somtawin
นาง สมถวิล somtawin โชติคณาทิศ

ฉันอยากรู้จักเธอ.... Backward Design( 3 )


การสร้างหน่วยการเรียนรู้

การสร้างหน่วยการเรียนรู้  เริ่มจาก

1.  ความสนใจของผู้เรียน   อาจทำได้ด้วย  การสอบถามหรืออาศัยการสังเกต

2.  ความต้องการของผู้เรียน  อาจทำได้โดยวัดจากพัฒนาการของผู้เรียนในระดับชั้น

3.  กำหนดเป้าหมายของการเรียนรู้  โดยการทำมาตรฐานช่วงชั้นให้เป็นรูปธรรม  ที่สามารถวัดผลได้ชัดเจน           

ô เป้าหมายกำหนดทิศทางและวิธีการของการเรียนการสอนในห้อง

ô นำมาตรฐานมาเป็นพื้นฐานในการกำหนดสิ่งที่เราต้องการให้เด็กเรียนรู้

องค์ประกอบสำคัญของหน่วยการเรียนรู้  ตามลักษณะ Benchmark  Design  ซึ่งมี 3 ขั้นตอนด้วยกัน

ô    สิ่งที่เราต้องการให้เด็กเรียนรู้  หรือกำหนดผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

ô    หลักฐาน  ผลการเรียน

ô    การวางแผน  การเรียนการสอน  หรือแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้

ขั้นตอนของการสร้างหน่วยการเรียนรู้กำหนดผลการเรียนรู้ที่คาดหวังôความเข้าใจรวบยอด  หรือคำถามที่สรุปความคิดรวบยอด  หมายถึง  แนวคิดหลัก  แก่นเรื่อง  ประเด็นปัญหา  ทฤษฏี  หลักการ  ที่เป็นเพลาขับเคลื่อนองค์ความรู้

ôมาตรฐานรายวิชา

ôความรู้และทักษะ

จากนั้น  จะเป็นกรณีตัวอย่าง  ฝึกปฎิบัติ  คิดว่าผู้เข้าอบรมได้ทักษะ/ความรู้ความเข้าใจใน Benchmark  Design  ที่ฉันได้รู้จัก

555 
คำสำคัญ (Tags): #backward
หมายเลขบันทึก: 50521เขียนเมื่อ 17 กันยายน 2006 15:19 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2012 15:55 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท