ต่อ แนวทางนโยบายชองสปปลาวทางด้านเศรษฐกิจต่อต่างประเทศโดยผ่านทางการทูต


สินค้าที่ส่งออกของของ ส ป ป ลาว
ล/ด ลายการสินค้า หัวหน่วย 2000-01 20001-02 2002-03 แผน2003-04
1 ไม้และผลิตพันไม้ USD$  80.193.611 74.725.357 69.950.205 71.000.000
2 หินกาวแร่กว่า USD$ 4.890.667 3.903.928 46.502.906 48.000.000
3 กาแฟ USD$  15.303.833 9.773.938 10.915.964 12.000.000
4 เครื่องป่าของดง USD$ 6.617.544 8.223.654 5.722.816 6.000.000
5 เครื่องหัดถะกรรม USD$ 3.850.480 2.736.431 12.492.600 15.000.000
6 พลังงานฟ้า USD$ 91.312.939 92.694.000 97.360.000 102.910.000
7 ผลติพันการกรเศษและสัต USD$  5.706.274 7.661.796 11.123.019 12.000.000
8 อุคสะหะกรรมและอื่นๆ USD$ 16.871.067 17.054.591 7.166.805 9.000.000
9 อื่นๆ USD$   2.832.853 4.274.604 8.410.000
  รวม USD$ 224.746.388 219.606.548 265.509.019 284.320.000
        2.5. นโยบายความสัมพันธ์ทางด้านเศรษฐกิจ-การค้ากับต่างประเทศ           รัฐบาล สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชนลาว ได้วางแผนนโยบายความร่วมมือทางเศรษฐกิจการค้าแต่ปี1986 เป็นต้นมา           ความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจกับต่างประเทศ ได้มีการขยายตัวออกอย่างกว้างขวางตามทิตเปิดกว้างของรัฐบาล แต่ก็มีอันท่าทายหลายประการเช่น ปัญหาเงินเฟ้อ ได้เอาใจใส่คลุ้มครองราคาสินค้า ส่งเสรีมการนำเข้าวัตถุประกรพาหนะเครื่องมือรับใช้ การผลิต และการลงทุน ไม่สามารถส่งเสริมการนำเข้าประเพทสินค้าที่สามารถผลิตอยู่ภายใน และประเพทสินค้าฟุ่มเฟือยต่างๆ ความร่วมมือเศรษฐกิจกับต่างประเทศนี้ถือเป็นมาตรการหนึ่งในการผลักดันการแข่งขันในตลาดภายในของลาว ทำให้กลุ่มธุรกิจของลาวมีความเข้าใจถึงปัญหา และความต้องการของตลาดในโลก ปัญหาผลิตของตนที่จะส่งออกขาย และปัญหาการโคสะนาสินค้าอีกด้วย ทำให้การเคลื่อนไหวธุรกิจเข้าสู่การจัดตั้งที่มีการนำพาเคลื่อนไหวตามระเบียบตั้งเป็นกลุ่มหมวดสินค้าติดพันกับแผนปฏิบัติดูลการค้าอย่างเข้มงวด ทำให้มาตรฐานการคลุ้มครองขาออก-ขาเข้าได้รับการปฏิบัติอย่างถูกทิดและได้นำใช้กฎหมายว่าด้วยการดำเนินธุรกิจ เกี่ยวกับการค้า ซึ่งรัฐบาลได้ประกาศใช้ในวันที่ 18/07/1994 เป็นต้นมา และการมีกฎหมายดั่งกล่าว จะเป็นทักสนะที่ดีต่อต่างประเทศ จะทำให้ต่างประเทศมีความมั่นใจหลายขึ้นต่อความเสี่ยงในด้านธุรกิจของนักลงทุนและทำให้เขาเข้าใจว่า การดำเนินธุรกิจของลาวก็มีกฎหมายรองรับและยึดถือในหลักการของสากลตลอดมา                 2.5.1. นโยบายความสัมพันธ์เศรษฐกิจ-การค้าสองฝ่าย               เพื่อเพิ่มทวีการเปิดกว้างความสัมพันธ์หลักการความร่วมมือการค้ากับต่างประเทศแบบหลายทิดตามนโยบายของพักและรัฐบาล ซึ่งได้มีการชันสัญญาการค้าและความร่วมมือกับหลายประเทศเป็นต้นการทำสัญญาร่วมมือด้านเศรษฐกิจการค้าและวิธยาศาสตร์เทคนิคกับรัฐเชีย พร้อมทังชันบทบันทึกว่าด้วยความร่วมมือรถเมไฟฟ้า และธุรกิจการยา ได้ค้นคว้าปรับปรุงสัญญาการค้ากับสโลวัก สำหลับบุนกาลี รงกาลี ชักโก โปโรย กุยบา ก็ได้มีการปรึกษาหารือเพื่อค้นหาช่องทางทางการค้าสองฝ่ายและพิเศษแม่นกับสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม       2.5.2. ความหมายสำคัญของความสัมพันธ์การค้าแบบสองฝ่าย                         ความสัมพันธ์แบบสองฝ่ายหรือความสัมพันธ์แบบทวีภาคี หมายถึงข้อตกลงหรือการจัดแจงระหว่างประเทศหนึ่งกับอีกประเทศหนึ่ง สัญญาการค้าสองฝ่ายเป็นข้อตกลงแบบสองฝ่าย ที่เป็นทางการหรือไม่เป็นทางการ เกี่ยวกับการค้าสองประเทศ ภายใต้สัญญาดั่งกล่าว สองฝ่ายมีการกำหนดเงื่อนไขทางการค้า โดยทั่วไปแล้วจะกลวมเอาถึงการให้สิทธิพิเศษของการเข้าสู่ตลาดซึ่งกัน และกันแบบเท่าเทียม                    ดั่งนั้นความสัมพันธ์การค้าแบบสองฝ่ายจึ่งมีความหมายสำคัญมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคของการแข่งขันอันรุนแรงใน ปัจจุบัน เพื่อทำให้สามารถบันรุจุดประสงค์ของการเข้าสู่ตลาด และยาดได้ส่วนแบ่งของตลาดอย่างมีข้อกีดกั้นน้อยที่สุด ฉะนั้นปัจจุบันการสร้างตั้งเขตการค้าเสรีในขอบสองฝ่าย หรือBilateral free trade area จึ่งกำลังเป็นกระแสนิยม ถึงแม้ว่าเกือบหมดทุกประเทศในโลกเป็นสมาชิกขององค์การการค้าโลก( WTO ) และการสล้างตั้งกลุ่มเศรษฐกิจในระดับขงเขตก็เกิดมีขึ้นอย่างกว้างขวางเช่น EU  ASEAN  NAFTA.                 2.5.3. ความสัมพันธ์ทางด้านเศรษฐกิจ-การค้าขงเขตอาชีตาวันออกเสี่ยงใต้                          ส ป ป ลาวมีสัญญาความร่วมมือทางการสองฝ่าย กับเกือบทุกประเทศที่เป็นสมาชิ ASEAN ยกเว้น บรูไนท์และสิกะโป ซึ่งประเทศสิงกะโปถือว่าเป็นประเทศที่เปิดเสรีทางการค้าหลายอยู่แล้วหมายว่าการเข้าสู่ตลาดของประเทศสิงกระโปไม่มีข้อกีดกั้นทางภาษี  อัดตราภาษีนำเข้าเกือบว่า 0% หมด ยกเว้นบางลายการสินค้าที่ต้องห้ามเช่น อาวุดสงคราม นอกนั้น ประเทศอยู่ทะวีปอาชีตาวันออกเช่น  ส ป จีน  ส ป ป เกาหลี และ มงโกลี ก็ได้มีสัญญาการค้าสองฝ่ายกับ ส ป ป ลาว                                   2.5.4. ความสัมพันธ์กับอาเชี่ยน ( ASEAN )              เพื่อปฏิบัตินโยบายการต่างประเทศ สันติภาพ เอกลาด มิตรภาพและความร่วมมือ ในปี  1992 ส ป ป ลาวได้เข้าเป็นภาคีของสนธิสัญญาไมตรีจิตและความร่วมมือในอาชี ซึ่งเรียกย่อว่า สนธิสัญญาบาหลี และได้กลายเป็น ผู้สังเกตการของเอเชี่ยน นับแต่เดือนกรฤาคม 1992เป็นต้นมา ส ป ป ลาว ได้เข้าร่วมการเคลื่อนไหวต่างๆของ ASEAN เพื่อผลประโยชน์แห่งสันติภาพ เสถียรภาพ และความร่วมมือเพื่อการพัฒนาของบรรดาประเทศในภาคพื้น ส ป ป ลาวเข้าเป็นสมาชิก ASEAN ปี 1997เป็นต้นมา ผลประโยชน์ที่ได้รับในการเข้าเป็นสมาชิกASEAN
                    
- ทำให้เศรษฐกิจของ ส ป ป ลาวได้เปลี่ยนเศรษฐกิจธรรมชาติและปรับเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจที่มีการเชื่อมโยงกับสากล
                                - ทำให้เศรษฐกิจมีการขยายตัวและยับเข้าสู่เศรษฐกิจเศรษฐกิจของสากล
                                - ทำให้ ส ป ป ลาวมีบทบาทในการต่อรองและร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจกับสากล โดยเฉพาะการได้รับสิทธิพิเศษทางการค้า จากสหภาพยูโรป ในการใช้แหล่งทุนกำเนิดสินค้าที่มาจาก
ASEAN

                                - การเข้าร่วมเขตการค้าเสรี ASEAN ของ ส ป ป ลาวนับวันที่ 1/1/1998
เป็นต้นมาได้รับความช่วยเหลือด้านเศรษฐกิจ ดัดปรับบางระเบียบและหลักการจำนวนหนึ่ง
                                - ระบบมาตรถานและคุณนะภาพสินค้าของ ส ป ป ลาวได้รับการปรับปรุงเป็นก้าวๆมาและอื่นๆ
                 2.5.5. ความสัมพันธ์ทางด้านเศรษฐกิจ-การค้ากับอียู (European Union)                   ในปี 1986 ลาวได้สร้างสายสัมพันธ์ทางการทูตระว่างสองฝ่าย ในวันที่ 29/04/1997 ได้ลงนามว่าด้วยความร่วมมือการพัฒนาเศรษฐกิจ และการค้าระว่างการค้าลาวกับ European Union ได้ลงนามอยู่ที่ลุกชำบัว กาช่วยเหลือของ European Union แก่ ส ป ป ลาว โดยเฉพาะแต่ปี 1991 เป็นต้นมาเพิ่มขึ้นเลื้อยๆในมูลค่าประมาณ110ล้านดอนรา และมี 16 โครงการเช่น: โครงการจักสูบน้ำ ริมงื่ม โครงการบุระนะบึงทาดหลวง โครงการจัดสันถิ่นถานให้ชาวอบพะยกกับคืนประเทศ โครงการแผนพัฒนาฟ้าน้ำตกทั่วประเทศโครงการพัฒนาชนนะบทขนาดเล็กโครงการควบคลุมพญาติติดต่อทางเพท  และอื่นๆ          2.5.6. ความสัมพันธ์ทางด้านเศรษฐกิจ-การค้ากับสหรัฐอาเมริกา                              รัฐบานแห่ง ส ป ป ลาว และรัฐบานแห่งสหรัฐอาเมริกา ได้ลงนามทางการค้าร่วมกันแต่ปี 1997 แต่สัญญาดั่งกล่าวนั้นยังไม่ถูกรับรองจากรัฐสภาสะหะรัฐเทื่อ ต้นปี 2003 รัฐบาลสะหะรัฐได้ส่งหนังสือถึงรัฐสภาสะหะรัฐสนับสนุนการผ่าน NTR( NORMAL TRADE RELATION )ให้แก่ลาว แต่ยังอยู่ไนการพิจาระนาของรัฐสภาสะหะรัฐ (คะนะกรรมาธิการนิติกรรม)เพื่อเปิดสั้นทางให้แก่การพิจาระนา NTR ให้แก่ลาวในวันที่19/09/2003 รัฐบาลสาธารณรัฐ  ประชาธิปไตย  ประชาชนลาว และรัฐบาลสะหะรัฐอาเมริกาก็ได้ลงนามสัญญาการค้าสองฝ่ายร่วมกัน ปัจจุบันได้มีนักลงทุนของสะหะรัฐได้ลงทุนอยู่ในสาธารณรัฐ  ประชาธิปไตย  ประชาชนลาว มีจำนวน 50 โครงการถือว่าเป็นอันดับที่สองรองจากนักลงทุนประเทศไทย          2.5.7. ความสัมพันธ์ทางด้านเศรษฐกิจ-การค้ากับราชอานาจักไทย                           ไปเคียงคู่กับความร่วมมือทางด้านการเมือง( โคลงบน ) นั้นความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจ ( โคลงล้าง) ก็มีความสำคัญเพระมีเป็นสิ่งสนับสนุนความสำพันธ์ความร่วมมือของโคลงบนมีการขยายตัวถ้าหากว่าความสัมพันธ์ร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจมีการขยายตัวเว้ารวม เว้าเฉพาะความสัมพันธ์ทางด้านเศรษฐกิจระหว่างไทย - ลาวก็มีหลายแขนงการที่กำลังดำเนินอยู่เป็นต้น
                             - ความสัมพันธ์ร่วมมือทางด้านอุตสาหกรรมพลังงานไฟฟ้า
                             - ความสัมพันธ์ร่วมมือทางด้านการกระเศษ
ป่าไม้
                             - ความสัมพันธ์ร่วมมือทางด้านภาษี-อากร
                             - ความสัมพันธ์ร่วมมือทางด้านโทรมนาคมขนส่งไปรษณีย์ และก่อสล้าง
                             - ความสัมพันธ์ร่วมมือทางด้านการค้า-การท้องเที่ยว
                         
หมายเลขบันทึก: 61837เขียนเมื่อ 21 พฤศจิกายน 2006 17:21 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2012 16:27 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท