การบริการเยี่ยมบ้านที่มีโรงพยาบาลเป็นฐาน


การบริการเยี่ยมบ้านที่มีโรงพยาบาลเป็นฐาน
(Hospital – based Home Health Care)
   การบริการสุขภาพที่บ้านไม่ใช่บริการเฉพาะที่บ้านเท่านั้น  แต่จะเริ่มต้นตั้งแต่ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล  ซึ่งศูนย์สุขภาพดีที่บ้านของโรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชมีวิธีการดำเนินงานดังนี้
ด้านการบริหาร : ระยะเตรียมการ
 1) กำหนดโครงสร้างทีมสุขภาพ แต่งตั้งคณะกรรมการเครือข่ายเยี่ยมบ้านแบบสหสาขาวิชาชีพและจัดตั้งศูนย์สุขภาพดีที่บ้าน กลุ่มงานเวชกรรมสังคม เป็นศูนย์ประสานงานของเครือข่าย  กำหนดระบบบริหารจัดการ
 2) การวางแผน กำหนดกลุ่มเป้าหมายและกระบวนการ/แนวทางปฏิบัติร่วมกันตามมาตรฐานวิชาชีพ จัดทำทะเบียน แฟ้มครอบครัว แบบฟอร์มการบันทึกข้อมูล  โดยศูนย์ฯ ประสานงานทีมสุขภาพผู้เกี่ยวข้อง ประชุมระดมสมอง  ร่วมคิด  ร่วมวางแผนและพัฒนาคุณภาพงานเยี่ยมบ้านอย่างต่อเนื่องโดยมีวาระประชุม3เดือน/ครั้ง  
 3) การประสานงาน   ประสานความร่วมมือเครือข่ายสุขภาพและผู้เกี่ยวข้องทั้งในและนอกโรงพยาบาล  ทั้งภาครัฐ/เอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และชุมชน
4) การนิเทศงาน นิเทศงานเครือข่ายโดยใช้คู่มือ HCA
 ทีมงานสุขภาพประกอบด้วย
1. แพทย์
2. พยาบาลวิชาชีพ
3. นักกายภาพบำบัด  นักกิจกรรมบำบัด
4. เภสัชกร
5. พยาบาลจิตเวช
6. นักโภชนาการ
7. เจ้าหน้าที่อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
ด้านบริการ : ระยะดำเนินการ  ให้บริการเยี่ยมที่หอผู้ป่วย  เยี่ยมที่บ้านและเยี่ยมทางโทรศัพท์ โดยกระบวนการเยี่ยมบ้านแบ่งเป็น 3 ขั้นตอนดังนี้ 
   ขั้นตอนที่1 ระยะก่อนเยี่ยมบ้าน เตรียมความพร้อมผู้ป่วยก่อนจำหน่าย โดยใช้ระบบ  D - METHOD นัดหมายการเยี่ยมบ้านโดยพิทักษ์สิทธิผู้ป่วย วางแผนการเยี่ยม/ประชุมเตรียมความพร้อม (Pre - conference) ศึกษาปัญหาผู้ป่วยก่อนเยี่ยมบ้าน เตรียมความพร้อมกระเป๋าเยี่ยมบ้านและอุปกรณ์ตามมาตรฐานที่กำหนด      
   ขั้นตอนที่ 2 ระยะเยี่ยมบ้าน ให้บริการเยี่ยมบ้านแบบองค์รวม  โดยใช้แฟ้มสุขภาพครอบครัว ครอบคลุมตามหลัก IN HOME SSS  ให้บริการทำหัตถการตามหลักการป้องกันการติดเชื้อ  เน้นให้ผู้ป่วยและญาติมั่นใจในการดูแลสุขภาพตนเองและมีระบบโทรศัพท์ที่ผู้ป่วยและญาติสามารถติดต่อได้เมื่อมีปัญหา
   ขั้นตอนที่ 3 ระยะหลังเยี่ยม ร่วมอภิปรายปัญหาผู้ป่วย (Post conference) ประเมินสภาพปัญหาของผู้ป่วยและครอบครัว  วางแผนการเยี่ยมครั้งต่อไป  บันทึกข้อมูลในแฟ้มครอบครัว และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ WINTHO
ด้านวิชาการ
1) จัดอบรม พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ทั้งเครือข่าย และแกนนำสุขภาพใน   ชุมชนในโครงการการพัฒนาศักยภาพการพยาบาลครอบครัว และโครงการอาสาสมัครติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยหลังการรักษาพยาบาล
2) สาธิต การใส่สายสวนปัสสาวะและสายสวนกระเพาะอาหารแก่เครือข่ายสุขภาพ
3) ประชุมวิชาการ Case conference โดยทีมสหสาขาวิชาชีพ 3  เดือน/ ครั้งและมีการแลกเปลี่นยเรียนรู้ระบบงานเยี่ยมบ้านกับเครือข่าย 
การประเมินผล  ประเมินจากความพึงพอใจของผู้ให้บริการและผู้รับบริการ  ภาวะสุขภาพ  ความสามารถในการดูแลตนเอง  และการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของผู้รับบริการ  รวมทั้งการประเมินผลคุณภาพการบริการ

หมายเลขบันทึก: 54806เขียนเมื่อ 16 ตุลาคม 2006 16:14 น. ()แก้ไขเมื่อ 21 มิถุนายน 2012 10:01 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

การบริการเยี่ยมบ้านที่มีโรงพยาบาลเป็นฐาน

การบริการเยี่ยมบ้านที่มีโรงพยาบาลเป็นฐาน

(Hospital – based Home Health Care)

การบริการสุขภาพที่บ้านไม่ใช่บริการเฉพาะที่บ้านเท่านั้น แต่จะเริ่มต้นตั้งแต่ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล ซึ่งศูนย์สุขภาพดีที่บ้านของโรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชมีวิธีการดำเนินงานดังนี้

ด้านการบริหาร : ระยะเตรียมการ

1) กำหนดโครงสร้างทีมสุขภาพ แต่งตั้งคณะกรรมการเครือข่ายเยี่ยมบ้านแบบสหสาขาวิชาชีพและจัดตั้งศูนย์สุขภาพดีที่บ้าน กลุ่มงานเวชกรรมสังคม เป็นศูนย์ประสานงานของเครือข่าย กำหนดระบบบริหารจัดการ

2) การวางแผน กำหนดกลุ่มเป้าหมายและกระบวนการ/แนวทางปฏิบัติร่วมกันตามมาตรฐานวิชาชีพ จัดทำทะเบียน แฟ้มครอบครัว แบบฟอร์มการบันทึกข้อมูล โดยศูนย์ฯ ประสานงานทีมสุขภาพผู้เกี่ยวข้อง ประชุมระดมสมอง ร่วมคิด ร่วมวางแผนและพัฒนาคุณภาพงานเยี่ยมบ้านอย่างต่อเนื่องโดยมีวาระประชุม3เดือน/ครั้ง

3) การประสานงาน ประสานความร่วมมือเครือข่ายสุขภาพและผู้เกี่ยวข้องทั้งในและนอกโรงพยาบาล ทั้งภาครัฐ/เอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และชุมชน

4) การนิเทศงาน นิเทศงานเครือข่ายโดยใช้คู่มือ HCA

ทีมงานสุขภาพประกอบด้วย

1. แพทย์

2. พยาบาลวิชาชีพ

3. นักกายภาพบำบัด นักกิจกรรมบำบัด

4. เภสัชกร

5. พยาบาลจิตเวช

6. นักโภชนาการ

7. เจ้าหน้าที่อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

ด้านบริการ : ระยะดำเนินการ ให้บริการเยี่ยมที่หอผู้ป่วย เยี่ยมที่บ้านและเยี่ยมทางโทรศัพท์ โดยกระบวนการเยี่ยมบ้านแบ่งเป็น 3 ขั้นตอนดังนี้

ด้านบริการ : ระยะดำเนินการ ให้บริการเยี่ยมที่หอผู้ป่วย เยี่ยมที่บ้านและเยี่ยมทางโทรศัพท์ โดยกระบวนการเยี่ยมบ้านแบ่งเป็น 3 ขั้นตอนดังนี้

ขั้นตอนที่1 ระยะก่อนเยี่ยมบ้าน เตรียมความพร้อมผู้ป่วยก่อนจำหน่าย โดยใช้ระบบ D - METHOD นัดหมายการเยี่ยมบ้านโดยพิทักษ์สิทธิผู้ป่วย วางแผนการเยี่ยม/ประชุมเตรียมความพร้อม (Pre - conference) ศึกษาปัญหาผู้ป่วยก่อนเยี่ยมบ้าน เตรียมความพร้อมกระเป๋าเยี่ยมบ้านและอุปกรณ์ตามมาตรฐานที่กำหนด

ขั้นตอนที่ 2 ระยะเยี่ยมบ้าน ให้บริการเยี่ยมบ้านแบบองค์รวม โดยใช้แฟ้มสุขภาพครอบครัว ครอบคลุมตามหลัก IN HOME SSS ให้บริการทำหัตถการตามหลักการป้องกันการติดเชื้อ เน้นให้ผู้ป่วยและญาติมั่นใจในการดูแลสุขภาพตนเองและมีระบบโทรศัพท์ที่ผู้ป่วยและญาติสามารถติดต่อได้เมื่อมีปัญหา

ขั้นตอนที่ 3 ระยะหลังเยี่ยม ร่วมอภิปรายปัญหาผู้ป่วย (Post conference) ประเมินสภาพปัญหาของผู้ป่วยและครอบครัว วางแผนการเยี่ยมครั้งต่อไป บันทึกข้อมูลในแฟ้มครอบครัว และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ WINTHO

ด้านวิชาการ

1) จัดอบรม พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ทั้งเครือข่าย และแกนนำสุขภาพใน ชุมชนในโครงการการพัฒนาศักยภาพการพยาบาลครอบครัว และโครงการอาสาสมัครติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยหลังการรักษาพยาบาล

2) สาธิต การใส่สายสวนปัสสาวะและสายสวนกระเพาะอาหารแก่เครือข่ายสุขภาพ

3) ประชุมวิชาการ Case conference โดยทีมสหสาขาวิชาชีพ 3 เดือน/ ครั้งและมีการแลกเปลี่นยเรียนรู้ระบบงานเยี่ยมบ้านกับเครือข่าย

การประเมินผล ประเมินจากความพึงพอใจของผู้ให้บริการและผู้รับบริการ ภาวะสุขภาพ ความสามารถในการดูแลตนเอง และการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของผู้รับบริการ รวมทั้งการประเมินผลคุณภาพการบริการ

หมวดหมู่: เรื่องทั่วไป

คำสำคัญ: โครงการสุขภาพดีเริ่มที่บ้าน งานเยี่ยมบ้าน hhc

สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการ

สร้าง: จ. 16 ต.ค. 2549 @ 16:14 แก้ไข: พ. 08 ส.ค. 2550 @ 02:46 ขนาด: 7651 ไบต์

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท