ปัญญาประดิษฐ์ (AI)


การทำงานบางอย่างของปัญญาประดิษฐ์ นั้นบางครั้งไม่สามารถ ทำได้ดีกว่ามนุษย์ หรือสัตว์ซะอีก รูปแบบการแก้ปัญหาของปัญญาประดิษฐ์ ไม่สามารถวัดเป็นค่าได้ด้วย IQ. (Import Quota) ได้เนื่องจาก IQ. เป็นค่าที่วัดได้ จากอัตราส่วนระหว่างอายุกับเด็ก เพื่อตรวจสอบถึงความฉลาดของเด็กต่ออายุ เพื่อดูความเหมาะสม ของการเจริญเติบโต เพื่อใช้เปนค่าเปรียบเทียบในการวัดถึงความประสบความสำเร็จในการดำรงชีวิต ซึ่งเมื่อนำมาใช้ในการวัดเกณฑ์ กับคอมพิวเตอร์ ไม่ได้เนื่องจาก รูปแบบในการดำเนินการ ไม่เหมือนกัน รูปแบบการเปรียบเทียบของ Arthur R. Jensen [Jen98] หัวหน้าส่วนการวิจัย ความฉลาดของมนุษย์ สำเร็จในเรื่อง “การสมมติเพื่อให้เกิดการเรียนรู้” ซึ่งธรรมดา จะมีความสามารถเท่าเทียมกัน แต่จะแตกต่างกันเนื่องจากคุณสมบัติ ทางชีววิทยาและกายภาพ
ปัญญาประดิษฐ์ (AI)ปัญญาประดิษฐ์ (AI) คือ เครื่องจักรอัจฉริยะที่สร้างจากความรู้ทางด้าน วิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความฉลาดทางด้านโปรแกรม คอมพิวเตอร์ซึ่งเป็นในลักษณะการใช้คอมพิวเตอร์ ให้เรียนรู้และเข้าใจความสามารถของมนุษย์ แต่ ปัญญาประดิษฐ์ ไม่ได้ถูกจำกัดด้วยข้อสังเกต เกี่ยวกับทางด้าน ชีววิทยา ส่วนความฉลาด (Intelligent) คือ ความคิดคำนวณ เพื่อให้สามารถ บรรลุได้ สู่เป้าหมาย ซึ่งสามารถพบได้ใน คน สัตว์ และเครื่องจักรบางชนิด เราไม่สามารถกำหนด รูปแบบมาตรฐาน ของรูปแบบการคำนวณได้อย่างชัดเจนว่า เป็นความฉลาดหรือไม่ เพียงแต่เราจะเข้าใจเพียงบางส่วนเท่านั้น ซึ่งรูปแบบการประมวล ในลักษณะใช่หรือไม่ใช่นั้น ไม่จัดว่าเป็นปัญญาประดิษฐ์ เพราะ ปัญญาประดิษฐ์ จะสามารถค้นพบวิธีในการแก้ไขปัญหานั้นด้วยตนเอง ซึ่งโปรแกรมที่มีประสิทธิภาพสูงๆ เราจะโปรแกรม ที่มีประสิทธิภาพสูงๆ เราจะโปรแกรมนั้นเพียงแค่บางส่วนของความฉลาดเท่านั้นและสำหรับ การมองปัญญาประดิษฐ์ว่าเป็นแบบจำลองความฉลาดของมนุษย์เราก็สามารถมองได้ แต่ความหมายนี้ จะเป็นแค่เพียง ส่วนหนึ่งของปัญญาประดิษฐ์ เท่านั้น ซึ่งไม่ใช่ความหมายที่แท้จริง
         การทำงานบางอย่างของปัญญาประดิษฐ์ นั้นบางครั้งไม่สามารถ ทำได้ดีกว่ามนุษย์ หรือสัตว์ซะอีก รูปแบบการแก้ปัญหาของปัญญาประดิษฐ์ ไม่สามารถวัดเป็นค่าได้ด้วย IQ. (Import Quota) ได้เนื่องจาก IQ. เป็นค่าที่วัดได้ จากอัตราส่วนระหว่างอายุกับเด็ก เพื่อตรวจสอบถึงความฉลาดของเด็กต่ออายุ เพื่อดูความเหมาะสม ของการเจริญเติบโต เพื่อใช้เปนค่าเปรียบเทียบในการวัดถึงความประสบความสำเร็จในการดำรงชีวิต ซึ่งเมื่อนำมาใช้ในการวัดเกณฑ์ กับคอมพิวเตอร์ ไม่ได้เนื่องจาก รูปแบบในการดำเนินการ ไม่เหมือนกัน รูปแบบการเปรียบเทียบของ Arthur R. Jensen [Jen98] หัวหน้าส่วนการวิจัย ความฉลาดของมนุษย์ สำเร็จในเรื่องการสมมติเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ซึ่งธรรมดา จะมีความสามารถเท่าเทียมกัน แต่จะแตกต่างกันเนื่องจากคุณสมบัติ ทางชีววิทยาและกายภาพ
         โปรแกรมคอมพิวเตอร์มีคุณสมบัติทางด้านความเร็ว และหน่วยความจำที่มีจำนวนมาก ซึ่งความสามารถของโปรแกรม จะมากหรือน้อยนั้นขึ้นอยู่กับ ความสามารถ ของโปรแกรมเมอร์ ว่ามีแนวคิดในการออกแบบมากน้อยเพียงใด ซึ่งแนวคิดที่ซับซ้อนนี้ จะเกิดได้เมื่อมีวัยวุฒิในระดับหนึ่งแล้ว และเมื่อใดที่มนุษย์สามารถทำอะไรได้ มากกว่าคอมพิวเตอร์ แสดงว่า โปรแกรมดีไซน์เนอร์ เกิดความขาดแคลน ความรู้ความเข้าใจในการสร้างงานนั้นๆ
         งานวิจัยด้านปัญญาประดิษฐ์ เกิดขึ้นหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 มีจำนวนประชากรทำงานด้วย เครื่องจักรกลอัจฉริยะ ก็มีเพิ่มมากขึ้น นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษชื่อ Alan Turing เป็นคนแรกทีเริ่มแนวคิด แรกเริ่มทำการบรรยาย ในปี 1947 โดยมีความคิดว่า ปัญญาประดิษฐ์คือทางที่ดีที่สุด สำหรับการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ในปี 1950 งานวิจัยที่เกี่ยวกับ ปัญญาประดิษฐ์ ได้เพิ่มขึ้นยากมาย โดยอ้างอิงพื้นฐานบนคอมพิวเตอร์ โปรแกรมมิ่ง ซึ่งการทำเช่นนี้จึงทำให้เกิดคำถามว่า ปัญญาประดิษฐ์ จะนำความเป็นมนุษย์ ให้คอมพิวเตอร์หรือ ซึ่งควรจะเป็นไปได้ยาก เนื่องจากมนุษย์ มีความหลากหลาย อยู่มากนัก ในปี 1950 เค้า ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับความฉลาดของเครื่องกล โดยเขากล่าวว่า ถ้าหากเครื่องที่เลียนแบบความฉลาดของมนุษย์ ก็ให้ถือว่าเป็น ปัญญาประดิษฐ์ความฉลาดแล้ว ซึ่งเป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป แต่ก็ยังมีนักปรัชญา บางคนที่ไม่ยอมรับข้อคิดเห็นดังกล่าว ซึ่งรูปแบบ Turing Test นี้เป็นการทดลองเพียงด้านเดียว คือ เครื่องกลที่การทดสอบแล้วถือว่ามีความฉลาดแล้ว แต่เครื่องกลก็ยังเรียนรู้ได้ ไม่เพียงพอกับความต้องการ ของมนุษย์ได้ทั้งหมด หนังสือ Brain Children ของ Daniel Dennelt ได้บรรยายเกี่ยวกับ Turing Test ได้ดีมาก และบางส่วนได้มีการพัฒนาให้เพิ่มมากขึ้น
         วัตถุประสงค์ ของปัญญาประดิษฐ์ คือ ให้สามารถทำงานได้เทียบเท่ากับระดับสติปัญญาของมนุษย์ โดยสามารถแก้ปัญหาได้ดีเท่ากับ หรือมากกว่ามนุษย์ได้ โดยการเขียนโปรแกรมที่มีความซับซ้อน ซึ่งภาษาถูกใช้ เพื่อจำกัด ความฉลาด ซึ่งปัญญาประดิษฐ์ข้อมูลจะเข้าใจได้ก็ต่อเมื่อมนุษย์มีวุฒิกาวะ ในระดับหนึ่งแล้ว หลายหัวข้อเกี่ยวกับปัญญาประดิษฐ์ สามารถจำลองได้ในคอมพิวเตอร์ เมื่อการทำงานเพิ่มมากขี้นความเร็วของซีพียู จะเพียงพอหรือไม่ สามารถสรุปได้ว่าเทคโนโลยีความเร็วของซีพียู ณ. เวลานั้นๆ จะสามารถรองรับการทำงานของโปรแกรมที่สร้างขึ้น ณ. เวลานั้นๆ ได้เมื่อต้องการเพิ่มความเร็วก็สามารถทำได้อีกวิธีหนึ่ง คือ การทำ Parallel Processing ซึ่งจะทำให้ประสิทธิภาพดีขึ้นได้
         Child Machine สามารถสร้างให้เรียนรู้ประสบการณด้วยตัวเองได้หรือไม่ ซึ่งเริ่มแนวคิดตั้งแต่ 1940 อย่างไรก็ตาม โปรแกรมปัญญาประดิษฐ์ ก็ยังไม่สามารถรับรูปแบบ การเรียนรู้แบบเด็กๆ ได้ แต่ปัญญาประดิษฐ์ สามารถเรียนรู้และพัฒนาระดับความสามารถของตนเองได้ Alexander Kronrod นักวิจัยปัญญาประดิษฐ์ ชาวรัสเซีย กล่าวว่า หมากรุก คือแมลงที่ทดลองด้านปัญญาประดิษฐ์เค้าใช้ แมลงวันผลไม้ เพื่อศึกษาคุณสมบัติการถ่ายทอด การเล่นหมากรุก ต้องใช้กลไกด้านสติปัญญา ถ้ามีการศึกษาที่ดีจะทำให้สามารถพัฒนา เล่นให้ดีขึ้นได้ สำหรับเกมส์ โกะ คือเกมส์ที่นิยมเล่นกัน ในจีน และญี่ปุ่น มีรูปแบบการเล่นคล้ายกับหมากรุก คือ มีบอร์ด และตัวเดิน- เกมส์ Go ที่เล่นกันมากในประเทศจีนและญี่ปุ่น เป็นเกมส์ที่เผยให้เห็นถึงจุดด้อยเกี่ยวกับสติปัญญาในการเล่นเกมส์ของมนุษย์ในปี ค.ศ. 1930 นักคณิตศาสตร์ ได้กล่าวไว้ว่า ไม่มี Algorithm ใดที่ปรากฏออกมาให้เห็นว่าสามารถแก้ปัญหาของขอบข่ายทางคณิตศาสตร์ได้ จึงสรุปได้ว่า เมื่อมนุษย์เรา ใช้หลักการ ทางคณิตศาสตร์อยู่ตลอดทำให้เห็นว่าคอมพิวเตอร์ทำแบบคนไม่ได้ปี ค.ศ. 1960 นักคอมพิวเตอร์ ได้พัฒนาทฤษฎีของ NP-complete problem domain ปัญหาเช่นนี้สามารถแก้ได้หมดแต่ใช้เวลานาน
    
คำสำคัญ (Tags): #rsu#it#ima
หมายเลขบันทึก: 51152เขียนเมื่อ 21 กันยายน 2006 15:06 น. ()แก้ไขเมื่อ 1 มิถุนายน 2012 07:53 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท