ผู้ประสานงานวิจัยมือใหม่ : (12) แผนงานวิจัยเพื่อพัฒนาจังหวัดอุตรดิตถ์


สามารถคลิกที่ภาพเพื่อดูรายละเอียดในภาพขนาดใหญ่ได้ครับ

         วิบูลย์ วัฒนาธร

หมายเลขบันทึก: 78825เขียนเมื่อ 15 กุมภาพันธ์ 2007 16:42 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 17:49 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (3)

ขอขอบพระคุณท่านอาจารย์วิบูลย์...

  • ก่อนอื่นขอแสดงความชื่นชม และขอแสดงความยินดีกับชาวอุตรดิตถ์ที่มี "มืออาชีพ" จาก มน. เข้ามาร่วมกันทำแผนพัฒนา
  • มีข้อสงสัยอย่างหนึ่งคือ... อุตรดิตถ์มีอะไรที่เป็น competitive advantage หรือความสามารถ / ความได้เปรียบสัมพัทธ์ (เมื่อเทียบกับจังหวัด / ประเทศ / ภูมิภาคอื่นๆ)....
  • ถ้าตอบข้อนี้ได้... น่าจะพัฒนาไปได้ไกลทีเดียว

ขอขอบพระคุณครับ...

ท่านอาจารย์หมอวัลลภครับ

- แผนพัฒนาที่แสดงนี้ เป็นแผนพัฒนาเชิงประเด็น เน้นไปที่ประเด็นเดียว เกี่ยวกับการฟื้นฟูสุขภาพและอาชีพของผู้ที่ได้รับภัยพิบัติ อุทกภัย โคลนถล่ม เป็นแผนที่เกิดจากการมีส่วนร่วมจากหลายภาคีนานแล้ว ตั้งแต่หลังเกิดเหตุการณ์โคลนถล่มเมื่อปีที่แล้ว ขณะนี้ งบประมาณแผ่นดินปื 2550 สำหรับ R&D ตามแผนนี้ เพิ่งจะส่งมา ผมเลยนำมาลงเพื่อเป็นการให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้ทบทวนในเป้าหมายร่วมกันก่อนที่จะลงมือปฏิบัติงาน

- ส่วนประเด็นที่ท่านอาจารย์หมอวัลลภสนใจถามนั้น จะมีการระดมความคิดเห็นจากทุกภาคีอีกครั้งในวันที่ 29 มีนาคม 2550 ครับ ได้ผลอย่างไรแล้วจะเล่าให้ฟังภายหลังครับ แต่ถ้าจะให้ผมตอบคนเดียว (โอกาสพลาดสูง) ผมคงขอตอบว่าเป็นเรื่องผลไม้ต่าง ๆ ของอุตรดิตถ์ (ลางสาด ทุเรียน ลองกอง) รวมไปถึงอ้อยและโรงงานน้ำตาลด้วย ที่จะเป็นจุดเด่นของจังหวัด

มีหลายงานวิจัยที่น่าทำในพื้นที่นี้ครับ เสียดายครับที่ไม่ได้เข้าประชุมด้วย เอาไว้ถ้าได้ออกโมบายยูนิทที่อุตรดิตถ์อีก จะได้รับทราบความต้องการของพื้นที่และร่วมกันทำงานวิจัยร่วมกับทางพื้นที่ได้ครับ
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท