412803 RESEARCH METHODOLOGY AND STATISTICS FOR INFORMATION STUDIES


RESEARCH METHODOLOGY

รายการเอกสารที่ อ.ดุษฎี กำหนดให้ 1-5 (ส่วน 6-10  จะตามมา)
รายการที่ 1
Wilson, T.D.  (2002).   Alfred Schutz, phenomenology and research
methodology for information behaviour research.
Retrieved 30 October 2005, from
http://informationr.net/tdw/publ/papers/schutz02.html



รายการที่ 2.
Carl Ratner
Subjectivity and Objectivity in Qualitative Methodology
http://www.qualitative-research.net/fqs-texte/3-02/3-02ratner-e.htm

รายการที่ 3.
Pickard, Alison Jane.   1998.  The impact of access to electronic and
digital information resources on learning opportunities for young
people: a grounded theory approach.  Retrieved 30 October 2005, form
http://informationr.net/ir/4-2/isic/pickard.html


รายการที่ 4.
 Fiona Duggan and Linda Banwell
Constructing a model of effective information dissemination in a crisis
http://www.qualitative-research.net/fqs-texte/3-02/3-02ratner-e.htm



รายการที่ 5.

Generating and analysing data for applied research on emerging technologies: a grounded action learning approach

From  http://informationr.net/ir/9-4/paper195.html

 

คำสำคัญ (Tags): #research#methodology#information#science
หมายเลขบันทึก: 8440เขียนเมื่อ 30 พฤศจิกายน 2005 11:57 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 มิถุนายน 2012 12:32 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

สรุปจากการถอดเทป อ.ดุษฎี ที่พูดถึงเอกสารฉบับที่ 1 และ 2

1. T.D.Wilson.    Alftred Sehutz, phenomenology and …
Methodology กับ Method ไม่เหมือนกัน
Methodology สิ่งที่พูดถึงคือ การพยายามจะทำความเข้าใจความจริงซักเรื่องหนึ่ง  นี่คือระดับคิดของ Methodology
การจะรู้ความจริงหนึ่งเรื่อง reality ที่เกิดขึ้น มันต้องการ method อะไร มาค้นคว้าหาความรู้ นั่นคือระดับของความคิดที่ต้องการให้ศึกษา  มากกว่านั้น ทฤษฎีของ Wilson
the research methods are the methods of philosophy
To state one's methodological position is to describe one's view of the nature of reality
เพราะฉะนั้นเวลาผู้วิจัย พูดคำว่าใช้ methodology อะไร อย่าพูดแค่ระดับ method
จะเห็นว่า เวลาเราพูดว่า Qualitative หรือ quantitative นั่นคือระดับอะไร  -- ระดับ method
เพราะฉะนั้นเขาต้องการ
method ในบทความนี้มีหลายอย่างมาก Those methods include, for example, conceptual analysis; linguistic analysis; hermeneutical method and praxis; historical-critical method; literary philosophy; and formal logic.
บาง method ถูกมองใน asset ของ  quantitative approach 
เพราะฉะนั้น คำว่า  approach,  method  เรียกว่าเป็นระดับเดียวกัน ถ้ามองจากเอกสารฉบับนี้ ในสายตาของ Wilson,  แต่ Methodology เป็นอีกระดับหนึ่ง.  
ประโยค ” we find, frequently, for example, that people write about 'methodology' when all they are doing is describing the choice of method for a study, or simply describing the method chosen. Methodology, however, is prior to method and more fundamental, it provides the philosophical groundwork for methods” เป็น Highlight  การที่ methodology to state one's methodological position , 
การที่จะบอกว่าใช้ methodology ตัวหนึ่ง มันคืออะไร   มันคือ  describe one's view of the nature of reality:   มันจะอธิบายเลย  
nature of reality:  ลักษณะของความจริง หรือความจริงที่เราค้นหา ที่เป็นสภาพความเป็นจริง 
ต้องการจะให้พวกเราเข้าใจว่า Method กับ Methodology ไม่เหมือนกัน  แล้วไปอ่านหนังสือเล่มของ อจ.ชาย จะเข้าใจมากขึ้น  เพราะในนี้จะไม่ได้พูดแค่เชิงคุณภาพ
ประเด็นแรกจะพูดถึง positivism กับ  post to positivism สองคำนี้เป็นระดับ methodology
ในนี้ Wilson พยายามจะชี้ให้เห็นว่า  ระดับของ Method คืออะไร
ประเด็นสุดท้าย conclusion
Phenomenological ideas underlie virtually all of those schools of thought that hold that it is necessary to understand the meaning attributed by persons to the activities in which they engage, in order to understand their behaviour.
บอกว่าปรากฏการณ์นิยมใช้ตอนไหน เมื่อคุณต้องการทำความเข้าใจ meaning  ใครที่ต้องการศึกษาปรากฏการณ์ที่ต้องการให้คนที่เราศึกษาให้ความหมาย
ตย: เวลาพูดคำว่า อยู่ดีมีสุข  คนให้ความหมายอย่างไร  เมื่อไหร่ที่เราคิดอย่างนี้ เราสามารถใช้ Phenomenology ไป study ให้คนนั้น ให้ความหมายที่ถูก  เพราะฉะนั้นถ้าคุณศึกษาในสาขาของคุณ  มี นศ.คนนึงพยายามจะทำความเข้าใจว่า ทักษะ IT สำหรับเด็กประถม  หน้าตาเป็นอย่างไร  ในสายตาของครู สายตาของนักวิชาการศึกษาที่เป็น expert  เพราะฉะนั้นเขาก็ study โดยใช้วิธีการลงไปหาปรากฏการณ์  เพื่อจะไปหาให้ได้ meaning 
สิ่งเหล่านี้เราก็ใช้ศึกษาเพื่อการศึกษาของเราได้
ประเด็นที่สาม : Wilson พยายามที่จะ analysis ให้เห็นว่าแนวคิดทางสังคมศาสตร์บางตัว มันมาอยู่ที่คน ที่จะพยายามทำความเข้าใจพฤติกรรมของคน เพราะฉะนั้นการพยายามทำความเข้าใจพฤติกรรมของคน ต้องยืมทฤษฎีจากศาสตร์ตัวอื่น   ทฤษฎีสำคัญที่ยกมาคือ Social interactionlism เขาพูดย้อนหลังไปว่าทฤษฎีนี้ มีพัฒนาการมาได้อย่างไร
ถ้าจะอ่านอีกรอบให้ FOCUS 3 ประเด็น

Carl Ratner.  Subjectivity and Objectivity …
ค่อนข้างจะโต้แย้งว่า Subjectivity, Objectivity, Quantative, Qualitative เป็นระดับ Methodology ได้
Subjectivity  กับ Objectivity มีความหมายเชื่อมกันอย่างไร  ไม่ได้บอกว่าแยกจากกัน จึงบอกว่าคุณใช้มันด้วยกันได้  แต่คุณต้องรู้ว่าตอนไหนเหมาะ เพราะฉะนั้นต้องไปแกะ
ส่วนใหญ่งานวิจัยที่เราเห็น หรือนักวิจัยที่ยืนอยู่บนขาของ Subjective ก็คือเป็นกลุ่มที่เป็น Quanlitative Method เขาก็จะเชื่ออย่างนั้น โดยปฏิเสธในเรื่องของ Objective ซึ่งตรงนี้ถูกโจมตี
Ratner จึงเขียนตรงนี้เพื่อจะโต้แย้ง แนวคิดดังกล่าว แต่ประเด็นที่เขาโต้แย้งก็ยังอาจจะเป็นข้อโต้แย้งได้ด้วย ต้องการให้คุณอ่านตรงนี้ เพื่อให้เห็นว่า มุมของการ Defense แต่ละระเบียบวิธีนั้น มีตรงไหนบ้าง
ทำไมต้องใช้สองวิธี  ทำไมจึงไม่คิดว่า Quanlitative อย่างเดียวตอบได้
หรือ Qualitative อย่างเดียวตอบได้  มันจำเป็น และต้องการกันและกันตรงไหน อย่างไร
เพราะฉะนั้นจำเป็นต้องอ่าน paper นี้
นอกจากนั้น งาน paper นี้ไม่ได้ปฏิเสธเลยว่า ถึงแม้ตัวเองจะเป็น Qualitative ก็ไม่ได้ปฏิเสธสิ่งที่เป็น Objective (คือสิ่งที่วัด จับต้องได้)
เพราะฉะนั้นนักเชิงคุณภาพในบ้านเรา  รวมทั้งงานที่ตีพิมพ์ออกมา แทบจะไม่มีตัวเลขซักตัวโผล่มาให้เห็น  ซึ่งมันไม่ใช่ Concept ที่ถูก Paper นี้ กำลังพูดอย่างแบบนี้  เพราะฉะนั้นเวลาที่เขียนงานวิจัยเชิงคุณภาพ  สามารถจะมีตัวเลขได้

คราวหน้าจะเรียน Grounded Theory ซึ่งเป็นสุดโต้งของ งานเชิงคุณภาพ  ระดับพื้นฐาน เน้นเชิงคุณภาพแบบหลัก  เราก็ต้องคิดว่า เราเอามาใช้ได้เหมาะอย่างไร ไม่เหมาะอย่างไร

สรุปจากการถอดเทป อ.ดุษฎี ที่พูดถึงเอกสารฉบับที่ 1 และ 2

1. T.D.Wilson.    Alftred Sehutz, phenomenology and …
Methodology กับ Method ไม่เหมือนกัน
Methodology สิ่งที่พูดถึงคือ การพยายามจะทำความเข้าใจความจริงซักเรื่องหนึ่ง  นี่คือระดับคิดของ Methodology
การจะรู้ความจริงหนึ่งเรื่อง reality ที่เกิดขึ้น มันต้องการ method อะไร มาค้นคว้าหาความรู้ นั่นคือระดับของความคิดที่ต้องการให้ศึกษา  มากกว่านั้น ทฤษฎีของ Wilson
the research methods are the methods of philosophy
To state one's methodological position is to describe one's view of the nature of reality
เพราะฉะนั้นเวลาผู้วิจัย พูดคำว่าใช้ methodology อะไร อย่าพูดแค่ระดับ method
จะเห็นว่า เวลาเราพูดว่า Qualitative หรือ quantitative นั่นคือระดับอะไร  -- ระดับ method
เพราะฉะนั้นเขาต้องการ
method ในบทความนี้มีหลายอย่างมาก Those methods include, for example, conceptual analysis; linguistic analysis; hermeneutical method and praxis; historical-critical method; literary philosophy; and formal logic.
บาง method ถูกมองใน asset ของ  quantitative approach 
เพราะฉะนั้น คำว่า  approach,  method  เรียกว่าเป็นระดับเดียวกัน ถ้ามองจากเอกสารฉบับนี้ ในสายตาของ Wilson,  แต่ Methodology เป็นอีกระดับหนึ่ง.  
ประโยค ” we find, frequently, for example, that people write about 'methodology' when all they are doing is describing the choice of method for a study, or simply describing the method chosen. Methodology, however, is prior to method and more fundamental, it provides the philosophical groundwork for methods” เป็น Highlight  การที่ methodology to state one's methodological position , 
การที่จะบอกว่าใช้ methodology ตัวหนึ่ง มันคืออะไร   มันคือ  describe one's view of the nature of reality:   มันจะอธิบายเลย  
nature of reality:  ลักษณะของความจริง หรือความจริงที่เราค้นหา ที่เป็นสภาพความเป็นจริง 
ต้องการจะให้พวกเราเข้าใจว่า Method กับ Methodology ไม่เหมือนกัน  แล้วไปอ่านหนังสือเล่มของ อจ.ชาย จะเข้าใจมากขึ้น  เพราะในนี้จะไม่ได้พูดแค่เชิงคุณภาพ
ประเด็นแรกจะพูดถึง positivism กับ  post to positivism สองคำนี้เป็นระดับ methodology
ในนี้ Wilson พยายามจะชี้ให้เห็นว่า  ระดับของ Method คืออะไร
ประเด็นสุดท้าย conclusion
Phenomenological ideas underlie virtually all of those schools of thought that hold that it is necessary to understand the meaning attributed by persons to the activities in which they engage, in order to understand their behaviour.
บอกว่าปรากฏการณ์นิยมใช้ตอนไหน เมื่อคุณต้องการทำความเข้าใจ meaning  ใครที่ต้องการศึกษาปรากฏการณ์ที่ต้องการให้คนที่เราศึกษาให้ความหมาย
ตย: เวลาพูดคำว่า อยู่ดีมีสุข  คนให้ความหมายอย่างไร  เมื่อไหร่ที่เราคิดอย่างนี้ เราสามารถใช้ Phenomenology ไป study ให้คนนั้น ให้ความหมายที่ถูก  เพราะฉะนั้นถ้าคุณศึกษาในสาขาของคุณ  มี นศ.คนนึงพยายามจะทำความเข้าใจว่า ทักษะ IT สำหรับเด็กประถม  หน้าตาเป็นอย่างไร  ในสายตาของครู สายตาของนักวิชาการศึกษาที่เป็น expert  เพราะฉะนั้นเขาก็ study โดยใช้วิธีการลงไปหาปรากฏการณ์  เพื่อจะไปหาให้ได้ meaning 
สิ่งเหล่านี้เราก็ใช้ศึกษาเพื่อการศึกษาของเราได้
ประเด็นที่สาม : Wilson พยายามที่จะ analysis ให้เห็นว่าแนวคิดทางสังคมศาสตร์บางตัว มันมาอยู่ที่คน ที่จะพยายามทำความเข้าใจพฤติกรรมของคน เพราะฉะนั้นการพยายามทำความเข้าใจพฤติกรรมของคน ต้องยืมทฤษฎีจากศาสตร์ตัวอื่น   ทฤษฎีสำคัญที่ยกมาคือ Social interactionlism เขาพูดย้อนหลังไปว่าทฤษฎีนี้ มีพัฒนาการมาได้อย่างไร
ถ้าจะอ่านอีกรอบให้ FOCUS 3 ประเด็น

Carl Ratner.  Subjectivity and Objectivity …
ค่อนข้างจะโต้แย้งว่า Subjectivity, Objectivity, Quantative, Qualitative เป็นระดับ Methodology ได้
Subjectivity  กับ Objectivity มีความหมายเชื่อมกันอย่างไร  ไม่ได้บอกว่าแยกจากกัน จึงบอกว่าคุณใช้มันด้วยกันได้  แต่คุณต้องรู้ว่าตอนไหนเหมาะ เพราะฉะนั้นต้องไปแกะ
ส่วนใหญ่งานวิจัยที่เราเห็น หรือนักวิจัยที่ยืนอยู่บนขาของ Subjective ก็คือเป็นกลุ่มที่เป็น Quanlitative Method เขาก็จะเชื่ออย่างนั้น โดยปฏิเสธในเรื่องของ Objective ซึ่งตรงนี้ถูกโจมตี
Ratner จึงเขียนตรงนี้เพื่อจะโต้แย้ง แนวคิดดังกล่าว แต่ประเด็นที่เขาโต้แย้งก็ยังอาจจะเป็นข้อโต้แย้งได้ด้วย ต้องการให้คุณอ่านตรงนี้ เพื่อให้เห็นว่า มุมของการ Defense แต่ละระเบียบวิธีนั้น มีตรงไหนบ้าง
ทำไมต้องใช้สองวิธี  ทำไมจึงไม่คิดว่า Quanlitative อย่างเดียวตอบได้
หรือ Qualitative อย่างเดียวตอบได้  มันจำเป็น และต้องการกันและกันตรงไหน อย่างไร
เพราะฉะนั้นจำเป็นต้องอ่าน paper นี้
นอกจากนั้น งาน paper นี้ไม่ได้ปฏิเสธเลยว่า ถึงแม้ตัวเองจะเป็น Qualitative ก็ไม่ได้ปฏิเสธสิ่งที่เป็น Objective (คือสิ่งที่วัด จับต้องได้)
เพราะฉะนั้นนักเชิงคุณภาพในบ้านเรา  รวมทั้งงานที่ตีพิมพ์ออกมา แทบจะไม่มีตัวเลขซักตัวโผล่มาให้เห็น  ซึ่งมันไม่ใช่ Concept ที่ถูก Paper นี้ กำลังพูดอย่างแบบนี้  เพราะฉะนั้นเวลาที่เขียนงานวิจัยเชิงคุณภาพ  สามารถจะมีตัวเลขได้

คราวหน้าจะเรียน Grounded Theory ซึ่งเป็นสุดโต้งของ งานเชิงคุณภาพ  ระดับพื้นฐาน เน้นเชิงคุณภาพแบบหลัก  เราก็ต้องคิดว่า เราเอามาใช้ได้เหมาะอย่างไร ไม่เหมาะอย่างไร

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท