การสื่อสารเพื่อการเปลี่ยนแปลง


ให้คุยกันในกลุ่มย่อย ๆ ให้มีชีวิตชีวา พอนำเสนอเรื่องราว Tacit & insight ขาด Deep Listening Dialectic และการสังเคราะห์ใหม่มันหาย ไม่สามารถเอาของจริงขึ้นมาเป็น concept สร้างความรู้ได้ data
การสื่อสารเพื่อการเปลี่ยนแปลง อ.ชัยวัฒน์ ถิระพันธ์ ให้คุยกันในกลุ่มย่อย ๆ ให้มีชีวิตชีวา พอนำเสนอเรื่องราว Tacit & insight ขาด Deep Listening Dialectic และการสังเคราะห์ใหม่มันหาย ไม่สามารถเอาของจริงขึ้นมาเป็น concept สร้างความรู้ได้ data Information knowledge อาจารย์มหาวิทยาลัย ก็เป็น เพราะเรายึดทฤษฏีมากไป ทั้งที่ทฤษฏีอยู่ไม่นาน ต่างจากคำสอนในศาสนา “งานกลุ่มย่อย 7 กลุ่มพูดซ้ำกัน จนหลังกลุ่ม ที่ 3 คนไม่ค่อยฟังทำไมไม่คิดสิ่งที่จะนำเสนอสิ่งที่ต่าง ให้เวลาแค่ 7 นาทีแทนที่จะมุ่งไปที่การนำเสนอประเด็น กลับแนะนำกลุ่มแล้วพูดซ้ำ ๆ กับกลุ่มก่อน ” ความรู้ที่มีชีวิตชีวา จะมีพลังคนนำไปแก้ปัญหาได้ ถ้ายึดทฤษฏีเดิม จะไม่มีนวัตกรรม ยกเว้นการละทิ้งแหก Breakthrough ออกมา เรายังยึดตำราเป็นสรณะ แทบจะบูชาติดทอง เราเคารพบูชาตำรา ความรู้ใหม่เกิดจากการหักล้างสิ่งเก่า นี่เป็นกฎของโลก การนั่งครุ่นคิด ภายใต้ความสงบ จะเกิดปัญญาจากภายใน ถ้านั่งคุยและฟังกัน จะเกิดปัญญาร่วมกันในกลุ่ม จากความรู้เฉพาะตัว แท้จริงการเปลี่ยนแปลงมาเงียบ ๆ กว่าที่รูปธรรมของการเปลี่ยนแปลง จะถูกคนจับและรับรู้ได้ ช่องทางเดียวกัน ภาษาเนื้อหาที่แตกต่างกัน ย่อมมีพลังต่างกัน ภาษาง่าย ๆ ที่สละสลวย ทำให้กินใจ กระทบใจ เกิดพลัง ภาษาที่ใช้ขึ้นกับบริบท สิ่งเดียวกัน ถ่ายคนละมุม มีพลังสื่อสารต่างกัน น้ำเสียงดนตรี ทำให้เกิดอารมณ์ การสื่อสารทำให้มนุษย์เปลี่ยนแปลง ต้องกระทบใจ มนุษย์ไม่ได้เปลี่ยนแปลงด้วยสมอง แต่เปลี่ยนแปลงด้วยใจ
คำสำคัญ (Tags): #จิตวิวัฒน์
หมายเลขบันทึก: 53953เขียนเมื่อ 9 ตุลาคม 2006 21:51 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2012 16:05 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)
ช่วยเรียนอาจารย์ชัยวัฒน์ ว่าเข้ามาเยี่ยมพวกลูกศิษย์ ใน G2K บ้างครับ
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท