มาตราการส่งเสริมการลงทุนต่างประเทศ อยู่สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชนลาว ตามกฏหมายว่าด้วยการส่งเสริม และการคลุ้มครองการลงทุนต่างประเทศ ฉบับปี ศ.ส.2004.


เนื้อในกล่าวถึงการส่งเสริมการลงทุนต่างประเทศ ผลของการปฏิบัติที่ผ่านมา ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการลงทุนต่างประเทศ รูบแบบของการลงทุน วิจารย์ถึงกฎหมาย การปฏิบัติที่สามารถทำได้ดี ข้อทียังทำไม่ได้และวิทีการแก้ปฏิบัติในข้างหน้าและอื่นๆ

คำนำสารบาญ1. ความรับรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมการลงทุนระหว่างประเทศ    1.1. ความรับรู้เกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการลงทุนต่างประเทศของ ส ป ป ลาว    1.2. ความหมายของการลงทุนของต่างประเทศอยู่ ส ป ป ลาว    1.3. ความสำคัญของการลงทุนต่างประเทศอยู่ ส ป ป ลาว2. รูปแบบของการลงทุนต่างประเทศอยู่ ส ป ป ลาว    2.1. วิสาหกิจประสมระหว่างผู้ลงทุนต่างประเทศกับผู้ลงทุนภายในประเทศ    2.2. วิสาหกิจลงทุนต่างประเทศร้อยส่วนร้อย (100%)3. มาตรการส่งเสริมการลงทุนของต่างประเทศอยู่ ส ป ป ลาว    3.1. การส่งเสริมการลงทุนโดยกฎหมาย    3.2. การให้สิทธิ และประโยชน์ต่อผู้ลงทุน    3.2.1. การให้สิทธิ และผลประโยชน์ที่ไม่เกี่ยวกับภาษี                1. การอนุญาตเข้า-ออก ส ป ป ลาว                     2. การให้สิทธิ อนุญาตให้มีการเช่าที่ดินอยู่ ส ป ป ลาว4. การระงับข้อผิดพาท   4.1. การไก่เกลี่ย    4.2. การงับข้อผิดพาทโดยการร้องฟ้อง5. สรุป    5.1.ข้อดี    5.2. ข้อเสีย    5.3. วิทีแก้ไข        

 คำนำ           ตามธรรมชาติของผู้ลงทุนต่างประเทศ แม่นมีวัตถุประสงค์ที่จะแสวงหากำไล และรายได้จากการลงทุนนั้น แต่ในการที่นักลงทุนจะไปลงทุนอยู่ประเทศใดก็ตาม ผู้ลงทุนก็ต้องพิจารณาอย่างรอบคอบพอสมควร เพราะว่าผู้ลงทุนต้องการมีความมั่นใจในการที่จะไปลงทุนอยู่ประเทศใดประเทศหนึ่งทรัพย์สิน และการลงทุนของตนจะได้รับการคลุ้มครอง และมีหลักค้ำประกันที่สำคัญที่แน่นอน และ เชื่อถือได้ มีโอกาสที่จะแสวงหากำรายได้ และกำไลมาก และมีกำไลแล้วผู้ลงทุนก็มีความต้องการความมั่นใจในการที่จะสามารถนำเอารายได้ หรือ ผลกำไลนั้นกับไปยังประเทศหรือได้รับสิทธิ และผลประโยชน์อื่นๆตามพอควร           สำรับประเทศเจ้าบ้านก็มีหน้าที่ในการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศตนเพื่อทำให้ชีวติการเป็นอยู่ของประชาชนของประเทศตนดีขึ้น ต้องรับประกันในการพัฒนาประเทศชาติของตน การทำงานและอื่นๆ การลงทุนของต่างประเทศก็มีส่วนทำให้ประเทศพัฒนาไปไว ประเทศผู้รับการลงทุนจึ่งได้มีการส่งเสริมให้มีการลงทุนต่างประเทศโดยสร้างสิ่งจูงใจ และมีหลักค้ำประกันต่างๆให้แก่ผู้ลงทุน ส ป ป ลาวก็เป็นประเทศหนึ่งที่ได้มีการเปิดกว้าง และรับเอาการลงทุนของต่างประเทศอยู่ใน ส ป ป ลาว มาแต่ปี ค.ศ. 1986 ด้วยเหตุนี้ผมจึ่งมีความสนใจในปัญหาดั่งกล่าว และได้ศึกษาวิจัยปัญหานี้เพื่อให้มีความเข้าใจอย่างชัดแจ้งของงานการส่งเสริมการลงทุนต่างประเทศเพื่อเป็นการเสริมสร้างและเสริมขยายวัตถุประสงค์ของรัฐบาล ในการเปิดกว้างความสัมพันธ์ความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจกับต่างประเทศ เพื่อดำเนินนโยบายเปลี่ยนแปลงใหม่ในหลายด้าน โดยเฉพาะ ในขงเขตเศรษฐกิจได้ดำเนินการหันเปลี่ยนกลไกลคลุ้มครองเศรษฐกิจแบบเก่ามาเป็นกลไกลเศรษฐกิจแบบใหม่ ซึ่งรัฐบาล ส ป ป ลาว ก็ได้มีมาตรการต่างๆ ส่งเสริม และคลุ้มครองการลงทุนทังภายใน และต่างประเทศ ด้วยการออกนิติกรรมต่างๆเช่น: ได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญที่เป็นจุดยืนที่สำคัญ พ้อมนี้ก็ยังมีกฎหมายซึ่งได้รับและประกาศใช้ฉบับแรกในวันที่15 สิงหาคม 1991 ได้มีการปรับปรุง ปีค.ศ. 2004 พ้อมนั้นก็ยังกฎหมายว่าด้วยการลงทุนต่างประเทศลงวันที่ 09/04/ 1988ต่อมาก็ได้มีการปรับปรุงเปลี่ยนมาเป็นกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริม และคลุ้มครองการลงทุนของต่างประเทศในปี 1994 มาถึงปี 2004 ก็ได้มีการปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริม และคลุ้มครองการลงทุนของต่างประเทศ และกฎหมายอื่นๆ ผ่านจากศึกษาค้นคว้าเนื้อใน ข้อมูลต่างที่ใช้ เขียน การอธิบายไจ้แยก นำใช้สับสำนวน ภาษา การให้ความหมายในด้านต่างๆจึ่งไม่อาดหลีกเลี้ยงได้ถึงข้อบกผ่อง และความไม่ชัดเจนในบางด้านดังนั้นข้าพะเจ้าจึ่งขออภัยมาในที่นี้ด้วยและมีความหวังอย่างยิ่งว่าบทรายงานชิ้นนี้คงจะเป็นประโยชน์ส่วนหนึ่งสำรับบรรดาท่านหรือผู้ที่สนใจ และต้องการอยากศึกษาต่อไป และขอขอบพระคุณเป็นอย่างมากนำอาจารย์ทุกท่านที่ได้ให้ความรู้ และตลอดถึงองค์การจัดตั้งต่างๆที่ได้ให้ความช่วยเหลือและสนองข้อมูลที่สำคัญ 

1. ความรับรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมการลงทุนระหว่างประเทศ    การลงทุนโดยตรงระหว่างประเทศของบริษัทข้ามชาติมีทั้งผลดี และผลเสยซึ่งมักมีการกล่าวถึงคือ การเป็นผู้นำทุนเข้ามายังประเทศที่ขาดแคลนสามารถทำให้พัฒนาประเทศได้ทำให้ประชาชนมีงานทำและมีรายได้เพิ่มขึ้น การถ่ายทอดเทคโนโลยี การฝึกอบรมคนงาน การนำเงินตราต่างประเทศเข้ามายังประเทศเจ้าบ้านช่วยผ่อนคลายปัญหาด้านดุลการชำระเงินตรา โดยทั่วไปในแง่การพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะประเทศที่มีข้อจำกัดในเรื่องเงินทุนหรือเงินตราต่างประเทศจะเป็นปัญหาทางหนึ่งที่จะช่วยให้ประเทศเจ้าบ้านสามารถลงทุนขยายการผลิตถึงเป้าหมายที่กำหนดไว้หรือสามรถเจริญเติบโตได้สูงกว่าระดับที่เงินทุนในประเทศ [1]    จากมุมมองของธุรกิจ บรรดานโยบาย และยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนตามกลไกการตลาดได้ก็ต้องสนองกับแนวโน้มด้านเศรษฐกิจ และธุรกิจของโลก และพากพื้น พ้อมนั้นกำลังใดๆที่ผลักดันความอาดสามารถในการแข่งขันแนวโน้มธุรกิจ และพากพื้น ได้แสดงให้เห็นว่าจำเป็นต้องได้มีการกำหนดแรงผลักดันกระแสการไหลข้าวของการลงทุนโดยตรงของต่างประเทศ    ในที่ประชุมใหญ่ ครั้งที่VIII ของพักประชาชนปฏิวัติลาวในปี 2006 พักและรัฐบาลได้กล่าวไว้ในที่ประชุมบางตอนว่า เพื่อปฏิบัติทิดชี้นำในทิดทาง และหน้าที่ต้นตอ 5 ปีข้างหน้า( 2006 – 2010) ของรายงานการเมืองเกี่ยวกับการเพิ่มประสิทธิภาพของการคลุ้มครองมหาภาคของรัฐต่อเศรษฐกิจ ให้รับประกันไปถูกตามทิดสังคมนิยมนั้น ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจสังคม5 ปีข้างหน้าได้กำหนดมาตรการต้นตอคือ รัฐบาล บรรดากระทรวง แขนงการ ท้องถิ่นต้องได้มีความเป็นเอกภาพและตัดสินใจปฏิบัติบรรดาเปาหมาย หน้าที่ของแผนการพัฒนาเศรษฐกิจสังคม5 ปี2006 – 2010 ในระดับสูง สร้างทุกเงื่อนไข และสิ่งแวดล้อมอำนวยเพื่อระดมทุนจากพากส่วนเศรษฐกิจต่างๆให้ลงทุนเข้าใส่การผลิตสินค้าอย่างแข็งแรง ปรับปรุงสภาพแวดล้อมก่อสร้างและอบรมผู้ประกอบการให้มีความสามารถสูงในการดำเนินธุรกิจให้ดีขึ้น ยกสูงประสิทธิภาพการคลุ้มครองการลงทุน และนำใช้ทุนให้มีประสิทธิผลปรับปรุงกลไกลการระดมทุนและใช้ทุนช่วยเหลือล้าและกู้ยืมจากต่างประเทศให้มีประสิทธิผล ผลักดันส่งเสริมการส่งออก และเป็นเจ้าการในการเชื่อมโยงเศรษฐกิจกับพากพื้น และสากน ปฏิบัตินโยบายพัฒนาขงเขตสังคม และแก้ไขความทุกจนอย่างทั่วถึง    เพื่อทำให้การปฏิบัติบรรดามาตรการเหล่านั้นให้บรรลุผลสำเล็ด ต้องสุมใส่วางบรรดานโยบายแลกลไกลดั่งนี้    อันที่หนึ่ง เอาใจใส่แก้ไขให้ได้ ปัญหาสำคัญไปพ้อมๆกันคือ :  ผลักดันการเติบโตเศรษฐกิจที่ยืนยง สร้างให้มีความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น ไปควบคู่กับปฏิบัติเป้าหมายพัฒนาสังคม และการรักษาสิ่งแวดล้อมให้ยืนนาน หันเศรษฐกิจธรรมชาติให้ไปตามกลไกลตลาดที่มีการดัดสมอย่างสอดคล้องของรัฐ สร้างและปฏิบัติโครงการ เพื่อหันเป็นอุตสาหกรรมและทันสะมัยเพื่อสร้างให้มีงานทำและเพื่อรายได้ในสังคมให้มากขึ้น    อันที่สอง ปรับปรุงระบบการพัฒนาเศรษฐกิจตลาดไปตามทิดก้าวขึ้นสังคมนิยม โดยมีการชี้นำของพัก และการคลุ้มครองและส่งเสริมของรัฐ ซึ่งต้องสุมใส่ปฏิบัติบางเงื่อนไขดั่งนี้ : ปรับปรุงระเบียบกฎหมายต่างๆ ที่รับใช้แก่ระบบเศรษฐกิจตลาดอย่างเป็นระบบและคบชุด เอาใจใส่พัฒนาบรรดาตลาดที่สำคัญคือ: ขยายตลาดสินค้า และบริการ รับประกันให้แก่การแก้งแย้งแข่งขันตามกลไกลตลาด ตลาดอสังหาริมะทรัพย์ หันสิทธินำใช้ที่ดินให้เป็นสินค้า การค้าขายที่ถูกต้องตามกฎหมาย เพื่อให้กลายเป็นทุนขยายตลาดแรงงานบำรุงก่อสร้างและฝึกอบรมสีมือแรงงาน อำนวยสะดวกให้แก่การสหนองแรงงานตามความต้องการของตลาดแรงงานภายใน และอาดส่งออกจำนวนหนึ่ง    อันที่สาม เอาใจใส่เสริมขยายท่าแรงบรรดาพากส่วนต่างๆที่เข้าร่วมในเศรษฐกิจตลาด สืบต่อปรับปรุงกงจักคลุ้มครองบริหารของรัฐยกสูงคุณนะภาพในถันแถวเจ้าหน้าทีพะนักงานของรัฐไปพ้อมกับการปฏิบัติมาตรการต้านการทุจะลิดเคารับชัน หรือส่อลาดบังหลวง และประกฎการย่อท่อ ปรับปรุงวิสาหกิจให้แข็งแรง และสามารถกลุ้มตัวเองและเข้าร่วมการแข่งขันได้  สืบต่อพัฒนาเศรษฐกิจพากเอกชนและคลวาเรือนให้แข็งแรง เอาใจใส่วิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดเล็ก ส่งเสริมลงทุนต่างประเทศ    อันที่สี่ สืบต่อระดมทุนจากภายใน และต่างประเทศลงทุนการพัฒนาขงเขตสังคม และแก้ไขความทุกจนโดยสร้างเป็นโครงการระดับชาติ มีกงจักชี้นำเฉพาะและมีการติดตามประเมินผลอย่างเป็นปกกระติ [2]    

1.1. ความรับรู้เกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการลงทุนต่างประเทศของ ส ป ป ลาว        ด้วยเห็นความสำคัญของการลงทุนต่างประเทศ ที่นำเอาเงินทุนเข้ามาเพื่อเป็นเงินทุนในการสร้างสาพัฒนาประเทศชาติ เพื่อทำให้การลงทุนของต่างประเทศ ก็คือทำให้เศรษฐกิจตลาดเป็นไปด้วยดีมันจำเป็นต้องมีระเบียบอันแน่นอนระหว่างผู้ที่จะมาร่วมก็คือ การเคลื่อนไหวดำเนินธุรกิจ ทั้งเป็นการปฏิบัติพันธกรณี และความรับผิดชอบอื่นๆต่อกับระเบียบกฎหมายของ ส ป ป ลาว           กฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการ และการคลุ้มครองการลงทุนต่างประเทศของ ส ป ป ลาวฉบับลงวันที่ 22 ตุลาคม 2004 ประกอบด้วย 5 หมวด และมี 32 มาตรา ซึ่งมีรายระเอียดดั่งนี้:     - หมวดที่ 1: ว่าด้วยบทบัญญัติทั่วไป รวมมี 4 มาตรา(มาตรา1 -  4 ) ได้กล่าวถึงความรับทั่วไปเกี่ยวกับการลงทุนต่างประเทศ และความอาดสามารถในการเข้ามาลงทุนอยู่ใน ส ป ป ลาว พ้อมทั้งสิทธิ และผลประโยชน์ที่จะได้รับในเมื่อตอนที่ทำการลงทุน    - หมวดที่ 2: ว่าด้วยรูปการลงทุนของต่างประเทศรวมมี 7 มาตรา (มาตรา5 - 11 ) ได้กล่าวถึงรูปการ และการอยุญาติการลงทุน    - หมวดที่3: ว่าด้วยสิทธิ ผลประโยชน์และพันธกรณีของผู้ลงทุนของต่างประเทศรวมมี 3 มาตรา (มาตรา12 - 14 )     - หมวดที่ 4: ว่าด้วยนโยบายส่งเสริมการลงทุนของต่างประเทศรวมมี 4 มาตรา (มาตรา13 - 18 ) ได้กล่าวถึงนโยบายการส่งเสริมกิจะการของแขนงการที่ได้รับการส่งเสริม ขอบเขตและนะโยบายด้านภาษีสุกากร    - หมวดที่ 5: ว่าด้วยการขอยุญาติลงทุนต่างประเทศรวมมี 2 มาตรา (มาตรา19 - 20 )ได้กล่าวถึงการยื่นคำร้องขออยุญาติ และการพิจารณาคำร้องขอลงทุน    - หมวดที่ 6: ว่าด้วยการคลุ้มครองการส่งเสริมการลงทุนลงทุนของต่างประเทศรวมมี 4 มาตรา (มาตรา21 - 24 )     - หมวดที่ 7: ว่าด้วยการระงับข้อผิดพาทรวมมี 3 มาตรา (มาตรา25 - 27 )     - หมวดที่ 8: ว่าด้วยนโยบายต่อบุคคลที่มีผลงาน และมาตรการต่อผู้ละเมิดรวมมี 3 มาตรา (มาตรา28 - 30 )     - หมวดที่ 9: ว่าด้วยว่าด้วยบทบัญญัติสุดท้ายรวมมี 2 มาตรา (มาตรา30 - 32 ) ได้กล่าวถึงผลสักสิดในเมื่อเวลาที่มีการประกฎการนำใช้กฎหมายฉบับนี้แล้ว[3]    แต่ระมาตราได้กำหนดระเอียดบรรดารูปการเคลื่อนไหว การดำเนินธุรกิจการลงทุนซึ่งในกฎหมายฉบับนี้ได้พัวพันธ์กับหลายๆพากส่วน และพัวพันธ์กับกฎหมายต่างๆที่พัวพันกับการลงทุนของต่างประเทศซึ่งแต่ระกฎหมายจะมีความสัมพันธ์กันทางด้านการรับประกันความเสมอพาก และคลุ้มครองผู้ลงทุนและบรรดาวิชาการ กำมกรผู้ออกแรงงานที่ทำงานรับใช้แก่นักธุรกิจในหลายๆรูปการ   

 1.2. ความหมายของการลงทุนของต่างประเทศอยู่ ส ป ป ลาว        การลงทุนต่างประเทศหมายถึงการนำเอาทรัพย์สินมาดำเนินการผลิตธุรกิจเพื่อผลกำไล ซึ่งจะเป็นวิทีลงทุนด้วยเงิน ด้วยทรัพย์สิน เพื่อดำเนินการผลิตธุรกิจ และการบริการต่างๆ ทาดแท้ก็แม่นเพื่อวัตถุประสงค์หากำไล และจุดหมายทางด้านเศรษฐกิจ-สังคมอันแน่นอน การลงทุนของต่างประเทศ จะเป็นบุคคล หรือ นิติบุคคลก็ได้อยู่ใน ส ป ป ลาว รัฐบาลอานุญาติให้ผู้ลงทุนต่างประเทศ สามารถลงทุนดำเนินธุรกิจได้ทุกแขนงการเศรษฐกิจเป็นต้นแขนงกรสิกำ-ป่าไม้ อุตสาหกรรมปรุงแต่ง พลังงานไฟฟ้า ขุดค้นบ่อแร่ หัดถะกรรม โทรมนาคมขนส่ง ก่อสร้าง การท้องเที่ยว การค้า การบริการและอื่นๆ ยกเว้นแต่ในบรรดากิจการที่แตะต้องถึงความสงบของชาติ หรือเป็นภัยต่อสพาบแวดล้อม ธรรมชาติ ต่อสุขภาพ วัฒนาธรรมของชาติ หรือ ผิดต่อระเบียบกฎหมายของ ส ป ป ลาว   

1.3. ความสำคัญของการลงทุนต่างประเทศอยู่ ส ป ป ลาว        ในปัจจุบันนี้ขบวนวิวัดแห่งการพัวพันธ์ทางด้านชีวิตเศรษฐกิจ-สังคมของบรรดาประเทศในพากพื้นก็คือในโลกได้มีลักษณะสากลนับมื้อนับขยายตัวอย่างไววา และกว้างขวาง อาดเว้าได้ว่า หลังจากสงครามเยนสิ้นสุดลง ขบวนการดั่งกล่าวได้นับมื้อเจรินเติบโต ทำให้ระบบเศรษฐกิจในขงเขตก็คือในเวทีสากล กลายเป็นเศรษฐกิจแบบรวมกลุ่ม เดินตามเศรษฐกิจตลาด หมายว่า เศรษฐกิจหลายพากส่วนตามกลไกตลาด ซึ่งแสดงออกคือ ในปัจจุบันนี้บรรดาประเทศได้สมัคใจเข้าร่วมองค์การค้าสากล( WTO ) ยอมรับเอาการลงทุน และการค้าเสรี ถึงว่าบรรดาประเทศดั่งกล่าว จะมีความแตกต่างทางด้านความรู้ความสามารถด้านการผลิต เทคนิควิทยาสาสตร์ และเงื่อนไขอื่นๆก็ตามเพราะแต่ระประเทศเห็นว่า ก้อนทุนที่ได้จากนักลงทุนต่างประเทศ มันเปรียบเหมือน ดั่งสินค้าชนิดพิเศษ ที่สามารถประกอบส่วนทำให้ประเทศที่ได้รับเอาการลงทุนนั้นได้ขยายตัวทางเศรษฐกิจ           แนวโน้มที่บรรดาประเทศในโลกกำลังเปิดกว้างความร่วมมือและสายสัมพันธ์กันทางด้านเศรษฐกิจ ประเทศที่กำลังพัฒนา ก็มีความหวังอยากเปิดกว้างและเข้าร่วมกลุ่มเศรษฐกิจในขงเขตก็คือเวทีสากลคือกัน แต่บรรดาประเทศที่กำลังพัฒนานี้ยังมีความยุ้งยากทางด้านทุน เทคนิคการผลิต การตลาด แต่ย้อนมีการเปิดกว้างการลงทุน โดยตรงจากต่างประเทศอยู่ในประเทศที่กำลังพัฒนาเว้าเฉพาะคือ ส ป ป ลาวแม่นมีบทบาทที่สำคัญที่สุด    เศรษฐกิจของประเทศลาวมีการขยายตัวช้า ประสิทธิภาพของงานต่ำรายรับแห่งชาติยังไม่สูง การสสมทุนภายในต่ำ ไม่สามารถตอบสนองกับแนวทางเศรษฐกิจที่วางออกได้ เพราะฉะนั้นแหล่งทุนที่นำเข้ามาจากต่างประเทศ จึ่งมีบทบาทที่สำคัญที่สุดในการผลักดันการขยายเศรษฐกิจ ก็คือปรับปรุงแขนงอุตสาหกรรมให้ทันสมัย ฉะนั้นการดึงดูดเอาการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศมีบทบาทสำคัญยิ่ง ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ-สังคมของประเทศ เพราะเป็นการสมทบกับท่าแรงภายนอก ไม่ว่าทางด้านทุน ก็คือการแลกเปลี่ยนความรู้เทคนิควิทยาศาสตร์เป็นสิ่งที่พึ่งปรารถนาของทุกประเทศ นอกนั้นการลงทุนของต่างประเทศได้ประกอบส่วนอย่างตั้งหน้าเข้าในพาระกิจเปลี่ยนแปลงใหม่ ระบบเศรษฐกิจการหันเป็นอุตสาหกรรมและทันสมัยที่ระก้าวให้มีผลเสยน้อยที่สุด

2. รูปการลงทุนต่างประเทศอยู่ ส ป ป ลาว       ผู้ลงทุนต่างประเทศสามารถลงอยู่ ส ป ป ลาวได้ด้วยสองรูปแบบคือ  ก. วิสาหกิจลงทุนต่างประเทศฝ่ายเดียว 100%   ข. วิสาหกิจประสมและผู้ลงทุนต่างประเทศและผู้ลงทุนภายใน[4]        ผู้ลงทุนต่างประเทศสามารถสร้างตั้งรูปแบบวิสาหกิจการลงทุนต่างประเทศได้โดยสอดคล้องกับกฎหมายว่าด้วยธุรกิจคือ  บริษัทหุ้นส่วน  บริษัทมหาชน   บริษัทจำกัด[5]   

 2.1. วิสาหกิจประสมระหว่างผู้ลงทุนต่างประเทศกับผู้ลงทุนภายในประเทศ        วิสาหกิจประสมเป็นวิสาหกิจที่สร้างตั้ง ขึ้นทะเบียนตามระเบียบกฎมายของ ส ป ป ลาว ซึ่งมีการดำเนินธุรกิจ และเป็นกรรมมะสิทธิร่วมระหว่างผู้ลงทุนต่างประเทศและผู้ลงทุนภายใน การจัดตั้งการคลุ้มครอง การเคลื่อนไหว และความสัมพันธ์ระหว่างผู้ร่วมลงทุนในวิสาหกิจประสม ถูกกำหนดด้วยสัญญาระหว่างสองฝ่าย และระเบียบของวิสาหกิจประสม        สำรับผู้ลงทุนต่างประเทศที่ลงทุนในวิสาหกิจประสมนี้ ต้องประกอบทุนอย่างน้อยไม่ให้หลุด สามสิบส่วนร้อย( 30% ) ของทุนจดทะเบียน[6]    

2.2. วิสาหกิจลงทุนต่างประเทศร้อยส่วนร้อย (100%)        วิสาหกิจลงทุนต่างประเทศร้อยส่วนร้อย (100%) เป็นวิสาหกิจของต่างประเทศที่ลงทุนแต่ฝ่ายเดียว ซึ่งสร้างตั้งอยู่ ส ป ป ลาว การสร้างตั้งวิสาหกิจอาดสร้างตั้งเป็นนิติบุคคลใหม่ หรือ เป็นสาขาของวิสาหกิจต่างประเทศ  

หมายเลขบันทึก: 64318เขียนเมื่อ 30 พฤศจิกายน 2006 10:09 น. ()แก้ไขเมื่อ 21 พฤษภาคม 2012 10:40 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท