ผสมผสาน..งานวิจัย???


การวิจัยได้ Model Teen MOM Care Model มีองค์ประกอบ 1. D = Depression 2. S = Somatic & Medicine 3. S = Self-esteem 4. S = Social Support 5. S = Stress

ในงานวิจัยของ....หมอเปิ้้น ได้ทำการวิจัย .... แบบผสมผสานในสองรูปแบบ ( Mixed Methodology)  คือทั้ง  วิจัยเชิงปริมาณ  (Quantitative) โดย เก็บข้อมูล จำนวน 420 คน และ  เชิงคุณภาพ (Qualitative)  ผลการวิจััยค้นพบที่น่าสังเกต และ มีความลึกของปัญหา หรือ มีนัย (Significance)  ต่อตัวแปรทั้ง ตัวแปรๆ โดยเก็บแบบสัมภาษณ์เชิงลึก จำนวน 5 ตัวแปรๆ จำนวน  5 คน รวมเป็น  25 คน  โดยเลือกกลุ่มที่....มีปัญหาเชิงลึก และ มีความเสี่ยงสูง ....เช่น ความเครียดสูงมากๆๆ หรือมีภาวะซึมเศร้ามากๆๆนะคะ  ซึ่งการทำงานวิจัยเชิงคุณภาพ จะทำภายหลัง จากการวิเคราะห์เชิงปริมาณแล้วเสร็จ  แล้วได้ค่าเฉลี่ยงของค่าตัวแปรทั้ง 5 ตัวแปร เช่น มีความเครียดสูงมากๆๆ  มาสัมภาษณ์เชิงลึก (In-dept Interview) ในงานวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งงานของ หมอเปิ้น  สรุปได้ดังนี้ นะคะ


ด้านร่างกาย (Somatic Support and Medicine Support)


@  ปัญหาด้านร่างกายและมีอายุ12ปีสภาพร่างกาย(Physical)  ส่วนสูงไม่ถึง150 ชม.
มีการตั้งครรภ์แฝดจำนวน2 คน
@  พบหมู่เลือดRh ลบจำนวน2 คน
@ พบภาวะซีด(Anemia)
@ พบไทรอยด์บกพร่อง(Hypothyroidism) ขาดฮอร์โมนไทรอยด์ระหว่างตั้งครรภ์ (อาจทำให้ทารกในครรภ์มีการสร้างอวัยวะที่ ไม่สมบูรณ์ อาจทำให้เกิดโรคเอ๋อ คือมีความผิดปกติทางระบบประสาทและกล้ามเนื้อ พัฒนาการทางสมอง สติปัญญา และร่างกายช้ากว่าปกติ แค้ะแคระแกรน) 


การเห็นคุณค่าในตนเอง (Self-esteem)


@ การตั้งครรภ์ในวัยเรียน
@ มีการลงมือทำแท้งด้วยตนเอง
@ มีอยากเรียนต่อ/ไม่จบการศึกษา
มีพฤติกรรมเสี่ยงทางสังคม(ติดสุราติดสารเสพติดขายบริการทางเพศ)
@ ขาดความรัก&มีปัญหาหลายๆด้านที่ซับซ้อน
การสนับสนุนทางสังคม(Social Support)
@ ตั้งครรภ์ที่สามี  ไม่ยอมรับตนเองและทารกในครรภ์
@ ตั้งครรภ์ที่ครอบครัวพ่อแม่ญาติไม่ยอมรับ
@ ไม่ได้รับการช่วยเหลือทั้งสิ่งของเงินที่อยู่อาศัย(Tangible Support)
@ ไม่ได้รับการช่วยเหลือทางด้านจิตใจ&อารมณ์(Intangible Support)
@ ขาดความรัก&มีปัญหาหลายๆด้านที่ซับซ้อน


ความเครียด(Stress)


@ ตั้งครรภ์ในวัยเรียนตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์
ตั้งครรภ์ที่ไม่มีพิธีแต่งงานสามีไม่ยอมรับ
@ กลัวพ่อแม่ญาติเสียใจ
@ กลัวการคลอดกลัวลูกเกิดไม่ครบ32เพราะผลจากเคยทำแท้งด้วยตนเอง
@ การทำแท้งด้วยตนเอง
@กลัวสังคมประณาม


ภาวะซึมเศร้า(Depression)


@ ยังเรียนหนังสืออยู่  ต้องออกจากโรงเรียนปฏิกิริยาเชิงลบจากสังคมคำพูดเสียดสี(Sarcasticมองด้วยสายตาแปลกๆและนินทาลับหลังสังคมประณามกลัวพ่อแม่ญาติเสียใจ
@ ปัญหาสังคมไม่กล้าเปิดเผยความจริงปิดบังซ่อนว่าไม่ตั้งครรภ์
@ กลัวการคลอดกลัวลูกเกิดไม่ครบ32เพราะผลจากเคยลงมือทำแท้งอย่างลับๆ (abortionด้วยตนเอง
@ ปัญหาเศรษฐกิจไม่มีเงินใช่จ่ายเพราะยังไม่มีอาชีพไม่มีรายได้
@  มีการเปลี่ยนแปลงบทบาท (Roleเช่นเปลี่ยนจากบทบาทเป็นนักเรียนไปเป็นมารดาตั้งครรภ์เปลี่ยนจากการเป็นลูกสาววัยรุ่นไปเป็นมารดาวัยรุ่น



วิจัยเชิงปริมาณ(Qualitative) เก็บข้อมูล จำนวน 420 คน  ค้นพบ Model












   ขั้นตอนการวิจัยของหมอเปิ้น...เป็นแบบนี้ นะคะ










หมายเลขบันทึก: 509088เขียนเมื่อ 18 พฤศจิกายน 2012 01:01 น. ()แก้ไขเมื่อ 13 ธันวาคม 2012 10:27 น. ()สัญญาอนุญาต: ไม่สงวนสิทธิ์ใดๆจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (15)

Thank you for showing detailed of your "hard and long" work.

แวะมาศึกษาเรียนรู้ค่ะ จะได้เป็นแหล่งอ้างอิงเมื่อนำไปสอนนักเรียนค่ะ

งานวิจัยสู่การพัฒนาภาคปฏิบัติสุขภาวะชุมชน..ให้กำลังใจค่ะ

(มีข้อสังเกตเล็กๆค่ะ..เชิงปริมาณ=quantitative)

ขอบคุณพี่ใหญ มากนะคะ .....พิมพ์ผิดค่ะ

 

 - เชิงปริมาณ (Quantitative)

 - เชิงคุณภาพ (Qualitative)

 

ขอบคุณพี่ใหญ่มากนะคะ   พี่่มีเมตตา ต่อเปิ้น  เสมอมา และเสมอต้น  เสมอปลาย ค่ะ

 

 

เป็นการถ่ายทอดเรื่องราวทางวิชาการ + สะท้อนสังคม+นำมาแห่งวิถีแห่งการเรียนรู้ กระบวนการวิจัย อย่างน่าชื่นชมค่ะ

ชอบงานวิจัยเชิงปริมาณ
ที่นำมาบูรณาการ หรือสู่เชิงคุณภาพไปพร้อมๆ กัน

มันเหมือนทำให้สิ่งไม่มีชีวิต กลับมีชีวิต

ชื่นชมมากครับ

เป็นงานวิจัยที่น่าสนใจเรียนรู้นะครับ

ขอบคุณท่าน ยูมิ มากๆนะคะ

ขอบคุณข้อ Comment ดีดี ที่มีให้ นะคะ

  • ยายไอดินเอง สมัยยังทำงานและสอนนักศึกษาปริญญาโทสาขาวิจัยและประเมินผลการศึกษาจะชอบทำวิจัยค่ะ และถ้ายังสอนอยู่ก็จะนำงานวิจัยนี้ไปให้นักศึกษาเรียนรู้ค่ะ  
  • ในการทำวิจัยของตัวเองก็จะใช้ Mixed Methodology (Combined Quantitative-Qualitative Method) เสมอ เพราะเชื่อว่า การใช้วิธีวิทยาการดังกล่าว จะขจัดข้อด้อยของการใชวิธีเดี่ยวๆ วิธีใดวิธีหนึ่ง และทำให้สามารถตอบคำถามวิจัยได้ทั้งในเชิงกว้างและเชิงลึก
  • ด้วยเหตุที่กล่าวมาจึงชื่นชมผลงานวิจัยนี้ของ "Dr. Ple" ที่ตอบคำถามวิจัยด้วยวิธีวิจัยแบบ Mixed Methodology   
  • คนอ่านน่าจะเข้าใจผลวิจัยมากขึ้นนะคะ ถ้าได้ระบุคำถามหรือปัญหาวิจัย วัตถุประสงค์ของการวิจัย และสมมุติฐานการวิจัยไว้ด้วย
  • งานวิจัยของ "Dr.Ple" คงมีทุนสนับสนุนนะคะ เวลาทำวิจัยยายไอดินก็จะขอทุนจากส่วนกลาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งจาก วช. หรือคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ และก็ได้รับทุนทุกครั้งที่ขอ สิ่งสำคัญที่เขาพิจารณาก็คือเป็นงานวิจัยที่มีคุณค่า มีประโยชน์ มีระเบียบวิธีวิจัยที่เหมาะสม และผู้วิจัยมีศักยภาพที่จะดำเนินการวิจัยตามเค้าโครงที่เสนอขอทุนได้ เป็นต้น อย่างเช่นงานวิจัยของ "Dr.Ple" ที่ทำในสิ่งที่กำลังเป็นปัญหาสำคัญของไทยและมีแนวโน้มว่าจะมีมากขึ้นเรื่อยๆ ก็ถือว่า เป็นงานวิจัยที่มีความสำคัญ 
  • ถ้าได้ต่อยอดด้วยการนำผลวิจัยนี้ไปสู่การวิจัยปฏิบัติการทั้งในเชิงป้องกันและแก้ไขปัญหาก็ยิ่งจะเป็นประโยชน์มากขึ้นไปอีกนะคะ  

 

 

Ico48 เรียน ท่าน อาจารย์  ไอดิน-กลิ่นไม้  ที่เคารพ.....เปิ้น  ขอบคุณมากค่ะ

งานวิจัยของเิ้ปิ้น มี....คำถามวิจัย  ค่ะ ... ดังนี้นะคะ

 

 

The researcher develops the following research questions:

(1) What are the characteristics of the variables affecting depression in Thai adolescent mothers and whether or not they correspond with the empirical data? and

(2) What are the variables affecting depression in Thai adolescent mothers during their pregnancy?

With regards to the research questions, the research hypotheses are that the variables affecting depression in pregnant Thai adolescents created by the researcher correspond with the empirical data and that the variables have direct, indirect and total effects on depression in pregnant Thai adolescents.

 

...พอดี.... ที่งาน กรรมการจัดงานประชุมวิชาการ ICIIM ...เขาให้ส่งบทคัดย่อ .... ได้ไม่เกิน 10-12 หน้าA4 .... บางครั้ง ย่อมากไปนะคะ  ท่านอาจารย์.......เปิ้น จะนำเสนอ เป็นPower Poit ไม่เกิน 12 Slide พูด 15 นาที่ ชักถามอีก 5 นาที่นะคะในวันที่่ 14-15 ธค. 2555 เป็นการประชุม นานาชาติ ...นะคะ ...ปีนี้ไทยเป็นเจ้าภาพนะคะ .... มีประเทศใหญ่ ทั้งนั้นเลย ... เช่น

- Brszil

- Russia

- India

- China

- Africa

 

ขอบคุณท่าน อาจารย์ ..... มากนะคะ  ... ที่่ให้ ความเมตตา ต่อเปิ้นมาก นะคะ

 

 

 

  • อรุณสวัสดิ์จ้ะพี่หมอเปิ้น
  • มีความสุขกับวันแรกของการทำงานประจำสัปดาห์จ้ะ

ขอบคุณมากนะครับเป็นงานวิจัยที่ประสานกระบวนการได้ดีๆจริงๆครับ จะนำเอากระบวนการนี้มาปรับใช้ในงานนะครับ..

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท