การจัดการระบบการแพทย์และสาธารณสุขในสถานการณ์ความไม่สงบในจังหวัดยะลา


สรรพงษ์ ฤทธิ์รักษา

- วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสถานการณ์บาดเจ็บและเสียชีวิตของผู้ป่วยที่เกิดจากสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดยะลา โดยหาความสัมพันธ์กับปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
- ศึกษาเครื่องมือระบบเตือนภัยด้านสาธารณสุข , การจัดระบบการแพทย์และสาธารณสุขในช่วงระยะเกิดภัย หลังเกิดภัย ออกแบบระบบการจัดการการแพทย์และสาธารณสุขให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในพื้นที่

- พบว่า กลุ่มอายุที่มีผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตมากที่สุด คือกลุ่มอายุ 41-50 ปี กลุ่มผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตเป็นประชาชนมากที่สุด
ลักษณะเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นมากที่สุด คือ โดนยิงด้วยอาวุธปืน
- ช่วงเวลาที่เหตุการณ์เกิดขึ้นมากที่สุด คือ ช่วงเวลา 18.01
21.00 น. ร้อยละ 35.59

-การจัดแผนอุบัติภัยหมู่ ต้องให้มีความครอบคลุมในด้านการรักษาพยาบาล, การส่งต่อผู้ป่วย การสื่อสาร การอำนวยการ และสิ่งที่สำคัญที่สุด คือ การกำหนดผู้สั่งการในสถานการณ์ภาวะฉุกเฉิน
Emergency Incident Commander (EIC)

 

 

 

 

จาก บทคัดย่อผลงานวิชาการนำเสนอ

ในการประชุมวิชาการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปี ๒๕๔๙

วันที่ ๔-๖ กันยายน ๒๕๔๙ ณ โรงแรมปรินซ์ พาเลซ กรุงเทพมหานคร

หมายเลขบันทึก: 63705เขียนเมื่อ 27 พฤศจิกายน 2006 22:47 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2012 16:31 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท