหลังจากรับการตรวจจากแพทย์    แยกห้องทำกลุ่ม   แจกอาหารที่ไม่เพิ่มน้ำตาลในเลือด  รับประทานอาหารร่วมกัน  พูดคุยกัน  โยงจากการกินเข้าสู่กลไกของโรคเบาหวาน    ผู้ร่วมกลุ่มเล่าอาการ เช่น  ปัสสาวะมีมดขึ้น   ปัสสาวะบ่อย  ชาปลายเท้า    ผู้พูดจึงสรุปเข้าสู่อาการโรคเบาหวาน  ทำแบบนี้ทั้งเรื่องสาเหตุ    ภาวะแทรกซ้อนของเบาหวาน  การป้องกันภาวะน้ำตาลสูงเกิน/ต่ำเกิน    ผู้ป่วยจะสอนกันเองจากประสบการณ์ที่เคยปฏิบัติ  มีการแลกเปลี่ยนความรู้ที่มี/จากการปฏิบัติ  เช่น  การใช้สมุนไพรในการลดน้ำตาลในเลือด
      เดิมควบคุมน้ำตาลได้      37 คน   ร้อยละ   42
      มี KM  ควบคุมน้ำตาลได้  51 คน   ร้อยละ   58
คุณเกษร  คล้ายคลึง
พยาบาลวิชาชีพ
งานชุมชน  รพ.บ้านตาก
เริ่มต้นจากเป้าหมาย........เชื่อมโยงทีมงาน..........ระดมสมอง......ร่วมเรียนรู้ในองค์/นอกองค์กร.....เผยแพร่สู่ผู้เกี่ยวข้อง
……เตาเผาขยะดีแค่ไหนไม่สำคัญเท่าการแยกขยะให้ถูกประเภท........
จาก วิสัยทัศน์ ของโรงพยาบาลที่เกี่ยวข้องกับงานที่ทำ 
 “โรงพยาบาลบ้านตากสะอาดและสวย………………………….”
เชื่อมโยงกับ  Goal (มีสิ่งแวดล้อมใน รพ.และชุมชนที่เอื้อต่อ
ประชาชนมีสุขภาพดี) ยุทธศาสตร์ ( จัดการอาคารสถานที่และความปลอดภัย)  และ พันธกิจ/เจตจำนงของหน่วยงาน
          เริ่มจากการพูดคุยในหน่วยงาน    ดึงทีมที่เกี่ยวข้อง  เช่น ทีมพัฒนาสิ่งแวดล้อม    ทีม IC    มาร่วมทีมพัฒนา มีการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้หลายๆ ครั้ง       เกิดคลังความรู้
-          แยกขยะติดเชื้อให้ถูกต้อง  จัดเรียงขยะสู่เตา
-          กำหนดเวลาเผาขยะ
-          กำหนดเส้นทางเดินของขยะ  วิธีขนย้าย
ผลลัพท์ – ข้อร้องเรียนลดลงจนเหลือ   0
            -  อัตราการทิ้งขยะถูกประเภทเพิ่มขึ้นเป็น  ร้อยละ 99
                          
คุณภิพาภรณ์   โมราราช
งานบริการสุขภาพชุมชน
รพ. บ้านตาก (“คุณกิจ”
หมายเลขบันทึก: 8593เขียนเมื่อ 2 ธันวาคม 2005 04:44 น. ()แก้ไขเมื่อ 19 มิถุนายน 2012 16:18 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท