การปลูกฝังความมั่นคงด้วยการจัดการความรู้และพัฒนาเทคโนโลยี


Inter-firm Knowledge Management and Technology Development in Radical Innovation

การปลูกฝังความมั่นคงด้วยการจัดการความรู้และพัฒนาเทคโนโลยีในรากฐานสิ่งประดิษฐ์

บทความของ Lois S. PeterLally School of Management and Technology, Rensselaer Polytechnic Institute, Troy, NY 12180-3590, USA

Abstract

The results of the Rensselaer Radical Innovation Project (USA) show that the development of new businesses and product lines based on discontinuous, or radical innovation-which is critical for renewal of the firm's competitive position-requires management practices that differ from those required in incremental innovation. Effective knowledge management is critical to discontinuous innovation success. All firms in the Project employ a variety of strategic alliances. Knowledge management studies suggest that inter-firm strategic alliances enhance corporate innovative capability through flow of knowledge across companies. Due to the increasing significance of inter-firm collaborative networks and the importance of technological insight to radical innovation, there is a need for further understanding of the relationship between knowledge management and technology development at the inter-firm level. Prior research has neglected to compare differences and similarities in internal knowledge management with interfirm knowledge management according to type of innovation

บทความแปล

ผลของ RRIP project แสดงถึงการพัฒนาธุรกิจใหม่ และรากฐานของผลิตภัณฑ์บนความไม่สม่ำเสมอหรือรากฐานของสิ่งใหม่ อันซึ่ง เป็นจุดวิกฤตสำหรับการเริ่มต้นใหม่ของฐานะความมั่นคงในการแข่งขัน ซึ่งต้องการการจัดการฝึกหัดที่แตกต่างจากการความต้องการในการเพิ่มพูนสิ่งประดิษฐ์หรือวิธีการใหม่ๆ ประสิทธิภาพของการจัดการความรู้ คือ จุดวิกฤตที่จะนำไปสู่ความไม่ต่อเนื่องของความสำเร็จในการประดิษฐ์ บริษัททั้งหมดใน RRIP ใช้ความหลากหลายของปัจจัยการผูกมิตร

การจัดการความรู้นั้นเป็นยุทธศาสตร์เพื่อเพิ่มพูนความรู้ และการส่งต่อความรู้ในองค์กร เพราะว่าความเจริญขึ้นของบริษัทนั้นมาจากการขยายเครือข่ายหรือสาขา และความสำคัญของเทคโนโลยี ในการเข้าถึงสิ่งประดิษฐ์มูลฐาน (RI) มีความจำเป็นสำหรับอนาคตซึ่งความเข้าใจในความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการความรู้และการพัฒนาเทคโนโลยีที่ระดับ inter – firm นั้นงานวิจัยก่อนๆมักจะละเลยในการเปรียบเทียบความแตกต่างและความคล้ายคลึงของการจัดการความรู้ภายในด้วยการจัดการตามประเภทสิ่งประดิษฐ์

RRIP คือ สี่ปีแห่งความต่อเนื่องที่ไม่หยุดยั้งในการเรียนรู้เกี่ยวกับข้อเท็จจริงในการเลิกล้มสิ่งประดิษฐ์ที่ทำร้ายภาพพจน์ของเทคโนโลยี ในปัจจุบัน ซึ่งที่ใช้กันในปัจจุบันมีสิบบริษัทและเก้าสิบการตอบรับในการพัฒนาเครื่องมือการสำรวจซึ่งทำงานร่วมกับสถาบันวิจัยอุตสาหกรรม(IRI) การค้นหารายงานที่นี่จะดึงมาจาก RRIP multiple case study และการไปสำรวจ

การพัฒนาองค์ความรู้ในองค์กรเป็นสิ่งที่สำคัญมากกว่าเครือข่ายความรู้ภายนอกองค์กร ซึ่งเมื่อดูจากความสัมพันธ์แล้วการสร้างรูปแบบธุรกิจที่เน้นการค้านั้นจะสัมพันธ์กับการฝึกหัดการจัดการความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อมูล เครือข่ายของเทคโนโลยีกำลังล้อมรอบผลิตภัณฑ์ใหม่ ซึ่งรูปแบบแนวคิดนี้แสดงให้เห็นว่าระบบขององค์กรมีความซับซ้อน และไม่มีการหยุดยั้งการพัฒนาโครงสร้างขององค์กรที่เป็นลักษณะRI ซึ่งมีลักษณะเด่นที่ได้รับการยอมรับจากตลาดเทคโนโลยีใหม่ๆ

ที่มา : http://ieeexplore.ieee.org/iel5/6378/17495/00807816.pdf?tp=&arnumber=807816&isnumber=17495

คำสำคัญ (Tags): #แปลบทความ
หมายเลขบันทึก: 62549เขียนเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2006 22:44 น. ()แก้ไขเมื่อ 15 เมษายน 2012 01:34 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท