คนเรามีความสุขมากที่สุดในวัยไหน และที่ไหน


ภาพ__ ยูนิเซฟ รายงานว่า "คนจน" อายุน้อย (15-24 ปี) มีความพึงพอใจในชีวิต น้อยกว่าช่วงอื่นๆ = 50-53%

ข้อในภาพ คือ (ระดับความพึงพอใจชีวิต)

(1). ผู้หญิง น้อยกว่า ผู้ชาย = 3%

(2). คนในเมือง น้อยกว่า นอกเมือง = 1-7%

(3). คนจน น้อยกว่า คนรวย = 14-21%

.

ถ้าทำให้ คนอายุน้อย มีความหวังในชีวิต เช่น

มีโอกาสเรียนสาขาที่จบมาแล้วมีงานทำเพิ่ม

น่าจะ ช่วยให้คนอายุน้อย มีความสุขมากขึ้น + ต่อต้านสังคมน้อยลง

.

ภาพ__ การศึกษาที่ตีพิมพ์ในแลนเซ็ต (Lancet) เร็วๆ นี้ พบว่า

.

(1). คนในประเทศร่ำรวย (ยุโรป สหรัฐฯ)

.

มีความสุขมากที่สุด = 7-8/10

กราฟความสุข (ซ้ายบน) เป็นรูปตัวยู (U-shaped)

คือ สุขตอนอายุน้อย + หลังเกษียณ

ช่วงวัยกลางคนสุขน้อยที่สุด

.

(2). คนในอเมริกากลาง-ใต้ (ละตินอเมริกา)

.

มีความสุขรองลงไป (ขวาล่าง) = 6-7/10

สุขมาก ตอนอายุน้อย

สุขน้อยลงตามอายุที่เพิ่มขึ้น

.

(3). คนในยุโรปตะวันออก-อดีตสหภาพโซเวียต

.

มีความสุขรองลงไป (ขวาบน) = 5-6/10

สุขปานกลาง ตอนอายุน้อย

สุขน้อยลงตามอายุที่เพิ่มขึ้น

.

(4). คนในอาฟริกา

มีความสุขน้อย ตลอดชีวิต (ซ้ายล่าง) = 4-5/10

.

คนในประเทศร่ำรวย มีสุขน้อยที่สุดในช่วง 45-54 ปี

เพราะฉะนั้น ถ้าใครมีความทุกข์ในช่วงนี้

ก็พอจะหวังได้ว่า

หลัง 54 ปี จะมีความสุขมากขึ้น

.

ความสุขตอนอายุน้อย มักจะแปรตามปัจจัย 2 ข้อได้แก่

(1). เงิน หรือฐานะ

คนจน มีความสุขน้อยที่สุด

น้อยกว่า คนฐานะปานกลาง หรือรวยชัดเจน

.

(2). โอกาสในชีวิต

โดยเฉพาะโอกาสศึกษา สาขาที่จบมาแล้วมีงานทำ

.

ช่วงอายุมากขึ้น... ความสุขจะแปรตามปัจจัย 3 ข้อได้แก่

(1). เงิน หรือฐานะ

(2). สุขภาพ หรือ การไม่ป่วยหนัก + ไม่ป่วยเรื้อรัง

(3). หลักประกันสุขภาพ หรือ บริการสุขภาพ

ประเทศที่ร่ำรวย มีหลักประกันสุขภาพ ดีกว่า ประเทศยากจน

.

ประสบการณ์ในไทย พบว่า

คนสูงอายุที่ถูกทอดทิ้งส่วนใหญ่

จะมีลักษณะ 2 ข้อพร้อมๆ กัน ได้แก่

  1. จน
  2. ขี้บ่น

.

เรื่องนี้ บอกเป็นนัยว่า 2 เรื่องนี้สำคัญ คือ

(1). เรื่องเงิน = อย่างน้อยมีเงินออม + ไม่เป็นหนี้เกินตัว

(2). สุขภาพ = การไม่ป่วยหนัก + ไม่มีโรคเรื้อรัง

ทำให้คนเรา มีความสุขมากที่สุดในระยะยาว

.

ถึงตรงนี้... ขอให้ท่านผู้อ่านมีสุขภาพดีไปนานๆ ครับ

.

From BBC > http://www.bbc.com/news/health-29899769

หมายเลขบันทึก: 580381เขียนเมื่อ 13 พฤศจิกายน 2014 20:26 น. ()แก้ไขเมื่อ 13 พฤศจิกายน 2014 20:26 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

Thank you Doctor. This is quite interesting in comparison to (Buddhists) "sukkha is less dukkha". And even the idea that dukkha often comes from saṃvega (สังเวค).

To explain: There are eight bases of *saṃvega*(*saṃvega vatthu*). They are "birth, old age, sickness, death, suffering in the woeful worlds, the round of suffering as rooted in the past, the round of suffering as rooted in the future, and the round of suffering in the search for food in the present.

NB. saṃvega: anxiety; agitation; religious emotion. (m.)
agitation, fear, anxiety; thrill, religious emotion (caused by contemplation of the miseries of this world) D iii.214; A i.43; ii.33, 114 S i.197; iii.85; v.130, 133; It 30; Sn 935; J i.138 Nd1 406; Vism 135=KhA 235 (eight objects inducing emotion: birth, old age, illness, death, misery in the apāyas, and the misery caused by saŋsāra in past, present & future stages); Mhvs 1, 4; 23, 62; PvA 1, 22, 32, 39 76.
<Although it can be said that human beings are "not without dukkha", they suffer less compared with those in the 4 lower worlds (apāyas).>

Apāya [Sk. apāya, fr. apa + i, cp. apeti] "going away" viz.
1. separation, loss Dh 211 (piya˚ = viyoga DhA iii.276).
2. loss (of property) D iii.181, 182; A ii. 166; iv.283; J iii.387 (atth˚).
3. leakage, out flow (of water) D i.74; A ii.166; iv.287.
4. lapse, falling away (in conduct) D i.100.
5. a transient state of loss and woe after death. Four such states are specified purgatory (niraya), rebirth as an animal, or as a ghost, or as a Titan (Asura). Analogous expressions are vinipāta & duggati;. All combined at D i.82; iii.111; A i.55; It 12, 73; Nd2 under kāya; & freq. elsewhere. -- apāyaduggativinipāta as attr. of saŋsāra S ;ii.92, 232; iv.158 313; v.342; opp. to khīṇâpāya -- duggati -- vinipāta of an Arahant A iv.405; v.182 sq. -- See also foll. pass.: M iii.25 (anapāya); Sn 231; Th 2, 63; J iv.299; Pug 51 VvA 118 (opp. sugati); PvA 103; Sdhp 43, 75 & cp niraya, duggati, vinipāta.;
-- gāmin going to ruin or leading to a state of suffering DhA iii.175; cp. ˚gamanīya id. Ps. i.94, ˚gamanīyatā J iv.499. -- mukha "facing ruin", leading to destruction (= vināsa -- mukha DA i.268), usually as nt. "cause of ruin" D i.101 (cattāri apāya mukhāni); iii.181, 182 (cha bhogānaŋ a˚ -- mukhāni, i. e. causes of the loss of one's possessions); A ii.166; iv.283, 287. -- samudda the ocean of distress DhA iii 432. -- sahāya a spendthrift companion D iii.185.


<From ประมวลศัพท์พุทธศาสตร์(ป.อ. ปยุตฺโต)> สังเวช
สังเวช: ความสลดใจให้ได้คิด, ความรู้สึกเตือนสำนึกหรือทำให้ฉุกคิด, ความรู้สึกกระตุ้นใจให้คิดได้ ให้คิดถึงธรรม ให้ตระหนักถึงความจริงของชีวิต และเร้าเตือนให้ไม่ประมาท; ตามความหมายที่แท้ของศัพท์ สังเวช คือ "สังเวค" แปลว่าแรงเร่ง แรงกระตุ้น หรือพลังที่ปลุกเร้า หมายถึง แรงกระตุ้นเร้าเตือนใจ ให้ได้คิดหรือสำนึกขึ้นมาได้ ให้คิดถึงธรรม หรือตระหนักถึงความจริงความดีงาม อันทำให้ตื่นหรือถอนตัวขึ้นมาจากความเพลิดเพลิน ความหลงระเริงปล่อยตัวมัวเมา หรือความประมาท แล้วหักหันไปเร่งเพียรทำการที่ตระหนักรู้ว่าจะพึงทำด้วยความไม่ประมาทต่อไป แต่ในภาษาไทย สังเวช มีความหมายหดแคบลงและเพี้ยนไป กลายเป็นความรู้สึกสลดใจ หรือเศร้าสลด แล้วหงอยหรือหดหู่เสีย ซึ่งกลายเป็นตรงข้ามกับความสังเวชที่แท้

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท