เยาวราชถนนสายการค้าและทองคำ (กำเนิดของเยาวราช)


กำเนิดของเยาวราช
          เยาวราชถนนสายการค้าและทองคำ (กำเนิดของเยาวราช)
รัชกาลที่ 5 โปรดเกล้าฯ  ให้สร้างถนนเยาวราชในปี พ.ศ.2435 - 2443  ตั้งต้นจากบริเวณคลอง โอ่งอ่าง ถึงวัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหารเป็นระยะทาง 1532เมตร  คำว่าเยาวราชมีความหมายว่า  พระราชาที่ทรงพระเยาว์  หมายถึงรัชการที่ 5 ที่ทรงขึ้นครองราชย์เมื่อมีพระชนมายุเพียง 15 พรรษา  ต่อมาถนนสายนี้จึงถูกขนานนามว่าเป็น "ไชน่าทาวน์"ของเมืองไทย  เนื่องจากถนนตลอดทั้งสายเป็นแหล่งทำมาหากินและที่อยู่อาศัยของชาวจีน  นับว่าเป็นชุมชนชาวจีนที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย
คำสำคัญ (Tags): #สาระน่ารู้
หมายเลขบันทึก: 52966เขียนเมื่อ 2 ตุลาคม 2006 14:54 น. ()แก้ไขเมื่อ 17 มิถุนายน 2012 22:03 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

ความเห็นส่วนตัว !

คำว่า "ถนนสายทองคำ" เป็นสร้อยคำที่เพิ่งเติมให้กับเยาวราชเมื่อไม่นานนี้เอง  เมื่อสักสี่ห้าสิบปีที่แล้วบนเยาวราชมีร้านทองดังสองเจ้าคือ เซ่งเฮงหลี และ ฮั่วเซ่งเฮง   เวลานั้นฮั่วเซ่งเฮงเป็นรองเซ๋งเฮงหลี ทั้งชื่อเสียงและสาขา   แม้แต่ร้านตั้งโต๊ะกังก็เป็นเพียงร้านทองทีมทึบในซอกซอยสามเพ็ง

ต่อเมื่อราว พ.ศ. 2500 กว่าๆ ร้านทองอื่นๆจึงค่อยผุดโผล่ตามกันมา

อย่างไรก็ดีเวลานั้นเยาวราชก็ยังถือว่าเป็นแหล่งของสินค้าฟุ่มเฟือย จำพวก นาฬิกา ปากกา แว่นตา มั้งจากสวิสและญี่ปุ่น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท