หลบฟ้าผ่าอย่างไรให้ปลอดภัย


ก้อนเมฆที่ก่อตัวในช่วงฝนฟ้าคะนองนั้น เหมือนกับตัวเก็บประจุอ้วน ๆ ที่ชื่อ คิวมูโลนิมบัส
"พันล้านโวลต์"

ก้อนเมฆที่ก่อตัวในช่วงฝนฟ้าคะนองนั้น เหมือนกับตัวเก็บประจุอ้วน ๆ ที่ชื่อ คิวมูโลนิมบัส โดยด้านล่างของก้อนเมฆจะอัดแน่นด้วยประจุบวก

ฟ้าผ่านั้นเกิดจากการไหลของประจุไฟฟ้าที่มีในก้อนเมฆสู่ดิน

ฟ้าผ่าแต่ละครั้งจะเกิดความต่างศักย์เป็นพันล้านโวลต์ ซึ่งมากพอที่จะทำให้หลอดไฟฟ้าขนาด 100 วัตต์ สว่างนานถึง 3 เดือน
"นอนราบลงกับพื้นหลีกเลี่ยงต้นไม้สูง"

เวลาฝนฟ้าคะนองร้องคำราม หากยืนอยู่กลางทุ่งหรือที่โล่ง ควรนอนราบลงกับพื้น หลีกเลี่ยงการอยู่ใต้ต้นไม้สูง

หากจำเป็นควรหลบใต้ต้นไม้ที่ไม่สูงซึ่งแผ่ปกหนาทึบ และอยู่ห่างจากโคนต้นไม้ 2-3 เมตร เพื่อป้องกันการสปาร์ก
ถ้าหลบเข้าอาคารก็ไม่ควรยืนใกล้กำแพงหรือฝาผนัง

ข้อสำคัญไม่ควรลงว่ายน้ำในสระ เพราะน้ำเป็นตัวนำกระแสไฟฟ้าได้ดี
คำสำคัญ (Tags): #รู้ไว้ใช่ว่า
หมายเลขบันทึก: 51523เขียนเมื่อ 24 กันยายน 2006 05:12 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2012 15:58 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)
  • น่าเสียดายพลังงานธรรมชาติที่เสียไปนะคะ
  • มีใครเคยคิดนำพลังงานนี้มาใช้ประโยชน์หรือเปล่าค่ะ
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท