Archanwell
รศ.ดร. พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร

กฎหมายและนโยบายควรจะเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับเทคโนโลยีมากน้อยเพียงใดกัน ?


งานเขียนที่เอามาลงนี้ เป็นความพยายามของ อ.แหววที่จะใช้กฎหมายและนโยบายในการจัดการสถานการณ์ด้านเทคโนโลยีต่างๆ ในประเทศไทย อยากเขียนเป็นตำราเหมือนกันค่ะ แต่ยังไม่แน่ใจว่า มองเห็นทุกประเด็นครบหรือยัง แอบมีต้นฉบับแล้วเหมือนกัน แต่ก็เผยแพร่แบบเป็นเรื่องๆ ไปก่อน หลายหัวข้อ ก็มีนักศึกษาของ อ.แหวว เอาไปพัฒนาเป็นงานที่ลึกลงไป ในครั้งนี้ อยากให้นักศึกษาอ่านงานเขียนของ อ.แหววก่อนเพื่อที่จะได้มีความเข้าใจขั้นพื้นฐานต่อกัน ในบันทึกหน้า จะเอางานวิทยานิพนธ์ที่ อ.แหววดูแล มาแนะนำให้อ่านค่ะ

รวมงานเขียนเกี่ยวกับการจัดการเทคโนโลยีโดยกฎหมายและนโยบาย ของ รศ.ดร.พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร (สำรวจเมื่อวันพุธที่ ๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๙)

-----------

๒๕๓๘

------------

๑.      ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการค้าบริการทางโทรคมนาคมในกรอบของ GATS, เอกสารประกอบการฝึกอบรม, ใน : โครงการฝึกอบรมความรู้ทางกฎหมายให้แก่พนักงานของทศท., ภายใต้ความร่วมมือระหว่างคณะนิติศาสตร์ มธ.-ทศท., มกราคม-มีนาคม ๒๕๓๘, ๒๑ น.

------------

๒๕๓๙

------------

๒.      วิวัฒนาการของระบบความคิดและกฎหมายว่าด้วยการจัดการกิจการโทรคมนาคมในประเทศไทย, เอกสารวิจัยในโครงการฝึกอบรมความรู้ทางกฎหมายให้แก่พนักงานขององค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย เรื่องภารกิจใหม่ของนักกฎหมายของ ทศท.ในยุคแห่งการปรับองค์กร, จัดโดยแผนกวิชากฎหมายและระเบียบ กองวิชาการ สายงานอำนวยการ ส่วนการฝึกอบรม ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรบุคคล องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย, ๒๕๔๐, ๑๑ น.

------------

๒๕๔๓

------------

๓.      ผลกระทบทางกฎหมายของความตกลงว่าด้วยการค้าสินค้าเทคโนโลยีสารสนเทศต่อประเทศไทย, งานวิจัยเสนอต่อกรมเศรษฐกิจการพาณิชย์ พ.ศ.๒๕๔๓-

-----------

๒๕๔๕

------------

๔.            ทิศทางการศึกษากฎหมายเทคโนโลยีในประเทศไทย, นสพ. เทเลคอมเจอร์เนล  วันศุกร์ที่ ๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๕.๕.            แนวคิดของรัฐไทยว่าด้วยการจัดการด้านโทรคมนาคม, ใน : ลงพิมพ์ใน telecom Journal เมื่อวันศุกร์ที่ ๒๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๕

๖.            กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์: คืออะไร? เพื่อใคร? หรือเพื่ออะไร?, นสพ. เทเลคอมเจอร์เนล  วันที่ ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๕.

๗.           ไอทีวี : ความรับผิดชอบต่อสังคม, ใน : ทัศนะวิจารณ์  กรุงเทพธุรกิจ เมื่อวันที่ ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๕.

๘.            ห้องเรียนกฎหมายโทรคมนาคมที่วิทยาลัยนวตกรรมธรรมศาสตร์เมื่อ พ.ศ.๒๕๔๕, เมื่อวันศุกร์ที่ ๑๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๕

๙.           การจัดการปัญหาเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาประเทศไทยตกอยู่ภายใต้กฎหมายหรือไม่ ?, เมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๔๕

------------

๒๕๔๖

------------

๑๐.    รัฐควรคิดอย่างไรต่อปัญหาเกมคอมพิวเตอร์, เขียนร่วมกับอิทธิพล ปรีติประสงค์ และ สมา โกมลสิงห์, ข้อเสนอต่อกระทรวงเทคโนโลยี การสื่อสาร และการโทรคมนาคมของนักวิจัยในโครงการศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคมไทยบนอินเทอร์เน็ต กองทุน ศาสตราจารย์ คนึง ฦาไชย เมื่อวันศุกร์ที่ ๑๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๖, ลงพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ telecom Journal ฉบับวันจันทร์ที่ ๒๖ พฤษภาคม วันอาทิตย์ที่ ๑ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๔๖ หน้า ๑๙ 

๑๑.    มาตรการของภาครัฐต่อภาคเอกชนซึ่งประกอบการเกี่ยวกับไอที, เขียนร่วมกับ อิทธิพล ปรีติประสงค์  / สมบัติ บุญงามอนงค์ และ สมา โกมลสิงห์ , ผลการวิจัยภายใต้โครงการศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคมไทยบนอินเทอร์เน็ต กองทุน ศาสตราจารย์ คนึง ฦาไชย, วันศุกร์ที่ ๑๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๖

๑๒.    มาตรการต่อสื่อทางเพศบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต, เขียนร่วมกับ อิทธิพล ปรีติประสงค์ สมบัติ บุญงามอนงค์, ผลการวิจัยภายใต้โครงการศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคมไทยบนอินเทอร์เน็ต กองทุน ศาสตราจารย์ คนึง ฦาไชย, เมื่อวันอาทิตย์ที่ ๑๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๖, ลงพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ telecom Journal ฉบับวันจันทร์ที่ ??? พ.ศ.๒๕๔๖ หน้า  ?

๑๓.    แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการปัญหาการปรากฏตัวของมนุษย์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต, เขียนร่วมกับอาจารย์อิทธิพล ปรีติประสงค์  นางสาวมณทนา สีตสุวรรณ  นายวันฉัตร ผดุงรัตน์, บทความอันเป็นผลมาจากการวิจัยและพัฒนาภายใต้โครงการศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคมไทยบนอินเทอร์เน็ต  กองทุน ศาสตราจารย์ คนึง ฦาไชย เมื่อวันอาทิตย์ที่ ๑๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๖

๑๔.    เกมคอมพิวเตอร์และผลกระทบต่อเด็กและเยาวชนในสังคมไทย, เขียนร่วมกับ สมา โกมลสิงห์, วารสารสิทธิมนุษยชน, ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๒, สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (เมษายน มิถุนายน พ.ศ.๒๕๔๖, น.๖๗ - ๘๑

๑๕.    e-society ต้องการกฎหมายหรือไม่ ? เพียงไร ?, บทความเพื่อหนังสือวันรพี ๒๕๔๖ ของคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๔๖, ๘ หน้า

๑๖.    เกมคอมพิวเตอร์ออนไลน์ : สร้างสรรค์หรือทำลายสังคมไทย ?, บทความรายงานสถานการณ์เกมคอมพิวเตอร์ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพสังคมไทยประกอบรายงานความก้าวหน้าของแนวทางการประมวลสถานการณ์สำคัญที่เกี่ยวกับสุขภาพคนไทยในรอบปีเสนอในการประชุมคณะกรรมการชี้แนะทิศทางของโครงการรายงานสุขภาพคนไทยประจำปี ณ ห้องประชุมสำนักงานกองทุนส่งเสริมสนับสนุนสุขภาพ เมื่อวันจันทร์ที่ ๔ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๔๖ เวลา ๙.๐๐  . – ๑๒.๐๐ น. 

๑๗.    สื่อใหม่และบริบทสังคมทางวัฒนธรรมที่เปลี่ยนแปลง, รายงานการวิจัยภายใต้โครงการสื่อมวลชนเพื่อการศึกษาและการเรียนรู้ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการสื่อของรัฐเพื่อการศึกษา, สนับสนุนทุนการวิจัยโดย สสส., ๑ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๔๖

๑๘.    สื่อลามกอนาจาร : นวัตกรรมใหม่บนปัญหาเดิมๆ ที่รอคอยการจัดการ, เขียนร่วมกับ อ.อิทธิพล ปรีติประสงค์, เอกสารเพื่อเอกสารการประชุมคณะอนุกรรมาธิการศึกษาหามาตรการแก้ไขปัญหาสื่อลามกที่มีต่อเด็ก เยาวชน และสตรี วุฒิสภา, เมื่อวันอาทิตย์ที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๔๖

๑๙.    ธุรกิจเว็บไซต์สื่อทางเพศ : ไม่ใช่ไม่มีทางออก แต่ไม่ออกเอง, เขียนร่วมกับอิทธิพล ปรีติประสงค์ / พันธุ์ทิพย์ สายสุนทร / สมพงษ์ จิตระดับ, เอกสารวิจัยของโครงการศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคมไทยบนอินเทอร์เน็ต กองทุน ศาสตราจารย์ คนึง ฦาไชย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ลงวันอาทิตย์ที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๖, เผยแพร่ใน มติชนเมื่อวันที่ ๒๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ ปีที่ ๒๖ ฉบับที่ ๙๓๖๐

๒๐.    ข้อเสนอแนะที่ยอมรับได้และเป็นไปได้จริงในการกำหนดแนวทางและมาตรการการใช้สื่อโทรทัศน์ของรัฐเพื่อการศึกษาและการเรียนรู้ของเด็ก เยาวชน และครอบครัว, โดยเครือข่ายความร่วมมือระหว่าง ๒๐ กลุ่ม/องค์กรในสังคมไทย ซึ่งรวมตัวกันแสวงองค์ความรู้เพื่อการนี้, ยกร่างข้อเสนอร่วมกับอาจารย์อิทธิพล ปรีติประสงค์เมื่อวันที่ ๑๒ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๖ นำเสนอต่อ คณะทำงานเพื่อเตรียมการดำเนินงานตามนโยบายการใช้สื่อของรัฐเพื่อการศึกษาและการเรียนรู้ของเด็ก เยาวชน และครอบครัว เมื่อวันที่ ๑๒ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๖  และนำเสนอต่อรองนายกรัฐมนตรี (นายจาตุรน ฉายแสง) เมื่อวันที่ ๑๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๖

๒๑.    ข้อเสนอแนะในเชิงวิธีการที่เหมาะสมในการใช้สื่อโทรทัศน์ของรัฐเพื่อการศึกษาและการเรียนรู้ของเด็ก เยาวชน และครอบครัว, เพื่อเสนอต่อต่อรองนายกรัฐมนตรี ฯพณฯ จาตุรนต์ ฉายแสง, โดยที่ประชุมเสวนาเมื่อวันที่ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๖ ณ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ, ยกร่างข้อเสนอร่วมกับอาจารย์อิทธิพล ปรีติประสงค์

------------

๒๕๔๗

------------

๒๒.   การประทุษร้ายสังคมบนอินเทอร์เน็ต : ปรากฏการณ์เก่าที่เล่าใหม่, เขียนร่วมกับอาจารย์อิทธิพล ปรีติประสงค์, บทความอันเป็นผลมาจากการวิจัยและพัฒนาภายใต้โครงการศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคมไทยบนอินเทอร์เน็ต  กองทุน ศาสตราจารย์ คนึง ฦาไชย เมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๗, มติชน วันที่ ๑๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ ปีที่ ๒๗ ฉบับที่ ๙๖๒๑,

๒๓.       สื่อในสังคมไทยต่อสุขภาวะและสิทธิมนุษยชนของเด็ก เยาวชน และครอบครัว : แนวคิดพื้นฐาน, เมื่อวันที่ ๒๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๗

------------

๒๕๔๘

-----------

๒๔.   สถานการณ์โทรทัศน์เพื่อเด็ก เยาวชนและครอบครัว : ทักษะแห่งการเรียนรู้โลกและชีวิตและสิทธิในการเข้าถึงทีวี, เขียนร่วมกับอาจารย์อิทธิพล ปรีติประสงค์  นางสาวอารยา ชินวรโกมล และพญ.พรรณพิมล หล่อตระกูล, รายงานผลการทำกิจกรรมเวทีประเมินสถานการณ์โทรทัศน์ ครั้งที่ ๓  ภายใต้โครงการวิจัยและพัฒนารายการโทรทัศน์เพื่อส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ของเด็ก เยาวชนและครอบครัว (TV4Kids), เมื่อวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ.๒๕๔๘

๒๕.   e-society : ความปลอดภัยในการประกอบการมีแค่ไหน ?, คำถามเพื่อทำกรณีศึกษาสำหรับนักศึกษาในห้องเรียนกฎหมายและนโยบายโทรคมนาคมของวิทยาลัยนวตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวันจันทร์ที่ ๒๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘

------------

๒๕๔๙

------------

๒๖.    จากอดีตสู่วันนี้กับระบบเรตติ้งสื่อในประเทศไทย, เขียนร่วมกับอาจารย์อิทธิพล ปรีติประสงค์ และ พญ.พรรณพิมล หล่อตระกูล และ รศ.ดร.พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร, บทความอันเป็นผลมาจากการวิจัยและพัฒนาภายใต้ชุดโครงการวิจัยและพัฒนาเพื่อการศึกษาและการเรียนรู้สำหรับเด็ก เยาวชน และครอบครัว มูลนิธิ ศ.คนึง ฦๅไชย สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), เมื่อวันที่ ๘ มกราคม พ.ศ.๒๕๔๙

------------------------------------------------------------

หมายเลขบันทึก: 57963เขียนเมื่อ 8 พฤศจิกายน 2006 14:42 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2012 16:17 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท