เกษตรกรรมยั่งยืน ปรับเปลี่ยนเพื่ออยู่รอด...ถอดบทเรียนเกษตรกรแม่ฮ่องสอน


It's not easy to change behaviour that has been practiced for so long.

Pai Post: How did you come to settle here?


Lung Aoi: Actually I'm a member of the "Chemical-Free Agriculturist Association". My objective in moving to Pai is to encourage people to become aware of the effects of farming with chemicals. I've lived here for 11 years, conducting a small business to sustain my family.

……

Pai Post: Has the use of chemicals decreased during the 11 years you have worked here?


Lung Aoi: It's not easy to change behaviour that has been practiced for so long. The first year I moved here the soil was so wonderfully soft. Now it's so hard that you can barely dig into it. That's because the chemicals cover the surface until water can not percolate into the soil. This is one overlooked reason for the most recent floods. It's sad that we're misled by advertising and our country does not pay attention to our moral strength.

""""""""""""""""""

www.paipost.com 


ผมอ่านบทสัมภาษณ์ ลุงอ๋อย ดีเจศูนย์ปฏิบัติการเรียนรู้วิทยุชุมชน ที่เมืองปาย ทำให้ผมทราบว่า ดีเจที่ผมฟังอยู่ทุกวัน เกี่ยวข้องกับการผลักดันงานเกษตรกรรมยั่งยืน...


 

เราทราบกันดีว่า การเกษตรกระแสหลัก ทำให้เกษตรกรใช้สารเคมี เพิ่มขึ้นอย่างน่ากลัว ย้อนหลังไป ปี ๒๕๔๖ ผมได้เข้าร่วมงานสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ที่กรุงเทพฯ และประเด็นการเกษตรที่เอื้อต่อสุขภาพ เป็นประเด็นที่ผมสนใจ และเข้าร่วมระดมความคิดเห็น

<p class="MsoNormal"><span style="font-size: 12pt; font-family: Tahoma">ในตอนนั้นมีข้อเสนอที่ผมจำได้มีข้อหนึ่งที่ว่า</span><span style="font-size: 12pt; font-family: Tahoma"></span></p>    <p class="MsoNormal"><strong><span style="font-size: 12pt; font-family: Tahoma"><span style="background-color: #ffff99">“ตัวเลข<span style="background-color: #66ff33">มะเร็ง</span>ที่เกิดขึ้นในประเทศไทยตั้งแต่ปี ๒๕๓๐ ถึง ปี ๒๕๔๔<span>  </span>เพิ่มขึ้นถึง ๔ เท่า เป็นแนวเดียวกับปริมาณการนำเข้าของสารเคมี มีผู้เสนอว่าภาครัฐโดยเฉพาะกรมส่งเสริมการเกษตรจะต้องยกเลิกที่จะสนับสนุนการนำเข้าสารเคมี”</span></span></strong></p>    <p class="MsoNormal"><span style="font-size: 12pt; font-family: Tahoma; background-color: #ffffcc">ผมมองว่า หากจะแก้ไขปัญหาดังกล่าว คงต้องดูที่<strong>เกษตรกร</strong>ด้วย เกษตรกรต้องปรับเปลี่ยนการใช้สารเคมีในการเกษตร และค่อยๆลดการใช้สารเคมี ไปสู่การเลิกใช้ และเป็นเกษตรอินทรีย์ทั้งหมด</span><span style="font-size: 12pt; font-family: Tahoma"></span></p>    <p class="MsoNormal"><span style="font-size: 12pt; font-family: Tahoma"><strong>ผู้บริโภค</strong> เป็นปัจจัยหนึ่งที่เป็นสาเหตุให้เกิดการใช้สารเคมีในการเกษตร ผู้บริโภคควรมีความรู้และปฏิเสธพืชผักที่ใช้สารเคมี และเลือกบริโภคผักอินทรีย์ ทำให้ผู้ผลิตลดและเลิกการผลิตพืชผักที่ใช้สารเคมีลง</span></p>    <p class="MsoNormal"><font color="#0000ff"><span style="font-size: 12pt; font-family: Tahoma">แต่ทุกอย่างเป็นการปรับเปลี่ยน ต้องใช้เวลาในการปรับเปลี่ยน การส่งเสริมให้ชุมชนหันมาปลูกพืชผักอินทรีย์ จึงเป็นเรื่องยาก ตามที่ลุงอ๋อยให้สัมภาษณ์ผู้สื่อข่าวปายโพสไว้</span></font><span style="font-size: 12pt; font-family: Tahoma"></span></p>    <p class="MsoNormal"><span style="font-size: 12pt; font-family: Tahoma; background-color: #ffff00">วันที่ ๔ ก.ย.๔๙ <span> </span>ที่จะถึงนี้ <span> </span>สกว. </span><span style="font-size: 12pt; font-family: Tahoma"><span style="background-color: #ffff00">Node แม่ฮ่องสอน ได้คัดเลือกประเด็น </span><strong style="background-color: #ffff00">“<span>เกษตรกรรมยั่งยืน</span>”</strong><span style="background-color: #ffff00"><span>  </span>นำเสนอรูปธรรมจากงานวิจัยสู่สาธารณะ ผลักดันสู่นโยบาย<span>  </span>จัดงานจุลกรรม </span><strong style="background-color: #ffff00">“<span>เกษตรยั่งยืน</span>”</strong><span><strong style="background-color: #ffff00"> </strong><span style="background-color: #ffff00">ขึ้น ณ <strong>ศูนย์การเรียนรู้และลานวัฒนธรรมจังหวัดแม่ฮ่องสอน</strong></span> </span></span></p>    <p class="MsoNormal"><font color="#330099" style="background-color: #ffffcc"><span style="font-size: 12pt; font-family: Tahoma">โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำและนำเสนอ </span></font><span style="font-size: 12pt; font-family: Tahoma"><font color="#330099" style="background-color: #ffffcc">“<strong><span>ชุดความรู้เกษตรกรรมยั่งยืน</span>”</strong><span> เนื้อหาด้านเกษตรกรรมยั่งยืนในจังหวัดแม่ฮ่องสอน ทั้งในเชิงกระบวนการและเนื้อหา และประชาสัมพันธ์และนำเสนอผลงานและผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อสาธารณชนในรูปแบบที่เหมาะสมกับบริบทของจังหวัด แม่ฮ่องสอน เพื่อให้เกิดการรับรู้การดำเนินงานด้านเกษตรกรรมยั่งยืนของจังหวัดแม่ฮ่องสอนว่าเกิดผลอะไรบ้างอย่างทั่วถึงเป็นหลัก โดยไม่เน้นเฉพาะงานวิจัยเท่านั้น แต่เป็นการนำเสนอเพื่อให้เห็นกระบวนการขับเคลื่อนงานด้านเกษตรกรรมยั่งยืนทั้งระบบของทุกภาคส่วน</span></font></span></p>  <p class="MsoNormal"><span style="font-size: 12pt; font-family: Tahoma"> </span></p>  <h3> <strong style="background-color: #66ff00"><span style="font-size: 12pt; font-family: Tahoma">งานนี้ที่แม่ฮ่องสอนมีของดีตามที่ผมนำเสนอมาครับ</span></strong><strong><span style="font-size: 12pt; font-family: Tahoma"><span style="background-color: #66ff00">!!!</span></span></strong><br>

</h3> <p class="MsoNormal">ผมถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของเวทีครั้งนี้ มีหน้าที่เป็นผู้ดำเนินรายการบนเวทีบางช่วงถือว่าเป็นโอกาสดีที่ผมจะได้ไปเก็บเกี่ยวความรู้ ด้านเกษตรกรรมยั่งยืน มาเล่าสู่กันฟังในบันทึกของผม</p>

หมายเลขบันทึก: 47875เขียนเมื่อ 2 กันยายน 2006 20:50 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 17:31 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (4)
  • ขอบคุณมากครับที่นำมาเล่าสู่กันฟัง
  • ขอให้ประสบความสำเร็จในการสอบนะครับ

ขอบคุณอาจารย์บวรที่โทรศัพท์มาให้กำลังใจ..โลกของGotoknow เป็นโลกของความรัก บรรยากาศที่เข้าใจ สุนทรียสนทนา และธรรมะ ซึ่งน่าซาบซึ้งใจ กับมิตรหลายคนที่แวะเวียนเข้ามาทักทาย

ขอบคุณครับผม 

แม้ไม่ได้โทรหา...

แต่ก็แวะเวียนมาเมียงมอง...อยู่หลายครา...

รอยมีบ้าง...หรือไม่มี...ไม่สำคัญ

หากแต่ติดตาม...มิตรภาพ แห่งกัลยาณมิตรนี้...เสมอ

*^__^*

กะปุ๋ม

ขอบคุณ เพียงมาเยี่ยมเรา ก็ดีใจและยินดี มีกำลังใจยิ่งนัก....

ขอให้มีความสุขกับการเดินทางในช่วงนี้ครับ Dr.Ka-Poom 

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท