ต่อ แนวทางนโยบายชองสปปลาวทางด้านเศรษฐกิจต่อต่างประเทศโดยผ่านทางการทูต


                             - ความสัมพันธ์ร่วมมือทางด้านการเงิน-การธนาคาร#. สถิติการลงทุนของต่างชาติในลาว                        นับจากปี  2531  จนถึงเดือนมกราคม  2548  มีโครงการจากต่างชาติที่ได้รับอะนุญาติให้มาลงทุนในลาว  รวมทั้งหมด  1,246  โครงการ  มีมูลค่าการลงทุน  5,397.8  ล้านเหรียญสหรัฐ  ในจำนวนนี้  ไทยเป็นประเทศที่เข้ามาลงทุนในลาวมากที่สุด  เป็นจำนวน  331  โครงการ  มีมูลค่าการลงทุน  2,277.7  ล้านเหรียญสหรัฐ  หรือประมาณร้อยละ  42.19 ของมูลค่าการลงทุนทั้งหมด ประเทศที่มีมูลค่าการลงทุนในลาวลำดับรองลงมา  ได้แก่  สหรัฐอเมริกา,  มาเลเซีย,  ผรั่งเศษ,  จีน,  เวียดนาม,  เกาหลี,  นอร์เวย์,  ไต้หวัน,  นิวซีแลนด์,  ออสเตรเลีย,  รัสเซีย,  อังกฤษ  และ  ญี่ปุ่น  แต่เป็นที่น่าสังเกตว่า  ในระยะ  2-3  ปีที่ผ่านมา   ทางจีน  เวียดนาม  และเกาหลี  มีแนวโน้มที่จะขยายการลงทุนใน ส ป ป ลาวมากขึ้น       สำหรับสาขาที่ลาวได้รับเงินลงทุนจากต่างชาติมากที่สุด  คือ  การผลิตพลังงานไฟฟ้า  มีมูลค่า  2,274.3  ล้านเหรียญสหรัฐ  คิดเป็นร้อยละ  42.13  ของมูลค่าการลงทุนทั้งหมด  รองลงมาได้แก่  โทรคมนาคม,  โรงแรม-ร้านอาหาร,  อุตสาหกรรม-หัตถกรรม,  ภาคบริการ,  อุตสาหกรรมไม้,  การเกษตร,  การก่อสร้าง,  เหมืองแร่,  การค้า, ธนาคาร  และ  สิ่งทอ  ตามลำดับ      การลงทุนของไทยใน ส ป ป ลาว  สาขาที่มีการลงทุนมาก  ได้แก่  พลังงานไฟฟ้า,  โทรคมนาคม,  ธุรกิจโรงแรมและการท่องเที่ยว,  อุตสาหกรรม-หัตถกรรม,  ธนาคาร,  เสื้อผ้าสำเร็จรูป,  การเกษตรและการเกษตรแปรรูป,  ตัวแทนการค้า,  การก่อสร้าง  และ  เหมืองแร่                  เฉพาะในปี  2547  การลงทุนของต่างชาติใน ส ป ป ลาว  มีมูลค่าทั้งสิ้น  544.4  ล้านเหรียญสหรัฐ   ปรากฏว่าประเทศออสเตรเลียเข้ามาลงทุนเป็นอันดับ  1  มีมูลค่าการลงทุน  300.7  ล้านเหรียญสหรัฐ,  ไทย  57.6  ล้านเหรียญสหรัฐ,  เวียดนาม  43.1  ล้านเหรียญสหรัฐ,  สวิซเซอร์แลนด์  30.0  ล้านหรียญสหรัฐ  และเกาหลี  13.8  ล้านเหรียญสหรัฐ  เป็นต้น       2.6. การเชื่อมตัวเข้าระบบเศรษฐกิจ-การค้าโลก (  W T O )           สาธารณะรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชนลาวได้ยื่นคำร้องขอเข้าเป็นสมาชิกขององค์การการค้าโลกWTO (World Trade organisation ) ในวันที่ 31 กรกฤาคม 1997 องค์การการค้าโลกได้รับเอาสาธารณะรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชนลาว เข้าเป็นผู้สังเกตการอย่างเป็นทางการในเดือน กุมภาพันธ์ ปี 1998 และคาดว่าสาธารณะรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชนลาว จะเข้าเป็นสมาชิกในเวลาเร็วๆนี้  วัตถุประสงค์การเข้าเป็นสมาชิก WTO ของ ส ป ป ลาว
                - สร้างความสงบ และความมั่นคง
                - เพิ่มอำนาจต่อรองในการเจรจา
                - ค้นหาการโอกาสสำหลับการส่งออกหรือโอกาสเข้าสู่ตลาดต่างประเทศ
                - เพื่อการดึงดูดเอาการลงทุนจากต่างประเทศ
               - กระตุ้นให้หัวหน่วยธุรกิจภายในมีการพัฒนา
               - หลีกเลี้ยงมาตรการด้านเศรษฐกิจฝ่ายเดียว
               - สามารถนำใช้ระบบกนไกลการแก้ไขระงับข้อพิพาท และอื่นๆ
        สาธารณะรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชนลาวจะได้รับผลประโยชน์จากเข้าเป็นสมาชิก โดยเฉพาะมีโอกาสส่งออกหลายขึ้น ดึงดูดเอาการลงทุนของต่างประเทศ และก็ไม่ถูกอยู่โดดเดี่ยว หรือ ไม่ถูกมาตรการฝ่ายเดียวจากคู่ค้าที่มีเศรษฐกิจใหญ่กว่า นอกจากนี้การปรับปรุงกฎระเบียบการค้าให้ชัดแจ้งกะทัดรัด และเป็นทำที่สุดจะเป็นการปกป้องผลประโยชน์แก่ประเทศที่มีเศรษฐกิจขนาดเล็กเซ่น: สาธารณะรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชนลาว เพื่อหลิกเลี้ยงจากการเอารัดเอาเปรียบกันแต่ ในเวลาเดียวกันนั้น การเข้าเป็นสมาชิกจะเป็นผลให้แก่สาธารณะรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชนลาวต้องมีพันธะกรณีที่จะต้องปฏิบัติกฎระเบียบขององค์การการค้าโลกในนั้นสาธารณะรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชนลาวจะต้องได้ปรับปรุงด้านกฎระเบียบของตนให้สอดคล้องกับระเบียบของสากน.            บทที่3.บทเรียนที่ถอดถอนได้       3.1. ด้านดี           สร้างให้พัก รัฐสามารถกำหนดได้แนวทางการต่างประเทศ แห่งยุคสะมัย เพื่อค้นคว้าให้ที่ถ้วน นำมาเป็นปัญหาพื้นถานอยู่ในการกำหนดแนวทางนโยบาย กำหนดยุทธศาสตร์ (กนระยุด) ยุดโทบายในแต่ระดับของความสัมพันธ์ และแผนการเคลื่อนไหวต่างประเทศในแต่ละไรยะ ซึ่งการต่างประเทศของสาธารณะรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชนลาวได้มีกนไกลเปิดกว้างความสัมพันธ์ร่วมมือกับต่างประเทศเพื่อสร้างเงื่อนไขอำนวยเพิ่มท่าแรงภายในขึ้นเพื่อนำเอาผลประโยชน์มาให้ประเทศชาติตามหลักเกณฑ์รับประกันความเป็นเอกลาด อธิปไตยของชาติต่างฝ่าย ต่างมีผลประโยชน์ เพื่อทำให้หกหลักเกณฑ์แห่งการเปลี่ยนแปลงใหม่ของพักได้ปฏิบัติตามทิดที่วางไว้ ซึ่งพักได้วางแนวทางการต่างประเทศเอาไว้ภายหลังได้สะถาปานาเป็นสาธารณะรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชนลาวสันติภาพ เอกภาพ มิตรภาพ และความร่วมมือซึ่งเป็นแนวทางที่ถูกต้อง และ ยึดถือปฏิบัติอย่างเสมอต้นเสมอปลาย            การต่างประเทศได้ดำเนินไปทั่วแขนงการนับตั้งแต่ขั้นสูนกลางลงถึงท้องถิ่น ซึ่งมีการเคลื่อนไหวที่แตกต่างกัน มีกระทรวงการต่างประเทศ และคณะสัมพันธ์ต่างประเทศสูนกลางพักเป็นผู้ชี้นำรวมด้านมะหาพาก ด้านรัฐ ด้านพัก และองค์การจัดตั้งมะหาชน ขั้นท้องถิ่นแม่นคณะความสัมพันธ์ประจำอยู่จังหวัดเป็นผู้จัดตั้งปฏิบัติ          การเคลื่อนไหวการต่างประเทศมีอยู่สองด้านเป็นน้าที่ของปวงชน: ด้านภายในประเทศและภายนอก ด้านภายในการทูตในการเคลื่อนไหวโคสะนาเปิดกว้างสร้างเสถียรภาพทางการเมือง  ทำให้พื้นถานการดำลงชีวิตของประชาชนบรรดาเผ่ามีความสงบปลอดภัย สร้างระบบของบรรดาสถาบันสังคม องค์การจัดตั้งสังคมต่างๆ และประชาชนบรรดาเผ่า รักษาได้มูลเชื้อประวัดศาสตร์ วัฒนธรรมที่เป็นเอกะลักของชาติ และความเจรินเข้มแข็งทางด้านเศรษฐกิจ ภายนอกหมายถึงการจัดตั้งแนวทางนโยบายของประเทศไปเคลื่อนไหวให้สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน ซึ่งมันได้เป็นน้าที่ของนักการทูตที่จะต้องออกแรงเคลื่อนไหวเพื่อสร้างการะโอกาส และเงื่อนไขให้ประเทศชาติของตนมีบทบาทในสากนขึ้นเป็นก้าวๆ เพื่อเน้นใส่แผนพัฒนาเศรษฐกิจสังคมของพัก-รัฐก่อคือวัฒนธรรมของชาติให้ได้ไปเผยแผ่สร้างให้เขาเจ้าเข้าอกเข้าใจกับต่างประเทศเพื่อยาดแย่งเอาการสนับสนุนและความช่วยเหลือต่างๆ      3.2. สาเหตุที่ทำให้มีข้อดี                    - ย้อนพัก-รัฐได้มีแนวทางอันถูกต้องในการชี้นำ นำพาในการกำหนดแนวทางการต่างประเทศได้อย่างถูกต้องกับการะโอกาสของยุคสมัย                   - ย้อนความสามารถกล้าตัดสินใจชี้นำของพักประชาชนปฏิวัติลาวในพาระกิจการเปลี่ยนแปลงใหม่ และวางกนระยุดการพัฒนาสร้างสาประเทศชาติโดยติดพันกับความสัมพันธ์กับต่างประเทศ โดยเน้นการเคลื่อนไหวทางการทูตเป็นจุดสำคัญที่เป็นพาระ และเป็นตัวแทนให้แก่ประเทศ และประชาชน                   - ย้อนการเคลื่อนไหวของพักกับสากน เพื่อเพิ่มเติมกำรังแรงของชาติ ปฏิบัติน้าที่ปกปักรักษา และสร้างสาพัฒนา ปฏิบัติได้พันธะสากนเพื่อร่วมกันต่อสู้เพื่อสันติภาพ เอกลาดแห่งชาติ ประชาธิปไตย                    - ย้อนการประกอบส่วนของเจ้าน้าที่พะนักงาน และ ประชาชนในแต่ละท้องถิ่น และการชัพช้อนเจ้าน้าที่ที่มีความรู้ ความสามารถมีแนวคิดลักม่นดีเข้าในแต่ละขงเขตการงานการต่างประเทศ     3.3. ด้านคงค้าง                 จากด้านดี และบทเรียนที่ถอดถอนได้ดั่งกล่าว การต่างประเทศยังมีข้อบกผลรองจำนวนนึ่ง ที่มันได้จำผลสำเล็ดของความสัมพันธ์การต่างประเทศนั้นคือการเคลื่อนไหวทางการทูตของพวกเรายังไม่เป็นเจ้ากาน การสร้างเป็นโครงการอันระเอียดเพื่อยาดแย่งเอาความช่วยเหลือจากต่างประเทศ ไม่ได้ประสารสมทบกันอย่างดีเพื่อค้นคว้าวิจัยถึงความสัมพันธ์ดั่งกล่าวเช่น: กลองประชุมสุดยอดอาเชี่ยน และกลองประชุมระดับรัดถะมนตรีอาเชี่ยนหลายแขนงการได้มีมะติว่า: อาเชี่ยนเก่าต้องช่วยอาเชี่ยนใหม่ เพื่อทำให้ประเทศสมาชิกเก่า และใหม่ ยับเข้ากันซึ่งมันได้ยั้งยืนว่า: เรายังทำไม่ได้หมด และยังไม่ทันมีวิทีการที่ละเอียดเพื่อร่วมมือกันเข้า และยังมีในหลายด้านที่พวกเรายังขาดๆเขินๆ                 - แผนวิทีการทำงานยังไม่ได้รับการปรับปรุงให้มันสามารถตอบสนองกับความเรียกร้องต้องการในการขยายตัวของสังคม และการนำใช้ท่าแรงเปิดกว้างความร่วมมือกับต่างประเทศให้มีประสิทธิผล ขาดการความเอาใจใส่ในการปฏิบัติความร่วมมือ ขาดโครงล่างในการกระเกรียม เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจกับต่างประเทศ วิทีการทำงานยังล่าช้า แก่ยาว ความสัมพันธ์กับต่างประเทศยังไม่ได้คำนึงอย่างเพียงพอระว่างพันธกรณี และผลประโยชน์ระว่างความสามารถ และข้อจำกัด       3.4. สาเหตุที่ทำให้มีข้อคงค้าง                  ย้อนการเคลื่อนไหวในโลกนี้มีอันขัดขวางหลวงหลายมีทุกรูปแบบ และวิชาชีพระเอียดการเคลื่อนไหวบางอย่างก็อยู่ในขอบเขตของประเทศนึ่งๆบางอย่างก็ไม่มีขอบเขตด้วยเหตุนี้ความสัมพันธ์ของเรากับพากพื้นสากนจึ่งทำให้การเคลื่อนไหวนั้นไม่สอดคล้องกับการพัฒนาเศรษฐกิจ-สังคม                  มีการเคลื่อนไหวขององค์การสานาหรือกลุ่มสานาจำนวนนึ่งที่ทีการเคลื่อนไหวโดยไม่สอดคล้องกับแนวทางนโยบายทางการเมืองและระเบียบกฎหมาย ซึ่งถือเอาการเคลื่อนไหวทางสานาเป็นสากบังน้า เมื่อเป็นเช่นนั้นจึ่งทำให้สาธารณะรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชนลาวตกอยู่ในท่ารับในหลายกรณี ซึ่งมันได้แฉดงออกอยู่ที่ว่า เมื่อเราได้เข้าร่วมองค์การสากนใดนึ่งแล้ว ต้องได้ประกอบพันธกรณีเข้าร่วมเคลื่อนไหวแต่ในพากตัวจริงเรายังทำไม่ได้ย้อนขาดงบประมาณ และด้านอื่นๆ                 ผ่านมายังมีเจ้าน้าที่พะนักงานจำนวนนึ่งยังไม่มีสะติสมทบการเคลื่อนไหว การต่างประเทศกับการป้องกันชาติ-ป้องกันความสะงบ ยังไม่มีสะติระวังตัว และยังไม่เข้าใจอย่างชัดแจ้งต่อกนอุบาย ของพวกอิทธิกำลังปอระปัก และยังไม่ทันรับรู้อันจำเป็นเกี่ยวกับหลักเกณฑ์ต่างประเทศเช่น: เจ้าน้าจำนวนนึ่งในเวลายาดแย่งความช่วยเหลือจากต่างประเทศ พัดไปแต่แง่ลายได้ ไม่มีสติเพียงพอต่อการช่วยเหลือนั้นจะมีผลร้ายอย่างใดตามมา เมื่อมีปัญหาเกิดขึ้นพัดไม่มีความรอบครอบในการใช้มาตรการตอบโต้ ได้พาให้มีช่องว่างให้พวกฝ่ายกงกันข้ามโจมตี ใส่ร้ายป้ายสีสร้างความกดดันต่างๆนาๆ เป็นต้นโครงการNGO จำนวนนึ่ง                 กงจักการจัดตั้ง และการประกอบเจ้าน้าที่รับผิดชอบโดยกงกับงานการต่างประเทศ โดยเฉพาะเป็นเจ้าน้าที่การทูตยังขาดด้านงบประมาณ และคุณภาพ เพราะปัจจุบันการเคลื่อนไหวต่างประเทศมันได้รวมไปถึงทุกแขนงการแต่สูนกลางลงไปถึงท้องถิ่น แต่กงจักด้านนี้ยังไม่ทันได้ปรับปรุงอย่างทันการ พาระบทบาท สิทธ์ และน้าที่ตลอดถึงสายใยการจัดตั้งสายขวางยังไม่ได้กำหนดอย่างชัดแจ้ง ซึ่งเป็นอุปสรรคสร้างผลกระทบโดยตรง และทางอ้อมถึงการตอบสนองด้านวิชาการ การคลุ้มครองรวมสูนด้านนโยบาย                 ประสิทธิภาพการเคลื่อนไหวการต่างประเทศของเจ้าน้าที่จำนวนนึ่งยังไม่ทันสูง โดยเฉพาะเจ้าน้าที่ทางการทูตมีความรู้วิชาเฉพาะด้านการทูตแบบรวมๆ ยังไม่เข้าใจอย่างชัดแจ้ง เกี่ยวกับแนวทางนโยบายของพัก-รัฐ ไม่ทันกำได้สภาพความเป็นจริงทางด้านเศรษฐกิจ-สังคมของประเทศตน ไม่ทันเก็บกำพื้นถานข้อมูนต่างๆที่เป็นท่าแรงของชาติในการพัฒนาเศรษฐกิจ       3.5. แนวทางแก้ไข                      - เอาใจใส่สร้าง และศึกษาแนวความคิดแก่เจ้าน้าที่พะนักงานที่เกี่ยวข้องให้เข้าใจถึงแนวทางการเปลี่ยนแปลงใหม่ของพัก ระเบียบกฎหมายรวมถึงสิทธิและน้าที่ ของตนอย่างชัดแจ้ง        - ต้องเป็นเจ้าร่วมกันอย่างจริงจัง มีการกำหนดวางแนวนโยบายของโครงการให้ระเอียดชัดเจน การทำงานประสารสมทบกับทุกแขนงและทุกพากส่วนที่เกี่ยวข้องแต่สูนกลางลงถึงท้องถิ่น        - ปรับปรุงแบบแผนวิทีของการทำงานให้สอดคล้องกัน และให้เหมาะสมกับสะภาพการเปลี่ยนแปลงใหม่ของสังคม        - พวกเราต้องเอาใจใส่เพิ่มสะติระวังตัวต่อกับความสำพันธ์กับต่างประเทศ ให้สามารถจำแนกได้ระว่างมิด และสัดตูสร้างสัดตูให้กลายเป็นมิดต่อกัน      - เอาใจใส่ปรับปรุงระบบการจัดตั้ง และประกอบเจ้าน้าที่พะนักงานให้เหมาะสมกับระดัดความรู้ ความสมารถ และวิชาเฉพาะที่เขาเจ้าได้เรียนมา และอื่นๆที่เห็นว่ามีความจำเป็น  บทที่4สรุป        การทูตเป็นหัวใจสำคัญ ในการดำเนินงานความสำพันธ์กับต่างประเทศมันเป็นงานที่ปิ่นอ้อม และรับใช้สองน้าที่ยุทธศาสตร์ของประเทศ อยู่ในต่อน้าสะภาพการของโลกที่มีการผันเปลี่ยนอย่างสับสน มันจึ่งเรียกร้องให้มีแนวทางการต่างประเทศที่เมาะสม ถูกต้อง เพื่อต่อสู้ ยาดแย่ง ดึงดูดเอาความร่วมมือ ความช่วยเหลือด้านต่างๆจากต่างประเทศ โดยอิงใส่การะโอกาสของสากน การเคลื่อนไหวด้านการต่างประเทศในปัจจุบัน และในข้างน้าจะได้รับผลสำเร็จต้องได้อิงใส่ปัดใจ และเงื่อนไขเพื่อเปิดกว้าง        ปัดใจ แม่นเจ้าน้าที่พะนักงาน ประชาชนทุกคนต้องยึดถือ และกำได้ในแนวทางของพัก กำได้สะภาพการของโลกอย่างใกล้ชิด และระบบกฎหมายภายใน สากนให้ถูกต้องชัดแจ้ง        เงื่อนไข ต้องสร้างให้เจ้าน้าพะนักงาน(บุกคระกร) ที่มีคุณนะภาพ มีมาตรถานที่แน่นอนประกอบเข้าใส่น้าที่กานงานต่างๆ ต้องมีงบประมาณ มีอุประกรสนองที่จำเป็นโดยประสารกับท่าแรงของชาติในปัจจุบัน        ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจของสาธารณะรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชนลาวกับต่างประเทศนั้นแม่นเป้าหมายการส่งออกโดยเฉพาะ เพื่อแก้ไขปัญหาการขาดดุนการค้ากับต่างประเทศ เทื่อระก้าว และน้าที่ดั่งกล่าวจะช่วยให้ประเทศชาติลดพ้นออกจากความทุกจน อีกด้านนึ่งมันได้เป็นการเสริมสร้างอย่างแข็งแรงผักดันการผลิตเพื่อส่งออก ชอกหาตลาดจำหม่ายอยู่ต่างประเทศ ต้องปฏิบัติตามทิดทางที่เป็นจุดสุมเพื่อการเปิดกว้าง การส่งออกโดยตรงของต่างประเทศในด้านธุรกิจการผลิตอยู่ภายในประเทศอย่างแข็งแรง เพื่อให้เข้าร่วมการแบ่งงานสากน เพิ่มทะวีการผลิตเป็นการส่งออก และพ้อมด้วยความคลุ้มครองการนำเข้า พัฒนาความสามารถแข่งขันด้านการค้ากับต่างประเทศ เปิดตลาดชายแดนกับประเทศไก้เคียงให้หลายขึ้น โดยให้ประชาชน เอกชนได้เข้าร่วมเป็นเจ้าการภายใต้การคลุ้มครองด้วยข้อกำหนดกฎหมายของรัฐ ปรับปรุงพื้นถานโครงล้างทางด้านเศรษฐกิจให้สมบรูณ์ ละรับประกันให้การเสริมขยายประเทศ เป็นทางผ่านทางเศรษฐกิจให้มีประสิทธิผลตามแนวทางของพัก-รัฐได้วางไว้ และก็ต้องรักษาได้ความสงบภายใน มีเสถียรภาพ ทางการเมือง สังคม สร้างระบบกฎหมาย และการคลุ้มครองให้สมบรูณ์เพื่อรับประกัน และสร้างความไว้วางใจแก่นักลงทุนต่างประเทศ        ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ โดยผ่านเส้นทางด้านการทูตกับต่างประเทศมันเป็นขบวนการต่อสู้อันนึ่งในการแข่งขันกันอย่างจริงจัง เป็นการเจาะตลาดชอกหาความสนใจของผู้ชมใช้ ในการทำงานนี้จึ่งเรียกร้องให้เราต้องมีความรู้ด้านธุรกิจ เศรษฐกิจการตลาดตลอดถึงระเบียบหลักเกณฑ์และกฎหมายอื่นๆ ในการดำเนินธุรกิจปัจจุบันมันไม่ใช่ที่จะถือเงินก้อมใหญ่ไปเป็นทุนเพื่อผลิตสินค้าประเพทใดนึ่งแล้วเอาออกมาขายโลด ก่อนจะผลิต และนำใช้ทุนต้องมีกา
หมายเลขบันทึก: 61841เขียนเมื่อ 21 พฤศจิกายน 2006 17:27 น. ()แก้ไขเมื่อ 22 พฤษภาคม 2012 23:07 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท