ยูยินดี
นาย นายธรรมศักดิ์ ช่วยวัฒนะ

การกำหนดคะแนนระหว่างเรียนและคะแนนกลางปี


ตัวชี้วัดรายวิชาวิทยาศาสตร์ ระดับประถมศึกษาปีที่ 5

       การวัดผลประเมินผลโดยสถานศึกษาระดับประถมศึกษา ตามโครงสร้าง 80(40+40) ชั่วโมงต่อปี ประกอบไปด้วย การวัดผลระหว่างปี ซึ่งประกอบไปด้วย การวัดผลก่อนกลางปี(ชั่วโมงที่ 1- 39) การวัดผลกลางปี(ชั่วโมงที่ 40) และการวัดผลหลังกลางปี(ชั่วโมงที่ 41-79) ส่วนการวัดผลปลายปีจะเกิดขึ้นหลังจากการเรียนครบตามเวลา ชั่วโมงที่ 80  สัดส่วนของคะแนนวัดผลระหว่างปีต่อคะแนนปลายปีเป็น 70 : 30 คะแนน โดยคะแนนระหว่างปี 70 คะแนน ได้มาจากคะแนนก่อนวัดผลกลางปี 30 คะแนน คะแนนวัดผลกลางปี 10 คะแนน และคะแนนวัดผลหลังกลางปี 30 คะแนน(30:10:30) ดังปรากฏในตาราง

ตาราง 1 แสดงผลการกำหนดน้ำหนักคะแนนวัดผลรายวิชาวิทยาศาสตร์ระดับประถมศึกษาปีที่ ๕ รหัสวิชา ว๑๔๑๐๑

หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด เวลา น้ำหนัก (คะแนน) ก่อน กลางปี หลัง ปลายปี
  (ชั่วโมง) (คะแนน) (คะแนน) (คะแนน) (คะแนน)
1. ครอบครัวของเรา ว 1.2 ป.5/1-2 1.  สังเกตและระบุส่วนประกอบของดอกและโครงสร้างที่เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์ของพืชดอก  4 5 0.5 0.5   0.5
    2. อธิบายการสืบพันธุ์ของพืชดอก การขยายพันธุ์พืช และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์     0.5 0.5    
    3.  อธิบายวัฏจักรชีวิตของพืชดอกบาง ชนิด     0.5      
    4.   อธิบายการสืบพันธุ์และการขยายพันธุ์ของสัตว์     0.5 0.5   0.5
    5.  อภิปรายวัฏจักรชีวิตของสัตว์บางชนิด และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์     0.5      
2. โลกของพืช ว 1.1 ป.5/1-3    ว 1.2 ป.5/3-4 6.  สำรวจ  เปรียบเทียบและระบุลักษณะของตนเองกับคนในครอบครัว  15 20 2 1    
    7.   อธิบายการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตในแต่ละรุ่น      3 1   1
    8. จำแนกพืชออกเป็นพืชดอกและพืชไม่มีดอก           1 1   1
    9. ระบุลักษณะของพืชดอกที่เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว   และพืชใบเลี้ยงคู่ โดยใช้ลักษณะภายนอกเป็นเกณฑ์      2 1.5   1.5
    10.  จำแนกสัตว์ออกเป็นกลุ่มโดยใช้ลักษณะภายในบางลักษณะและลักษณะภายนอกเป็นเกณฑ์      2 1   1
3. สัตว์โลกน่ารัก ว 1.1 ป.5/4-5    ว 1.2 ป.5/5 11. ทดลองและอธิบายสมบัติของวัสดุชนิด ต่าง ๆ เกี่ยวกับความยืดหยุ่น ความแข็ง ความเหนียวการนำความร้อน   การนำไฟฟ้า และ ความหนาแน่น      11 15 6 1.5   2.5
    11. สืบค้นข้อมูลและอภิปรายการนำวัสดุไปใช้ในชีวิตประจำวัน        2.5 0.5   2
4. วัสดุรอบตัว ว 3.1 ป.5/1-2 12. ทดลองและอธิบายสมบัติของวัสดุชนิด ต่าง ๆ เกี่ยวกับความยืดหยุ่น ความแข็ง ความเหนียวการนำความร้อน   การนำไฟฟ้า และ ความหนาแน่น      9 12 6 0.5   1
    13. สืบค้นข้อมูลและอภิปรายการนำวัสดุไปใช้ในชีวิตประจำวัน        3 0.5   1
5. แรงและความดัน ว 4.1 ป.5/1-4    ว 4.2 ป.5/1 14. ทดลองและอธิบายการหาแรงลัพธ์ของ แรงสองแรง ซึ่งอยู่ในแนวเดียวกันที่กระทำต่อวัตถุ        13 17     4 3
    15. ทดลองและอธิบายความดันอากาศ           3 2
    16. ทดลองและอธิบายความดันของของเหลว           2 3
6. เสียงในชีวิตประจำวัน ว 5.1 ป.5/1-4 17. ทดลองและอธิบายการเกิดเสียงและการเคลื่อนที่ของเสียง   8 10     1 0.5
    18.  ทดลองและอธิบายการเกิดเสียงสูง  เสียงต่ำ         2 0.5
    19. ทดลองและอธิบายเสียงดัง    เสียง   ค่อย            2 0.5
    20. สำรวจและอภิปรายอันตรายที่เกิดขึ้นเมื่อฟังเสียงดังมาก ๆ           2 1.5
7. น้ำ ฟ้า และดวงดาว ว 6.1 ป.5/1-4     ว 7.1 ป.5/1 21. สำรวจ ทดลอง และอธิบายการเกิดเมฆ  หมอก น้ำค้าง  ฝน และลูกเห็บ  16 21     3 2
    22. ทดลองและอธิบายการเกิดวัฏจักรน้ำ         2 2
    23.   ออกแบบและสร้างเครื่องมืออย่างง่ายในการวัดอุณหภูมิ  ความชื้น  และความกดอากาศ            3 1
    24.  ทดลองและอธิบายการเกิดลมและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน         3 1
    25.สังเกตและอธิบายการเกิดทิศ  และปรากฏการณ์การขึ้นตกของดวงดาวโดยใช้แผนที่ดาว         3 1
รวม   76 100 30 10 30 30

หมายเหตุ มาตรฐานตัวชี้วัดที่ ว ๘.๑/๑-๘ จะแทรกอยู่ในแต่ละสาระ

ชัวโงเรียนทั้งหมด 76 ชั่วโมงและคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

หมายเลขบันทึก: 483983เขียนเมื่อ 2 เมษายน 2012 08:36 น. ()แก้ไขเมื่อ 22 มิถุนายน 2012 12:22 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

ขอขอบพระคุณมากครับที่ทำให้ตาผมสว่างขึ้น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท