ความหมายของอาเซียน


ความหมายของอาเซียน

   ประชาคมอาเซียน เป็นเป้าหมายของการรวมตัวกันของประเทศสมาชิกอาเซียนเพื่อเพิ่มอำนาจต่อรองและขีดความสามารถการแข่งขันของอาเซียนในเวทีระหว่างประเทศในทุกด้าน รวมถึงความสามารถในการรับมือกับปัยหาใหม่ๆ

   ประชาคมอาเซียนถือกำเนิดขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อเดือนตุลาคม 2546

หมายเลขบันทึก: 459268เขียนเมื่อ 8 กันยายน 2011 10:38 น. ()แก้ไขเมื่อ 24 มิถุนายน 2012 02:53 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

ผมมีข้อมูลของอาเซียนมาร่วมนำเสนอ

เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทยเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในปี ๒๐๑๕ ได้รับความรู้เพิ่มขึ้นอีกมากมาย หลากหลายมุมมอง ทั้งด้านเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน ด้านการศึกษา และด้าน วทน.  ด้านการต่างประเทศ

ข้อมูลพื้นฐานของ ASEAN Factsheet (ที่มา กรมอาเซียน ก.ต่างประเทศ)

สมาชิกผู้ก่อตั้งปี 1967 มี 5 ประเทศ ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์และ สิงคโปร์ และเพิ่มเติม ปรูไน(1984) เวียดนาม(1995) ลาว(1997) พม่า(1997) และกัมพูชา(1999) มีประชากรรวมกันประมาณ 600 ล้านคน มีพื้นที่ 4.5 ล้าน ตร.กม.  GDP รวม 1.5 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ 

เริ่มก่อตั้งเมื่อ 8 ส.ค. 2510 ในการลงนามในปฏิญญากรุงเทพฯ(Bangkok Declaration) โดยมีวัตถุประสงค์ในการก่อตั้ง เพื่อ

  1. ส่งเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศสมาชิก
  2. ธำรงสันติภาพ เสถียรภาพ ความมั่งคง
  3. เสริมสร้างเศรษฐกิจและความอยู่ดีกินดีของประชาชน
  4. พัฒนาสังคมและวัฒนธรรม
  5. ส่งเสริมความร่วมมือกับภายนอกและองค์การระหว่างประเทศต่าง ๆ

หลักการพื้นฐานของ ASEAN

  1. การตัดสินใจโดยใช้ฉันทามติ(Consensus)
  2. การไม่แทรกแซงในกิจการภายในของกันและกัน(Non-interference)
  3. การร่วมมือเพื่อพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชน(Prosperity)

เอกสารความรู้

  1. ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน ASEAN Economic Community: AEC กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
  2. ความ รู้ทั่วไปเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน
  3. การ เตรียมตัวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ๒๐๑๕ ประเด็นด้าน ว และ ท โดย สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมแห่งชาติ
  4. ยุทธศาสตร์ ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศของไทย สำนักงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ
  5. การ เตรียมความพร้อมของไทยเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ของกระทรวงศึกษาธิการ
  6. ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน : ความพร้อมในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และนวัตกรรม
  7. ทิศ ทางและแผนยุทธศาสตร์ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท