แนวนโยบายของส ป ป ลาวทางด้านเศรษฐกิจต่อกับต่างประเทศโดยผ่านทางการทูต


ความหมาย ความสำคัญของสายสัมพันธ์กับต่างประเทศ วัตถุประสงค์ของการกำหนดนโยบายความสัมพันธ์กับต่างประเทศ การเปิดกว้างความสัมพันธ์เศรษฐกิจผ่านการทูต เป้าหมายของความสัมพันธ์ร่วมมือเศรษฐกิจ-การค้า การส่งเสริมการส่งออกเพื่อลดผ่อนการนำเข้า เพื่อสนับสนุนสินค้าส่งออกตามทิดดั่งกล่าวควรเอาใจใส่บางประการดั่งนี้ นโยบายความสัมพันธ์ทางด้านเศรษฐกิจ-การค้ากับต่างประเทศ ความหมายสำคัญของความสัมพันธ์การค้าแบบสองฝ่าย ...

 บทที่1แนวทาง และนโยบายการต่างประเทศของสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว           พัฒนาการทางเศรษฐกิจของ ส ป ป ลาว แบ่งได้เป็น 2 ช่วงคือ: จากระบบเศรษฐกิจปลดปล่อยมาเป็นระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมแต่ปี พ .ศ 2518-- - 2528 จากระบบเศรษฐกิจสังคมนิยมมาเป็นเศรษฐกิจระบบตลาดแต่ปี พ .ศ2529- ปัจจุบัน           หลังจากเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองในปี2518 ลาวได้ใช้ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมเป็นเวลานานแต่ปี2518- - 2528 ความสัมพันธ์ทางการค้ามุ้งนั้นประเทศสังคมนิยมเป็นหลัก ทำให้เศรษฐกิจของลาวซบเซาประสบปัญหาความยุ่งยาก ปัญหาความจน การขาดแคลนสินค้าอุปโภคบริโภค ปัญหาเงินเฟ้อ ปัญหาการบริหารงานและการผลิตที่ไร้ประสิทธิภาพ ฉะนั้นรัฐบาลจึ่งได้ทบทวนนโยบายพัฒนาเศรษฐกิจใหม่
           - แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับที่
1ปี2524---- - -2528 เน้นการพึ่งพาตัวเองทางการเกษตร โดยเฉพาะผลิตข้าว สนับสนุนอุตสาหกรรมท้องถิ่น วัตถุดิบด้านการเกษตรและป่าไม้
           - แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับที่
2 ปี2529 - -2533 นำเอานโยบายระบบราคาที่เป็นไปตามกลไกตลาดและการบริหารในเชิงธุรกิจมากขึ้น
           - แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับที่
3 ปี2534 - -2538 เน้นระบบการค้าเสรี
            - แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับที่
4 ปี 2539- - 2543 เน้นระบบการค้าเสรี
           - แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับที่
5 ปี2544 - -2548 เป็นปีแรกที่ได้ปฏิบัติแผนดั่งกล่าวและได้กำหนดเป้าหมายและแนวทางการพัฒนาประเทศ เป็นระยะสั้นแต่ปี2544 - -2548 ระยะกลางแต่ปี2544- - 2553 ระยะยาวแต่ปี2544 - -2548                      โดยอิงตามมะติกองประชุมใหญ่ครั้งที่VII ของพักปี2001ได้กำหนดแนวทาง นโยบายและทิดนำด้านการต่างประเทศและความร่วมมือสากนคือ:           ก. แนวทางการต่างประเทศเป็นสันติภาพ เอกะลาด เป็นเจ้าตัวเอง มิตรภาพ และร่วมมือพัฒนา           ข. นะโยบายรวมที่มีความสัมพันธ์แบบหลายฝ่ายและมีหลายรูปแบบเพื่อประกอบส่วนอย่างเหมาะสมในพาระกิจสันติภาพ เอกะลาดแห่งซาติ ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาและความ ก้าวหน้าในสังคม           ค. ทิดนำถือเอาความสัมพันธ์ด้านการเมือง การทูตติดพันธ์ความร่วมมือเศรษฐกิจกับสากนเพื่อดึงดูดเอาทุน บทเรียนด้านต่างๆในการพัฒนาประเทศ เปิดกว้างเป็นแต่ระบาทกล้าวอย่างเหมาะสมตามเงื่อนไขและความสามารถตัวจริง 1.1. ความสำคัญของสายสัมพันธ์กับต่างประเทศ               ความสัมพันธ์กับต่างประเทศมันมิได้เฉพาะแต่ทางด้านการเมืองเพียงด้านเดียวมันได้มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงเข้ากับหลายๆด้านตามความต้องการ ตามจุดหมายและแนวทางเฉพาะของแต่ละประเทศที่ได้กำหนด เป็นต้นความสัมพันธ์เพื่อความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจ การค้าร่วมกัน และด้านวัฒนาธรรม สังคมการยาดแย่งเอาการสนับสนุน ยาดแย่งเอาการลงทุนและช่วยเหลือด้านต่างๆที่เหมาะสมเพื่อเป้าหมายในการพัฒนา ในยุคปัจจุบันเป็นยุคโลกาวิวัดและการจับกุ่ม การเชื่อมตัวเข้ากันกับพากพื้นและสากน ต่อแนวโน้ม ของสะภาพการในแนวนี้ แต่ละประเทศก็ล้วนเห็นความจำเป็น เพื่อหาเงื่อนไขวิทีทางในการสร้างความเข้มแขวง และมั่นคงให้กับตัวเอง             สังคมโลกาวิวัด และการเชื่อมตัวเข้ากับสากนเพื่อสร้างสถานภาพด้านที่ตั้งของตนให้สะดวก  เพื่อเข้าร่วมในการแบ่งงานสากนตามท่าแรง ความสามารถอันเพียงพอของแต่ละประเทศ และความต้องการของสังคมโลก           การแบ่งงานสากนเป็นปัญหาของการร่วมเป็นกุ่มทางด้านเศรษฐกิจ และการเมืองในบางปัญหา จึ่งสร้างให้มีปัดใจและแนวโน้มทั้งกาละโอกาดด้วยกันเพื่อเป็นจุดเริ่มแห่งการปฏิบัตินโยบายการต่างประเทศ และการเปิดกว้างความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจกับภายนอก ปัญหาดั่งกล่าวมันได้เป็นทิดทางแห่งการสร้างความเข้มแข็งความมั่นคงในการพัฒนาประเทศของตนจึ่งเรียกร้องให้มีการเปิดประตูสู่ภายนอก และมันได้กลายเป็นหน้าที่การงานทำการสัมพันธ์กับต่างประเทศโดยจริงจังและเด็ดเดี่ยว การเปิดประตู สู่ภายนอกนั้น จะเปิดกว้างในด้านใด ระดับใด ซึ่งขึ้นอยู่กับความเรียกร้องต้องการ ระดับความสามารถ ความจำเป็น และเงื่อนไขอันเอื้ออำนวยให้ความสะดวกของแต่ละประเทศ1.2. วัตถุประสงค์ของการกำหนดนโยบายความสัมพันธ์กับต่างประเทศ     เพื่อปกปักรักษาประเทศชาติให้มีสันติภาพ และยาดเอากาละโอกาส และเงื่อนไขจากภายนอก สร้างท่าแรงอำนวยความสะดวกให้แก่พาละกิจสร้างสาเสริมขยายละบอบประชาธิปไตยประชาชนในขบวนการเปลี่ยนแปรงใหม่ และการปฏิบัติใน 6 หลักการแห่งการเปลี่ยนแปลงใหม่ให้มีประสิทธิผล เว้าแจ้งแม่นอยากพัฒนาประเทศชาติให้พ้นจากสะภาพความทุกจน และการกีดกั้นบีบรัดจากบรรดาประเทศที่ปอระปัก พ้อมเดียวกันนี้มันก็มีความจำเป็นอันยิ่งในสะภาพการของโลกในปัจจุบันเพราะการเปิดกว้างความสัมพันธ์กับต่างประเทศ ถือเอาเศรษฐกิจติดพันกับเศรษฐกิจของโลก เพื่อทำให้เศรษฐกิจ-สินค้าของประเทศได้ขยายตัว และได้ปฏิบัติอย่างถึงถอง ความสัมพันธ์กับต่างประเทศจุดจำเป็นที่สำคัญอันนึ่งพวกเราต้องค้นคว้าวิไจอย่างรัดกุมในด้านต่างๆให้เหมาะสม เป็นต้นด้านเศรษฐกิจ ด้านการเมือง ด้านสังคม-วัฒนาธรรม และด้านความสัมพันธ์กับการป้องกันชาติ-ป้องกันความสงบ วัตถุประสงค์ของนโยบายให้กำได้ทิดนำ และหลักการที่พักวางไว้คือ: อยากเปิดกว้างความสัมพันธ์การต่างประเทศได้ดีก่อนอื่นหมดต้องสร้างกำลังภายในของเราให้แข็งแรงรอบด้าน ด้านการเมืองต้องทำให้ประชาชนติดพันเชื่อมั่นละบอบใหม่ ด้านเศรษฐกิจต้องขยายผลผลิตทำให้ชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนดีขึ้น ด้านสังคมต้องมีความสีวิไล และความยุติธรรม ด้านการป้องกันชาติป้องกันความสะงบต้องติดพันธ์กับทั่วปวงชลรับใช้ความสัมพันธ์กับเศรษฐกิจต่างประเทศ ให้มีประสิทธิผล และรับประกันได้ความเชื่อมั่นของนักลงทุนต่างประเทศ จากเนื้อในดั่งกล่าววัตถุประสงค์ของนโยบายการต่างประเทศคือ:           - เพิ่มทะวี มิดตะพาบความร่วมมือพิเศษอันเป็นมูนเชื้อและความร่วมมือรอบด้านกับ ส ส เวียดนาม บรรดาประเทศ
สังคมนิยม
           - เพิ่มทะวีความร่วมมือเพื่อผลักดันความสัมพันธ์มิตรภาพและการอยู่ร่วมกันโดยสันติกับบรรดาประเทศเพื่อนบ้าน
ร่วมกันสร้างสันติภาพ มิตรภาพให้เกิดขึ้นในพากพื้นและเพื่อการพัฒนา
           - สืบต่อความสัมพันธ์เพื่อเปิดกว้าง และเพิ่มทะวีความร่วมมือกับนานาประเทศเพื่อนมิดสากลในโลก กับองการจัดตั้งสากลต่างๆ ประประกอบส่วนเข้าในการเคลื่อนไหว เพื่อแก้ไขปัญหารวมของโลก ปัญหาทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนา ธรรมบทที่2ความสัมพันธ์เศรษฐกิจกับต่างประเทศทางด้านการทูต    2.1. การเปิดกว้างความสัมพันธ์เศรษฐกิจผ่านการทูต           เป็นนึ่งในการเคลื่อนไหวการต่างประเทศ ซึ่งเป็นหน้าที่ของนักการทูตอยู่ต่างประเทศและอยู่ภายในก็เป็นหน้าที่ของกระทรวงการต่างประเทศ การดำเนินงานทางการทูตนี้แม่นเพื่อขนขวย โคสะนาเอานักลงทุนต่างประเทศและการช่วยเหลือด้านต่างๆให้กับประเทศเรา ซึ่งนักการทูตในแต่ระสถานทูตก็ได้เคลื่อนไหวโคสะนาให้ประเทศเจ้าภาพเข้าใจต่อแนวทางการพัฒนา และการดำเนินธุรกิจอยู่ประเทศเราก็มีกฎหมายเป็นสิ่งค้ำประกัน เพื่อให้ความมั่นใจแก่นักลงทุนและนักธุรกิจต่างประเทศที่เข้ามาเคลื่อนไหวอยู่ในสาธารณรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชนลาวคือ นักลงทุนภายในและต่างประเทศที่ลงทุนดำเนินธุรกิจในแขนงการ  การผลิต การขนส่ง  การก่อสร้าง การค้า และการบริการอื่นๆ ได้รับการปกปล้องสิทธ์ และผลประโยชน์ตามกฎหมายแห่งสาธารณรัฐ  ประชาธิปไตย  ประชาชนลาว และให้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการลงทุน การเคลื่อนไหวเศรษฐกิจกับต่างประเทศนี้ ลาวเราก็ได้มีที่ปรึกษาด้านเศรษฐกิจการค้าประจำอยู่สถานทูตที่ต่างประเทศเพื่อทำหน้าที่เฉพาะเช่น  สะหะพันรัฐเชีย ฝรั่งเศส  สาธรณรัฐ ประชาชนจีน  ราชอาณาจักรไทยและสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม โดยให้ความกระจ่างแจ้งแก่การดำเนินธุรกิจของผู้ลงทุนชาวต่างประเทศ ทุกๆการลงทุนจะต้องถูกปกปล้อง ด้วยระเบียบกฎหมายของลาว โดยจะไม่ถูกยืดหรือโอนมาเป็นของรัฐ เว้นเสียแต่หากมีความจำเป็นนำใช้เพื่อสาธารณประโยชน์ ซึ่งผู้ลงทุนต่างประเทศจะได้รับค่าทดแทนคืนโดยไวอย่างสมเหตุสมผลและเป็นจริง           ในการเปิดกว้างความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ- การค้ากับต่างประเทศนั้นต้องนอนอยู่ในบนพื้นฐาน 5 หลักการเช่น             1. หลักการความเสมอภาพในกฎหมาย               2.หลักการปล้องกันกรรมสิทธ์ของผู้ลงทุนตามกฎหมาย             3. หลักการแข่งขัน             4. หลักการบริการผ่านประตูเดียว                 5. หลักการร่วมมือต่างประเทศได้รับผลประโยชน์            เพื่อกำหนดทิดทางนโยบายความสัมพันธ์การร่วมมือให้ทันการ เหมาะสมและมีประสิทธิผล ด้านหนึ่งพวกเราต้องมีนโยบายคลุ้มครองส่งเสรีม และยกระดับบรรดาบริษัทของประเทศเรา ให้มีความสามารถเข้าสู่แวดวงธุรกิจสากล เพื่อเคลื่อนไหว อย่างคล่องตัวและสามารถแข่งขันหรือร่วมมือสัมพันธ์กับบริษัทต่างประเทศ พวกเราต้องได้สืบต่อ ปฏิบัตินโยบายความสัมพันธ์การค้าแบบหลายฝ่าย สล้างตลาดให้เป็นปกติและให้มีความมั่นเที่ยงต่อสินค้าของประเทศ เปิดกว้างความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ-การค้ากับต่างประเทศโดยลงทุนใส่แขนงการที่เป็นปลายแหลมทั้ง เพิ่มประริมานและมูลค่าการส่งออกให้หลายขึ้น สุมใส่การส่งเสรีมท่าดีของการเข้าร่วมในขงเขตการค้าเสรีและการลงทุนของอาเชี่ยน พร้อมกันนี้ก็สืบต่อการกระเตรีมในทุกด้านเพื่อเข้าเป็นสมาชิกองค์การการค้าโลกให้ได้รับผลดี ค้นคว้าสล้างเขตเศรษฐกิจพิเศษอยู่ที่เห็นว่ามีเงื่อนไขและสะดวก        2.2. เป้าหมายของความสัมพันธ์ร่วมมือเศรษฐกิจ-การค้า           ความพันธ์ร่วมมือทางเศรษฐกิจการค้า สุมใส่เพื่อทำให้การค้าทุกระบบให้อยู่ในท่าดี การเป็นลูกโซ่ของระบบเศรษฐกิจ หรือเป็นการกระตุ้นชงพะลัง( power fulstimulus ) หรือ หัวจัก ( Engine ) หรือการเจรินเติบโตทางด้านเศรษฐกิจของประเทศประกอบส่วนอย่างตั้งหน้าและเป็นเจ้าการเข้าในการจัดตั้ง ปฏิบัติบรรดายุทธศาสตร์ เพื่อลดผ่อนความทุกจนของประชาชน หันเป็นอุตสาหกรรมที่ทันสมัย และทำให้ สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชนลาวหลุดพ้นออกจากบันชีประเทศด้อยพัฒนาในปี 2020 กระตุ้นการผลิตสินค้าอย่างแข็งแรง โดยเฉพาะสินค้าส่งออกให้สามารถแข่งขันได้ เพื่อค่อยๆนำเศรษฐกิจของประเทศให้เชื่อมตัวและกลายเป็นส่วนสำคัญอันหนึ่งในระบบเศรษฐกิจของโลกที่ระก้าว ในนี้เป้าหมายของการร่วมมือด้านเศรษฐกิจ การค้าแต่ละด้านโดยอิงใส่           - เพื่อยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางด้านการต่างประเทศ ให้สูงขึ้น ให้เกิดความร่วมมือกันในการพัฒนาเศรษฐกิจของแต่ระประเทศอย่างเป็นธรรม           -เพื่อยกยุทธศาสตร์การพัฒนาและการส่งออกของสินค้าในต่อหน้าอย่างมีจุดสุมและติดพันกับการผลิต การตลาดและการส่งออกแบบยืนยง           - เพื่อยกยุทธศาสตร์การคลุ้มครองการนำเข้า           - เพื่อยกยุทธศาสตร์การส่งเสริมการบริการๆค้าต่างแดน           - เพื่อยกยุทธศาสตร์การพัฒนาและการคลุ้มครองราคาสินค้าให้ดีขึ้น           - เพื่อยกยุทธศาสตร์การพัฒนาบุคลากร และระบบการคลุ้มครองการบริหาร       2.3. การส่งเสริมการส่งออกเพื่อหลุดผ่อนการนำเข้า           ประเทศลาวเป็นประเทศด้อยพัฒนา พื้นถานทางเศรษฐกิจยังอ่อนแอหลายด้าน ยังขึ้นกับภายนอก ประเทศลาวยังมีความจำเป็นและต้องการนำเอาสินค้าเข้ามาใช้จากพายนอก แต่ว่าพวกเรายังยากมีเงินชื้อสิค้าดั่งกล่าวก็มีแต่ผลักดันการผลิตภายในประเทศส่งออก การส่งออก การผลิตต้องติดพันกับการส่งออกการตลาด และการส่งออกแบบยืนยง การให้สิทธิพิเศษทางการค้าของต่างประเทศ ซึ่งปัจจุบันประเทศลาวได้มีความสัมพันธ์ความร่วมมือกับนานาประเทศ 50 กว่าประเทศและได้มีการลงนามร่วมกัน 30 กว่าประเทศ ก็มีหลายประเทศได้ให้สิทธิพิเศษทางการค้าแก่ลาว เป้าหมายในการส่งออกสินค้าไปยังตลาดต่างประเทศเช่น           - ประเภทสินค้าที่มีนักลงทุนต่างประเทศลงทุนโดที่เขาเจ้ามีตลาดค้ำประกันที่แน่นอนแล้ว           - ประเพทสินค้าที่ได้เปรียบ ทางด้านราคา ประริมานคุณนะภาพ หรือเงื่อนไขสพาบแวดล้อมที่เอื้ออำนวย           - ประเพทสินค้าที่ได้รับ GSP (Generalized system of pefferences )            - ปรับปรุงการบริการท้องเที่ยวส่งเสริมการค้าส่งออกกับที่ทุกประเพทที่มีเงื่อนไข        2.4. เพื่อสนับสนุนสินคาส่งออกตามทิดดั่งกล่าวควรต้องเอาใจใส่บางประการดั่งนี้                    - สล้างสะภาพแวดล้อมการส่งออกให้ได้ดี และเอื้ออำนวยแก่การผลิตธุรกิจด้วยการบริการของรัฐ ด้านระเบียบกฎหมาย การนำเข้าตลาด อำนวยความสะดวกอื่นๆพ้อมด้วยรูปการโคสะนาวางแฉดงสินค้าทั้งภายในและต่างประเทศ                   - สุมใส่พัฒนาสินค้าที่ผลิตภายในให้ได้มาตรถานสากลนับมื้อหลายขึ้น                   สินค้าที่เป็นท่าแรงส่งออกของลาวเป็นประเภทสินค้าช่องว่างเพราะปัจจุบันในบรรดาประเทศทีมีอุดสะหะกรรมทันสมัยพวกเขากำลังนิยมบริโภค อุประโภคนำใช้วัตถุอุประกรที่เป็นแบบธรรมชาดปาสจากเคมี ฉะนั้นจะต้องเอาใจใส่การผลิตดั่งกล่าวเช่น การปลูกข้าวก่ำอยู่เขตโนนสูงปาสจากการนำใช้ฝุ่นเคมี ขิงดำ ประเภทเครื่องเฟอนิเจอที่ทำขึ้นจากวัตถุดิบธรรมชาติและพืดพันอื่นๆสินค้าที่ส่งออกของของ ส ป ป ลาว

<td width="94" valign="top" style="border-right: windowtext 0.5pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #d4d0c8; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0in; border-left: #d4d0c8; widt

ล/ด

ลายการสินค้า หัวหน่วย 2000-01 20001-02 2002-03 แผน2003-04
1 ไม้และผลิตพันไม้ USD$  80.193.611 74.725.357 69.950.205 71.000.000
2 หินกาวแร่กว่า USD$ 4.890.667 3.903.928 46.502.906 48.000.000
3 กาแฟ USD$  15.303.833 9.773.938 10.915.964 12.000.000
4 เครื่องป่าของดง USD$ 6.617.544 8.223.654 5.722.816 6.000.000
5
หมายเลขบันทึก: 60184เขียนเมื่อ 16 พฤศจิกายน 2006 11:44 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 มิถุนายน 2012 23:44 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท