งานชิ้นที่ 3 ห้าสถานการณ์กับบุคคลที่กฎหมายคุ้มครอง


บุคคลที่กฎหมายคุ้มครอง

สถานการณ์เด่นกับบุคคลที่กฎหมายคุ้มครอง (การบ้านครั้งที่ 3 ) 

 

 สถานการณ์

ระหว่างประเทศ

 บ่อเกิดของกฎหมาย

 บุคคลที่กฎหมาย

คุ้มครอง

1.ก่อการร้าย  

กฎหมายภายใน       

-ประมวลกฎหมายอาญา ลักษณะ 1/1  มาตรา 135/1     

-ข้อมติคณะมนตรีความมั่นคง ที่ 1373 เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2544 

กฎหมายระหว่างประเทศ    

-International Convention for the Suppression of the Financing of Terrorism of 1999(อนุสัญญาระหว่างประเทศเพื่อการปราบปรามการให้การสนับสนุนด้านการเงินแก่การก่อการร้าย ปี ค.ศ. 1999  

   -อนุสัญญาว่าด้วยความผิดและการกระทำอื่น ๆ บางประการที่กระทำบนอากาศยาน ณ กรุงโตเกียว ค.ศ. 1963 (Convention on Offences and Certain Other Acts Committed on Board Aircraft, signed at Tokyo on 14 September 1963X   

 -อนุสัญญาเพื่อปราบปรามการยึดอากาศยานโดยมิชอบด้วยกฎหมาย ณ กรุงเฮก ค.ศ. 1970 (Convention for the Suppression of Unlawful Seizure of Aircraft, signed at the Hague on 16 December 1970)  

   -อนุสัญญาเพื่อปราบปรามการกระทำอันมิชอบด้วยกฎหมายต่อความปลอดภัยของการบินพลเรือน ณ นครมอนทริออล ค.ศ. 1971(Convention for the Suppression of Unlawful Acts against the Safety of Civil Aviation, signed at Montreal on 23 September 1971)   

 -พิธีสารเพื่อการปราบปรามการกระทำรุนแรงอันมิชอบด้วยกฎหมาย ณ ท่าอากาศยานซึ่งให้บริการการบินพลเรือนระหว่างประเทศ เพิ่มเติมอนุสัญญาเพื่อปราบปรามการกระทำอันมิชอบด้วยกฎหมายต่อความปลอดภัยของการบินพลเรือน ณ นครมอลทริออล ค.ศ. 1988 (Protocol on the Suppression of Unlawful Acts of Violence at Airports Serving International Civil Aviation, supplementary to the Convention for the Suppression of Unlawful Acts against the Safety of Civil Aviation, signed at Montreal on 24 February 1988)United Nations Treaty CollectionConventions on Terrorism

บุคคลที่กฎหมายภายในคุ้มครอง         

-ประชาชน สาธารณชน (บุคคลในรัฐและนอกรัฐ)   

 

บุคคลที่กฎหมายระหว่างประเทศคุ้มครอง        

-ประชาชน สาธารณชน

2.การค้ามนุษย์

กฎหมายภายใน    

  -ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 282, มาตรา 283เป็นธุระจัดหา ล่อไป หรือพาไป...แม้ยินยอมก็ตาม...                  

 -...ปราบค้าประเวณีมาตรา 5  ผู้ใดเข้าติดต่อ ชักชวน แนะนำตัว ติดตามหรือรบเร้า...เพื่อการค้าประเวณีอันเป็นการเปิดเผยและน่าอับอาย...แก่สาธารณชนมาตรา 8 ผู้ใดกระทำชำเราหรือกระทำอื่นใดเพื่อสำเร็จความใคร่ของตนเองหรือผู้อื่น...    

กฎหมายระหว่างประเทศ   

   -อนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองค์กร (UN Convention on Transnational Organized Crime)       

 -พิธีสารเพื่อป้องกันและปราบปรามและลงโทษการค้ามนุษย์โดยเฉพาะผู้หญิงและเด็ก (Protocol to Prevent, Suppress and Punish Trafficking in Persons, Especially Women and Children)     

  -พิธีสารเพื่อต่อต้านการ    ลักลอบขนผู้ย้ายถิ่นโดยทางบก ทะเล และอากาศ (Protocol against the Smuggling of Migrants by Land, Sea and Air)  

บุคคลที่กฎหมายภายในคุ้มครอง     

 -ประชาชน

(ผู้ที่ตกเป็นเหยื่อและเด็กที่มีอายุเกินกว่า 15ปีแต่ไม่เกิน 18 ปี และเด็กอายุไม่เกิน 15 ปี ซึ่งโทษมีความแตกต่างกันขึ้นอยู่กับอายุของบุคคลที่เป็นเหยื่อ)            

-สาธารณชน

- เด็กที่มีอายุกว่า 15 ปี    แต่ไม่เกิน 18 ปี

- เด็กที่มีอายุไม่เกิน 15 ปี

- ตัวสามี    ถ้าหากเป็นการกระทำระหว่างสามี

-ภริยา ไม่ผิด กฎหมายให้ความคุ้มครอง 

บุคคลที่กฎหมายระหว่างประเทศคุ้มครอง     

-ประชาชน สาธารณชนโดยเฉพาะผู้หญิงและเด็ก

3.อาวุธร้ายแรง

กฎหมายภายใน    

  -พระราชบัญญัติคุ้มครองการดำเนินงานขององค์การห้ามอาวุธเคมี และร่างแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 

กฎหมายระหว่างประเทศ    

  -สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ (Nuclear Non-Proliferation Treaty : NPT)     

- สนธิสัญญาห้ามทดลองอาวุธนิวเคลียร์โดยสมบูรณ์ (Comprehensive Nuclear-Test-Ban Treaty : CTBT)     

 -อนุสัญญาห้ามอาวุธเคมี (Chemical Weapons Convention : CWC 

บุคคลที่กฎหมายภายในคุ้มครอง     

-ประชาชน สาธารณชน

  บุคคลที่กฎหมายระหว่างประเทศคุ้มครอง     

 -ประชาชน สาธารณชน

4.ความมั่นคงของมนุษย์

กฎหมายภายใน    

  -กฎหมายรัฐธรรมนูญ 2540 หมวด 3

กฎหมายระหว่างประเทศ     

 - Human Security Network – HSN 2542  

บุคคลที่กฎหมายภายในคุ้มครอง     

-ประชาชนชาวไทยบุคคลที่กฎหมายระหว่างประเทศคุ้มครอง     

-มนุษย์ สาธารณชน

5.ปัญหายาเสพติด

กฎหมายภายใน     

-พ.ร.บ. มาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๓๔     

-พ.ร.บ. วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘      -พ.ร.บ. ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม     

 -พ.ร.บ. ป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ปี พ.ศ. ๒๕๑๙ และที่แก้ไขเพิ่มเติม 

กฎหมายระหว่างประเทศ     

-ความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านและจีนในกรอบความร่วมมือ 4 ฝ่าย (ไทย พม่า ลาว และจีน)     

-ความร่วมมือภายใต้กรอบบันทึกความเข้าใจ 7 ฝ่าย เพื่อความร่วมมือในการควบคุม  ยาเสพติดในอนุภูมิภาค (ไทย ลาว พม่า จีน กัมพูชา เวียดนาม และ United Nations Office on Drugs and Crime - UNODC)     

-อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการลักลอบค้ายาเสพติดและวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท ค.ศ.๑๙๘๘    

บุคคลที่กฎหมายภายในคุ้มครอง     

-ประชาชน ที่กระทำการเสพ (เหยื่อของผู้ขาย)

บุคคลที่กฎหมายระหว่างประเทศคุ้มครอง     

-มนุษย์ ประชาชน 

 
หมายเลขบันทึก: 79869เขียนเมื่อ 21 กุมภาพันธ์ 2007 14:34 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 พฤษภาคม 2012 20:16 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท